พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,310
    วันที่ 16
    1.สวดมนต์ไหว้<O:p></O:p>
    2.ภาวนาทำสมาธิ<O:p></O:p>
    3.รักษาศีลสมาทานศีล<O:p></O:p>
    4.รับงับความโกรธกับความโลภอันเป็นกิเลส<O:p></O:p>
    5.ช่วยแม่จัดของให้เป็นที่เป็นทาง<O:p></O:p>
    6.ยินดีในบุญของผู้อื่น<O:p></O:p>
    7.ทำบุญอธิฐานใส่บาตรกับแม่<O:p></O:p>
    8.ศึกษาธรรมะต่างๆ<O:p></O:p>
    9.เพียรที่ปิดกั้นระวังความชั่วต่างๆมิให้เกิด<O:p></O:p>
    10.ขยันทำงานอ่านหนังสือตั้งใจเรียนทดแทนคุณพ่อแม่<O:p></O:p>
    11.เพียรที่กำจัดบาปและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว<O:p></O:p>
    12.เพียรที่จะสร้างความดี<O:p></O:p>
    13.เพียรรักษาความดี รักษาความดีอย่างตั้งมั่น<O:p></O:p>
    14.แผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย<O:p></O:p>
    15.เชื่อฟังพ่อแม่<O:p></O:p>
    16.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่สัญญากับเพื่อน<O:p></O:p>
    17.เจริญพรหมวิหาร 4<O:p></O:p>
    18.ใช้อิทธิบาท4เข้าช่วยในการเรียน<O:p></O:p>
    19.ช่วยพ่อแม่ขายของเฝ้าร้าน
    20.หมั่นระลึกและเคารพคุณพระรัตนตรัยพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่เคารพเวลามีปัญหาให้เกิดความกำลังใจและมีแรงหรือเวลากลัวต่างๆให้มีความกล้าระลึกเป็นกำลังใจว่าท่านคอยคุ้มครองช่วยเหลือเรา
    21.อภัยทานแก่คนที่มาแกล้งหรือทำร้ายเราคิดมิดีกับเรา<O:p></O:p>
    22.ช่วยแม่ขายของ
    23.ระงับความโลภ
    24.ช่วยแม่จัดของขายแช่นำจัดตู้
    วันที่ 17
    1.สวดมนต์ไหว้<O:p></O:p>
    2.ภาวนาทำสมาธิ<O:p></O:p>
    3.รักษาศีลสมาทานศีล<O:p></O:p>
    4.รับงับความโกรธกับความโลภอันเป็นกิเลส<O:p></O:p>
    5.ช่วยแม่จัดของให้เป็นที่เป็นทาง<O:p></O:p>
    6.ยินดีในบุญของผู้อื่น<O:p></O:p>
    7.ทำบุญอธิฐานใส่บาตรกับแม่<O:p></O:p>
    8.ศึกษาธรรมะต่างๆ<O:p></O:p>
    9.เพียรที่ปิดกั้นระวังความชั่วต่างๆมิให้เกิด<O:p></O:p>
    10.ขยันทำงานอ่านหนังสือตั้งใจเรียนทดแทนคุณพ่อแม่<O:p></O:p>
    11.เพียรที่กำจัดบาปและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว<O:p></O:p>
    12.เพียรที่จะสร้างความดี<O:p></O:p>
    13.เพียรรักษาความดี รักษาความดีอย่างตั้งมั่น<O:p></O:p>
    14.แผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย<O:p></O:p>
    15.เชื่อฟังพ่อแม่<O:p></O:p>
    16.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่สัญญากับเพื่อน<O:p></O:p>
    17.เจริญพรหมวิหาร 4<O:p></O:p>
    18.ใช้อิทธิบาท4เข้าช่วยในการเรียน<O:p></O:p>
    19.ช่วยพ่อแม่ขายของเฝ้าร้าน
    20.หมั่นระลึกและเคารพคุณพระรัตนตรัยพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่เคารพเวลามีปัญหาให้เกิดความกำลังใจและมีแรงหรือเวลากลัวต่างๆให้มีความกล้าระลึกเป็นกำลังใจว่าท่านคอยคุ้มครองช่วยเหลือเรา
    21.อภัยทานแก่คนที่มาแกล้งหรือทำร้ายเราคิดมิดีกับเรา<O:p></O:p>
    22.ช่วยแม่ขายของ
    23.ระงับความโลภ
    24.ช่วยแม่จัดของขายแช่นำจัดตู้
    25.ช่วยแม่ตากผ้าซักผ้า
    26.ช่วยเพื่อนทำงานหางานทำงานให่เพื่อน


    วันที่ 18
    1.สวดมนต์ไหว้<O:p></O:p>
    2.ภาวนาทำสมาธิ<O:p></O:p>
    3.รักษาศีลสมาทานศีล<O:p></O:p>
    4.รับงับความโกรธกับความโลภอันเป็นกิเลส<O:p></O:p>
    5.ช่วยแม่จัดของให้เป็นที่เป็นทาง<O:p></O:p>
    6.ยินดีในบุญของผู้อื่น<O:p></O:p>
    7.ทำบุญอธิฐานใส่บาตรกับแม่<O:p></O:p>
    8.ศึกษาธรรมะต่างๆ<O:p></O:p>
    9.เพียรที่ปิดกั้นระวังความชั่วต่างๆมิให้เกิด<O:p></O:p>
    10.ขยันทำงานอ่านหนังสือตั้งใจเรียนทดแทนคุณพ่อแม่<O:p></O:p>
    11.เพียรที่กำจัดบาปและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว<O:p></O:p>
    12.เพียรที่จะสร้างความดี<O:p></O:p>
    13.เพียรรักษาความดี รักษาความดีอย่างตั้งมั่น<O:p></O:p>
    14.แผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย<O:p></O:p>
    15.เชื่อฟังพ่อแม่<O:p></O:p>
    16.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่สัญญากับเพื่อน<O:p></O:p>
    17.เจริญพรหมวิหาร 4<O:p></O:p>
    18.ใช้อิทธิบาท4เข้าช่วยในการเรียน<O:p></O:p>
    19.ช่วยพ่อแม่ขายของเฝ้าร้าน
    20.หมั่นระลึกและเคารพคุณพระรัตนตรัยพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่เคารพเวลามีปัญหาให้เกิดความกำลังใจและมีแรงหรือเวลากลัวต่างๆให้มีความกล้าระลึกเป็นกำลังใจว่าท่านคอยคุ้มครองช่วยเหลือเรา
    21.อภัยทานแก่คนที่มาแกล้งหรือทำร้ายเราคิดมิดีกับเรา<O:p></O:p>
    22.ช่วยแม่ขายของ
    23.ระงับความโลภ
    24.ช่วยแม่จัดของขายแช่นำจัดตู้
    25.ช่วยแม่ตากผ้าซักผ้า
    26.สอนธรรมะให้น้องเป็นคนดีเพราะพี่คนโตชอบด่าน้อง ด่าน้องว่าน้องเ.ย สารพัดผมสงสารน้องก็เลยสอนให้เขาอย่าไปสนใจสอนกฎแห่งกรรมให้น้อง
    27.ช่วยเพื่อนทำงาน
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สรุปบุญกิริยาวัตถุ ๑0
    http://www.geocities.com/southbeach/...587/10good.htm


    ๑. ทาน ที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องในการสร้างทานนั้น
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการทำทานนั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนที่จะทำทานนั้น
    ๒. เจตนาขณะที่กำลังทำทานนั้น
    ๓. เจตนาขณะที่ทำทานนั้นเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาที่ทำทานนั้นเสร็จไปแล้วเป็นเวลานาน
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔
    ๔. องค์ทานที่จะทำนั้นต้องได้มาด้วยความบริสุทธิ์
    ๕. องค์ทานนั้นต้องมีประโยชน์กับปฏิคาหกหรือผู้รับ
    ๖. ปฏิคาหกหรือผู้รับต้องเป็นบุคคลที่สมควร ( มีคุณธรรมสูงสุด คืออริยบุคคล ต่ำสุด คือผู้มีนิจศีล)
    ผลของ ทาน
    ปฏิสนธิกาล คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    มีกินมีใช้ด้วยวคามอุดมสมบูรณ์ตามฐานะ

    ๒ ศีลที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องในการที่จะรักษาศีลอันถูกต้อง
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการรักษาศีลนั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนที่จะรักษาศีล
    ๒. เจตนาขณะที่กำลังอยู่ในศีล
    ๓. เจตนาที่พ้นจากศีลใหม่ๆ
    ๔. เจตนาที่พ้นจากศีลนานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔
    ๔. ศีลแต่ละตัวจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนไม่ขาดตกบกพร่อง
    ๕. ประเภทของศีลอย่างหยาบๆมีดังนี้คือ
    ๑. นิจศีล หมายถึง ศีลที่ติดอยู่ตลอดไปโดยไม่ละทิ้ง และมีความถูกต้องครบถ้วน
    ๒. อุโบสถศีล หมายถึง ศีล ๒ อันได้แก่
    ๑. ปาฏิโมกขสังวร คือ ศีลทั้ง ๘ ตัว จะต้องมีครบถ้วนไม่บกพร่อง
    ๒. ภาวนา คือ ในขณะที่รักษาศีลอยู่นั้นจะต้องมีการภาวนาในอนุสสติ ๕ ให้เกิดขึ้น
    ตลอดเวลาที่รักษาศีล คือ พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ เทวตานุสสติ
    ๓. วิสุทธิศีล หมายถึง ศีล ๔ อันได้แก่
    ๑. ปาฏิโมกขสังวร คือ ศีลที่รักษามีกี่ตัวจะต้องครบถ้วนสมบูรณ์
    ๒. อินทรีย์สังวร คือ การสำรวมทางทวาร ๖ อยู่ในความเป็นอุเบกขา
    ๓. อาชีวสังวร คือ การเลี้ยงชีวิตโดยชอบ ภิกษุได้แก่การบิณฑบาต ถ้าเป็นคฤหัสถ์จะ
    ต้องเป็นสัมมาอาชีวะ
    ๔. ปัจจยสังวร คือ การกินอาหารต้องพิจารณาว่ากินเพื่อดำรงชีวิตอยู่ การแต่งกายต้อง
    พิจารณาว่าแต่งกายเพื่อป้องกันอุณหภูมิร้อนเย็น และป้องกันความอุจาดลามก ที่อยู่อาศัยจะต้อง
    พิจารณาว่าเพื่อป้องกันแดดป้องกันฝน การกินยารักษาโรคต้องพิจารณาว่าเพื่อบำบัดทุกขเวทนา
    ให้ลดน้อยถอยลง จะได้ทำคุณงามความดีให้เกิดขึ้นได้
    ผลของ ศีล
    ปฏิสนธิกาล คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    มีคนเคารพนับถือมีความสุขสบาย

    ๓ ภาวนาที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องในการที่จะสร้างภาวนาให้เกิดขึ้น
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการภาวนานั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนภาวนา
    ๒. เจตนาขณะกำลังภาวนา
    ๓. เจตนาเมื่อภาวนาเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาเมื่อภาวนาเสร็จไปนานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. ภาวนาอันถูกต้องในพระธรรมของพุทธศาสนา๕. มีความรู้ความหมายของบทบริกรรมภาวนานั้นว่ามีความหมายประการใดแล้วโน้มจิตตามไป
    ผลของ ภาวนา
    ปฏิสนธิกาล คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. มีจิตใจไม่วุ่นวาย
    ๒. การดำรงชีวิตมีสุข
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สรุปบุญกิริยาวัตถุ ๑0
    http://www.geocities.com/southbeach/...587/10good.htm


    ๔. การเคารพบุคคลที่ควรเคารพหรือการอ่อนน้อมถ่อมตนที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องในบุคคลผู้นั้น
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการเคารพหรือการอ่อนน้อมถ่อมตน คือ
    ๑. เจตนาก่อนทำ
    ๒. เจตนาขณะกำลังทำ
    ๓. เจตนาเมื่อทำเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาเมื่อทำเสร็จแล้วเป็นเวลานาน
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. บุคคลผู้นั้นมีคุณสมบัติอันดีทางโลกหรือทางธรรมอันถูกต้อง
    ๕. เคารพโดยการอนุโมทนาในคุณงามความดีในทางโลกหรือทางธรรมอันถูกต้องของผู้นั้น
    ผลของ เคารพบุคคลที่ควรเคารพ
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    มีคนเคารพนับถือยอมรับเป็นผู้นำของเขา

    ๕. ขวนขวายในกิจที่ชอบที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องในการที่จะขวนขวายในกิจที่ชอบ
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการขวนขวายในกิจที่ชอบนั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนทำการขวนขวายในกิจที่ชอบ
    ๒. เจตนาขณะทำการขวนขวายในกิจที่ชอบ
    ๓. เจตนาที่ขวนขวายในกิจที่ชอบเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนที่ขวนขวายในกิจที่ชอบเสร็จแล้วนาน
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. การกระทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อส่วนรวมโดยไม่เดือดร้อนแก่ผู้ใด เช่น การทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    ผลของ ขวนขวายในกิจที่ชอบ
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. ดำรงชีวิตด้วยความปลอดโปร่ง
    ๒. มีคนช่วยเหลือและสนับสนุนในกิจการที่กระทำในชีวิต

    ๖. การแผ่กุศลผลบุญที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องที่จะให้ความเอื้อเฟื้อความสุขความสบายแก่ผู้อื่น
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการที่จะแผ่กุศลผลบุญนั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนที่จะแผ่กุศลผลบุญนั้น
    ๒. เจตนาขณะที่กำลังแผ่กุศลผลบุญนั้น
    ๓. เจตนาที่แผ่กุศลผลบุญนั้นเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาที่ได้แผ่กุศลผลบุญนั้นเสร็จนานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. ตนได้สร้างกุศลอันถูกต้องให้เกิดขึ้นแล้ว อันได้แก่ กามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล โลกุตตรกุศล อันถูกต้องในพระพุทธศาสนา
    ๕. การแผ่กุศลเสร็จแล้ว ควรจะได้ขออโหสิกรรมซึ่งกันและกัน ทั้งนี้เพราะผู้นั้นอาจเคยเป็น เจ้าเวรนายกรรมมาแต่ก่อนก็ได้๖. ระบุผู้ที่ควรแก่การแผ่กุศลนั้นด้วยเจตนาอันมั่นคง และสมควรแก่ฐานะที่เราจะแผ่กุศลผลบุญให้แก่เขา หรือสมควรแก่ฐานะของผู้รับจะได้รับหรือไม่
    ผลของ แผ่กุศลผลบุญ
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. มีผู้ยกย่องสรรเสริญ
    ๒. มีกินมีใช้อันสมควรแก่ฐานะ
    ๓. มีผู้เสียสละให้แก่ตน

    ๗. การอนุโมทนาบุญที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องที่ผู้นั้นกระทำคุณงามความดีอันถูกต้องในทางโลกหรือทางธรรม
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการอนุโมทนาคุณงามความดีของผู้นั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนที่จะอนุโมทนา
    ๒. เจตนาขณะที่กำลังอนุโมทนา
    ๓. เจตนาขณะที่อนุโมทนาเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาขณะที่อนุโมทนาเสร็จเป็นเวลานานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. รู้ว่าผู้นั้นกระทำโดยถูกต้องทั้งในทางโลกหรือทางธรรมเพื่อเป็นการสืบต่อ ๓ สถาบัน คือ ประเทศชาติ พระพุทธศาสนา องค์พระมหากษัตริย์ โดยไม่หวังประโยชน์ใดๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
    ๕. อนุโมทนาคุณงามความดี หรือมีความยินดีต่อการกระทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมโดยไม่
    เบียดเบียนหรือหวังผลแต่ประการใดๆ เลย
    ผลของ การอนุโมทนาบุญ
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. มีผู้สรรเสริญ
    ๒. ดำเนินชีวิตโดยความถูกต้อง
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สรุปบุญกิริยาวัตถุ ๑0
    http://www.geocities.com/southbeach/...587/10good.htm

    ๘. การฟังธรรมที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องที่ได้ฟังธรรมในพระพุทธศาสนา
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการฟังธรรมนั้น คือ
    ๑. เจตนาก่อนที่จะฟัง
    ๒. เจตนาขณะที่กำลังฟังธรรม
    ๓. เจตนาที่ฟังธรรมเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาที่ฟังธรรมเสร็จนานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. ตั้งใจฟังด้วยความเคารพในธรรมของพุทธศาสนาและพยายามจดจำไว้
    ๕. เมื่อฟังแล้วพิจารณากลั่นกรองด้วยเหตุด้วยผล และพิจารณาว่าธรรมนั้นสมควรแก่ฐานะ
    ของตัวเราที่จะประพฤติปฏิบัติได้หรือไม่
    ๖. เมื่อมีข้อสงสัยก็สนทนาไต่ถามเพื่อทำความเข้าใจอันถูกต้อง
    ๗. ประพฤติปฏิบัติธรรมที่ได้ฟังให้ถูกต้องตามควรแก่ฐานะ คือ การสืบต่อพระพุทธศาสนา
    นั่นเอง
    ผลของ การฟังธรรม
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ที่คนอื่นรู้ได้ยากแต่ตนรู้ได้โดยง่าย

    ๙. การให้ธรรมเป็นทาน ที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องเพื่อดำรงไว้ซึ่งพุทธศาสนา
    ๒. มีเจตนา ๔ ในการที่ให้ธรรมอันสมควร คือ
    ๑. เจตนาก่อนให้ธรรม
    ๒. เจตนากำลังให้ธรรม
    ๓. เจตนาที่ให้ธรรมเสร็จแล้วใหม่ๆ
    ๔. เจตนาที่ให้ธรรมเสร็จนานแล้ว
    ๓. มีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่งใน ๘ ดวงในเจตนา ๔๔. เป็นธรรมในพระพุทธศาสนาอันถูกต้อง
    ๕. ธรรมที่ให้นั้นเป็นธรรมที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังที่จะนำไปประพฤติปฏิบัติ
    ๖. ชี้แจงให้ผู้ฟังมีความเข้าใจ สามารถนำไปประพฤติปฏิบัติได้โดยถูกต้องตามฐานะ
    ผลของ การให้ธรรมเป็นทาน
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. มีปัญญาเฉลียวฉลาด
    ๒. เข้าถึงธรรมอันถูกต้องได้โดยง่าย
    ๓. มีกินมีใช้อันสมควรแก่ฐานะ
    ๔. มีผู้เคารพนับถือ
    ๕. ดำเนินชีวิตไปด้วยความถูกต้อง

    ๑0. ทิฏฐุชุกรรม( การทำความเห็นให้ถูก ) ที่จะให้ผลเกิดย่อมประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ
    ๑. มีศรัทธาอันถูกต้องโดยเชื่อพระธรรมในพุทธศาสนาแต่ละเรื่องและขั้นตอนในการที่กระทำ
    สิ่งนั้นๆ ให้ถูกต้อง
    ๒. จะต้องมีการค้นคว้าในพระธรรมคำสอนอันถูกต้อง
    ๓. จะต้องมีการประพฤติธรรมปฏิบัติธรรมอันสมควรแก่ธรรมและผลเกิดขึ้นแล้วจึงจะสามารถรู้ได้ว่าอย่าง
    ใดผิดอย่างใดถูก
    ๔. ต้องใช้สติและปัญญาประกอบด้วยเหตุและผลแต่ละขั้นละตอน
    ๕. ในเรื่องแต่ละเรื่องจะต้องพิจารณาด้วยเหตุและผลด้วยจิตเป็นอุเบกขา ทั้งในเรื่องดีและ
    เรื่องชั่ว
    ๖. สิ่งที่ถูกต้องตามพระธรรมคำสอนนั่นก็คือ " ละความชั่ว ทำแต่ความดี "
    ๗. เมื่อการทำความเห็นให้ถูกต้องแล้ว จะกระทำในสิ่งอันถูกต้องนั้นจะต้อง ประกอบด้วยเจตนา
    ๔ อันมีจิตเป็นมหากุศลดวงใดดวงหนึ่ง ใน ๘ ดวง
    ผลของ ทิฏฐุชุกรรม
    ปฏิสนธิกาล
    คือ กามสุคติภูมิ อันได้แก่ ความเป็นมนุษย์ และเทวดา ๕ ชั้น ( เว้นเทวดาชั้นดุสิต )
    ปวัตติกาล
    ๑. มีสติปัญญาอันว่องไว
    ๒. มีความคิดความเห็นอันถูกต้องทั้งในทางโลกและทางธรรม
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
    http://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=89

    บันทึก ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗, ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พิมพ์ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๕, พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com

    http://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=89

    [89] บุญกิริยาวัตถุ 10 (ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, ทางทำความดี — bases of meritorious action)
    1. ทานมัย (ทำบุญด้วยการให้ปันสิ่งของ — meritorious action consisting in generosity; merit acquired by giving)
    2. สีลมัย (ทำบุญด้วยการรักษาศีลหรือประพฤติดี — by observing the precepts or moral behavior)
    3. ภาวนามัย (ทำบุญด้วยการเจริญภาวนาคือฝึกอบรมจิตใจ — by mental development)
    4. อปจายนมัย (ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม — by humility or reverence)
    5. เวยยาวัจจมัย (ทำบุญด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้ — by rendering services)
    6. ปัตติทานมัย (ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น — by sharing or giving out merit)
    7. ปัตตานุโมทนามัย (ทำบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น — by rejoicing in others’ merit)
    8. ธัมมัสสวนมัย (ทำบุญด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้ — by listening to the Doctrine or right teaching)
    9. ธัมมเทสนามัย (ทำบุญด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้ — by teaching the Doctrine or showing truth)
    10. ทิฏฐุชุกัมม์ (ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ตรง — by straightening one’s views or forming correct views)

    ข้อ 4 และข้อ 5 จัดเข้าในสีลมัย; 6 และ 7 ในทานมัย; 8 และ 9 ในภาวนามัย; ข้อ 10 ได้ทั้งทาน ศีล และภาวนา


    D.A.III.999;
    Comp.146.

    ที.อ. 3/246;
    สังคหะ 29.​
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    แนะวิธีสังเกต ธนบัตรปลอม

    http://hilight.kapook.com/view/32091

    [​IMG]


    หลังจากธนาคารแห่งประเทศไทยออกมาประกาศเตือนให้ชาวบ้านระวังธนบัตรปลอมระบาดหนัก เนื่องจากสภาวะเศษฐกิจทรุด ความคืบหน้า ที่สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ (สนว.ตร.) เมื่อวันที่ 18 ธันวาคมนี้ พล.ต.ท.ดนัยธร วงศ์ไทย ผู้บัญชาการ สนว.ตร.พร้อมด้วย พล.ต.ต.สุรพล พินิจชอบ ผู้บังคับการกองพิสูจน์หลักฐาน (ผบก.พฐ.) และ พ.ต.อ.เสรีย์ จันทรประทิน นักวิทยาศาสตร์ (สบ.5) พฐ. ร่วมแถลงข่าว กรณีธนาคารแห่งประเทศไทยเตือนประชาชนระมัดระวังธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาทปลอม โดยเฉพาะช่วงปีใหม่

    พล.ต.ท.ดนัยธรกล่าวว่า ในช่วงนี้มีข่าวแบงก์พันปลอมระบาดมากพอสมควร ซึ่งเป็นความจริง เพราะขณะนี้กองพิสูจน์หลักฐานรับคดีแบงก์ปลอมอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นห่วงว่าจะทำให้เกิดความสับสนต่อประชาชนผู้ใช้ ซึ่งขั้นตอนการตรวจพิสูจน์อย่างง่ายๆ สำหรับประชาชนที่จะสังเกตว่าแบงก์ปลอมหรือไม่ เป็นเรื่องที่ทุกคนควรรู้ไว้​

    พ.ต.อ.เสรีย์ จันทรประทิน อธิบายขั้นตอนการสังเกตธนบัตรว่า มีจุดสังเกตดังนี้

    [​IMG] 1. ลายน้ำ พระบรมสาทิสลักษณ์ มองเห็นได้ชัดเจน เมื่อยกส่องกับแสงสว่าง และรูปลายไทยจะโปร่งแสงเป็นพิเศษ​

    [​IMG] 2. แถบสีโลหะในเนื้อกระดาษ นำเนื้อกระดาษตามแนวตั้ง เมื่อยกส่องกับแสงสว่าง จะเห็นตัวเลขและตัวอักษรโปร่งแสง​

    [​IMG] 3. พิมพ์เส้นนูน พระบรมสาทิสลักษณ์ ตัวอักษรและตัวเลขแจ้งราคา เมื่อสัมผัสด้วยปลายนิ้วจะรู้สึกสะดุด​

    [​IMG] 4. ตัวเลขแฝง ซึ่งอยู่ในลายไทย มองเห็นได้เมื่อยกธนบัตรเอียงเข้าหาแสงสว่าง โดยมองจากมุมล่างซ้ายเข้าหากึ่งกลางธนบัตร​

    [​IMG] 5. ภาพซ้อนทับพิมพ์แยกส่วนไว้บนด้านหน้าและด้านหลัง เมื่อยกส่องกับแสงจะมองเห็นภาพสวยงาม โดยแบงก์พันจะเป็นรูปดอกบัว แบงก์ 500 เป็นรูปดอกพุดตาล แบงก์ 100 เป็นตัวเลข 100 แบงก์ 50 เป็นตัวเลข 50 แบงก์ 20 เป็นตัวเลข 20​

    [​IMG] 6. ตัวเลขจิ๋ว บรรจุในตัวเลขไทยด้านหน้า มองเห็นได้ชัดเจนด้วยแว่นขยาย​

    [​IMG] 7. แทบฟอยล์ สีเงินมองเห็นเป็นหลายมิติ และสะท้อนแสงเมื่อพลิกไปมา​

    [​IMG] 8. หมึกพิมพ์พิเศษ ตัวเลข 1000 จะมองเห็น ด้านบนสีทอง ด้านล่างสีเขียว เมื่อพลิกขอบล่างขึ้นจะเห็นเป็นสีเขียวทั้งหมด ส่วนแบงก์ 500 ตัวเลข 500 จะมองเห็นตัวเลขสีเขียว เมื่อพลิกขอบล่างจะมองเห็นเป็นสีม่วง นอกจากนี้ ยังมีวิธีนำบริเวณลอยนูนของแบงก์ เช่น คำว่ารัฐบาลไทย ถูกับกระดาษสีขาว ของจริงจะปรากฏสีให้เห็น​

    พ.ต.อ.เสรีย์กล่าวว่า เป็นข้อสังเกตง่ายๆ ที่ประชาชนทั่วไปจะดูได้ แต่อย่างไรก็ตาม ต้องใช้เวลาดูด้วยใจเย็นๆ อย่ารีบร้อน ถ้าไม่แน่ใจในธนบัตรที่สงสัย ให้เอาธนบัตรที่แน่ใจว่าเป็นของจริงมาเทียบ ​

    "อย่าผลีผลามรับเงินโดยไม่ดูก่อน เวลาจะรับเงินพยายามอยู่ในที่ที่มีแสงสว่าง เพราะส่วนใหญ่มีการใช้แบงก์ปลอมในที่มืด เช่น คลับ บาร์ ส่วนข้อที่สังเกตง่ายที่สุดคือลายน้ำ ของปลอมทำยาก จะออกมืดไม่ชัด ถ้าของจริงจะเห็นส่วนสว่างชัดเจน ทั้งนี้ ที่มาของธนบัตรปลอม เราไม่มีข้อมูล แต่มากที่สุดคือพื้นที่ สภ.อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร จำนวน 758 ฉบับ" พ.ต.อ.เสรีย์ระบุ​

    ขณะที่ พล.ต.ต.สุรพลกล่าวว่า ในปี 2551 มีการส่งธนบัตรปลอมใบละ 1000 จากทั่วประเทศมาให้ พฐ.ตรวจสอบจำนวน 30 คดี เกือบ 1,000 ฉบับ ทั้งนี้ ธนบัตรปลอมที่ผ่านการตรวจจาก พฐ.แล้ว จะต้องส่งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบอีกครั้งก่อนทำลายทิ้ง​

    วันเดียวกัน พล.ต.ท.ฉลอง สนใจ ผบช.ภ.1 นำตัว นายวัชรินทร์ ประศรี อายุ 68 ปี อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนดอนปอ จ.นครพนม นายแหลมทอง ปัตาถาวะโร อายุ 60 ปี น.ส.วิไล สีจันทร์ อายุ 56 ปี และนายอดุลย์ หวังเกิดกลาง อายุ 37 ปี ผู้ต้องหาร่วมกันผลิตธนบัตรปลอมไปแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ภายหลัง พ.ต.อ.เพชรัตน์ แสงไชย รอง ผบก.หน.ศสส.ภ.1 กับพวกประสานตำรวจกลุ่มงานสืบสวน ภ.จ.สกลนคร ขยายผลล่อซื้อธนบัตรใบละ 1000 บาท จำนวน 203 ฉบับ เป็นเงิน 203,000 บาทพร้อมของกลาง กัญชาอัดแท่ง 3 กก. ธนบัตรลาวปลอมฉบับละ 50,000 กีบ อีก 635 ฉบับ เป็นเงิน 31,750,000 กีบ ส่งพนักงานสอบสวนดำเนินคดี ข้อหา ร่วมกันปลอมขึ้นซึ่งเงินตรา หรือธนบัตรปลอม ร่วมกันมีและนำออกใช้ซึ่งเงินตราปลอมอันตนได้มา โดยรู้ว่าเป็นของปลอม และร่วมกันมียาเสพติดให้โทษประเภท 5 (กัญชา) ไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย โดยผิดกฎหมาย​




    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    [​IMG] [​IMG]
    ขอขอบคุณภาพประกอบจาก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ชี้แจงกรณีการส่งต่ออีเมล์
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/Service/Pages/CTF1.aspx

    เรื่อง ชี้แจงกรณีการส่งต่อ e-mail เตือนให้ระวังธนบัตรปลอม

    ตามที่มีการ Forward e-mail จากบุคคลภายนอก แจ้งเตือนให้ระวังธนบัตรปลอม โดยแนบไฟล์รูปภาพธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐๐ บาท จำนวน ๒ ฉบับ พร้อมแนะนำจุดสังเกตไว้ด้วย นั้น เนื่องจากเป็นการนำธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕ (ไม่มีแถบฟอยล์) มาเปรียบเทียบกับ ธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕ ปรับปรุง (มีแถบฟอยล์) ซึ่งธนบัตรทั้งสองแบบมีรายละเอียดและลวดลายบนธนบัตรที่แตกต่างกัน ไม่สามารถนำมาเป็นจุดสังเกตหรือเปรียบเทียบว่าเป็นธนบัตรจริงหรือปลอมได้
    ธปท. จึงขอเรียนให้ผู้ที่ได้รับเมล์ดังกล่าว โปรดระงับการส่งต่อเมล์ เพื่อป้องกันการส่งข้อมูลข่าวสารที่อาจสร้างความสับสนต่อสาธารณชน

    วิธีสังเกตธนบัตรที่ถูกต้อง
    . ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕ (ไม่มีแถบฟอยล์): http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/PublishingImages/1000serie15L.jpg
    . ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕ ปรับปรุง (มีแถบฟอยล์) : http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/PublishingImages/1000changeL.jpg
    .ทั้งนี้ สามารถเข้าชมวิธีสังเกตธนบัตรในรูปแบบข้อมูลภาพและวิดีทัศน์ตาม Link :
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/Pages/howtocheck.aspx


    จึงเรียนมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน


    ธนาคารแห่งประเทศไทย


    ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    วิธีตรวจสอบธนบัตร
    ธนบัตร > วิธีตรวจสอบธนบัตร
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/Pages/howtocheck.aspx


    <TABLE class=pageContent cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=top><TD width="100%"><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=pagetitle>วิธีตรวจสอบธนบัตร </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><!-- Keywords --><TR><TD align=middle></TD></TR><TR vAlign=top><!-- Top Zone --><TD width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=top><TD id=_invisibleIfEmpty width="100%" name="_invisibleIfEmpty">

    <TABLE style="WIDTH: 91.58%; HEIGHT: 386px" summary=""><TBODY><TR><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕

    (ไม่มีแถบฟอยล์)​




    </TD><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐๐ บาท แบบ ๑๕
    ปรับปรุง (มีแถบฟอยล์)​




    </TD><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๕๐๐ บาท แบบ ๑๕

    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>

    </TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๑๐๐ บาท แบบ ๑๕


    </TD><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๕๐ บาท แบบ ๑๕


    </TD><TD>ธนบัตรชนิดราคา ๒๐ บาท แบบ ๑๕


    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=3>



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1000serie15L.jpg
      1000serie15L.jpg
      ขนาดไฟล์:
      262.3 KB
      เปิดดู:
      493
    • 1000changeL.jpg
      1000changeL.jpg
      ขนาดไฟล์:
      277.1 KB
      เปิดดู:
      653
    • 500sizeL.jpg
      500sizeL.jpg
      ขนาดไฟล์:
      285.8 KB
      เปิดดู:
      684
    • 100sizeL.jpg
      100sizeL.jpg
      ขนาดไฟล์:
      278.8 KB
      เปิดดู:
      873
    • 50sizeL.jpg
      50sizeL.jpg
      ขนาดไฟล์:
      272.3 KB
      เปิดดู:
      728
    • 20sizeL.jpg
      20sizeL.jpg
      ขนาดไฟล์:
      292.2 KB
      เปิดดู:
      807
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > ความเป็นมาและแบบธนบัตร
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/HistoryANdSeriesOfBanknotes/Pages/evolution_and_series.aspx

    [​IMG]

    ประเทศไทยนำธนบัตรออกใช้เป็นครั้งแรก เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๕ ตามพระราชบัญญัติธนบัตรสยามรัตนโกสินทร ศก ๑๒๑ โดยมีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (กระทรวงการคลัง ในปัจจุบัน) เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ควบคุม ดูแล การสั่งพิมพ์และนำออกใช้ธนบัตรภายในประเทศ จนกระทั่ง มีการจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๕ กิจการทั้งปวงและอำนาจในการดำเนินการเกี่ยวกับธนบัตร จึงถูกโอนมาอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๒ ธนาคารแห่งประเทศไทย สามารถจัดตั้งโรงพิมพ์ธนบัตรขึ้นเป็นผลสำเร็จ จึงได้พิมพ์ธนบัตรขึ้นใช้เองภายในประเทศ ได้แก่ ธนบัตรแบบ ๑๑ รวมทั้งแบบอื่น ๆ เป็นลำดับจนถึงปัจจุบัน

    การจัดทำและนำออกใช้ธนบัตร เป็นหน้าที่หลักสำคัญอีกด้านหนึ่งของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศเป็นอย่างยิ่ง ด้วยธนบัตรเป็นเงินตราที่สามารถชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ซึ่งต้องอาศัยการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน เพื่อให้ธนบัตรไทยคงไว้ซึ่งความน่าเชื่อถือสมเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนที่สำคัญในปัจจุบัน
    <TABLE style="WIDTH: 57.6%; HEIGHT: 78px" align=center summary=""><TBODY><TR><TD width=20 height=22>[​IMG]</TD><TD width=432 height=22>

    </TD></TR><TR><TD width=20 height=22>[​IMG]</TD><TD width=432 height=22>


    </TD></TR><TR><TD width=20 height=22>[​IMG]</TD><TD width=432 height=22></B>

    </TD></TR><TR><TD width=20 height=22>[​IMG]</TD><TD width=432 height=22></B>

    </TD></TR><TR><TD width=20 height=22>[​IMG]</TD><TD width=432 height=22>ธนบัตรที่ระลึกและบัตรธนาคาร </TD></TR></TBODY></TABLE></B>

    วิวัฒนาการธนบัตรไทย
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes...knotes/Pages/Evolution_of_Thai_Banknotes.aspx

    <TABLE style="WIDTH: 80%" align=center summary=""><TBODY><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">ก่อนที่จะมีการนำธนบัตรเข้ามาใช้ร่วมกับเงินตราชนิดอื่น ๆ ในระบบการเงินของประเทศ ชนชาติไทยได้ใช้หอยเบี้ย ประกับ (ดินเผาที่มีตราประทับ) เงินพดด้วง
    ปี้กระเบื้อง และเหรียญกษาปณ์เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน

    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">
    [​IMG]

    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">หอยเบี้ย
    </TD><TD width="100%" height="100%">ประกับดินเผา
    </TD><TD width="100%" height="100%">เงินพดด้วง

    </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">
    จนกระทั่งในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาติและเปิดเสรีทางการค้า ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น จนไม่สามารถผลิตเงินพดด้วงซึ่งเป็นเงินตราหลักในขณะนั้นได้ทันต่อความต้องการ ทั้งยังมีผู้ทำเงินพดด้วงปลอมออกใช้ปะปนในท้องตลาด จนเป็นปัญหาเดือดร้อนกันทั่วไป ในพุทธศักราช ๒๓๙๖ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้จัดทำเงินกระดาษชนิดแรกขึ้นใช้ในระบบเงินตราของประเทศ เรียกว่า หมาย
    </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">หมาย เป็นกระดาษสีขาวพิมพ์ตัวอักษรและลวดลายด้วยหมึกสีดำ ประทับตราพระราชสัญลักษณ์ประจำพระราชวงศ์จักรีรูปพระแสงจักร และพระราชลัญจกรประจำพระองค์รูปพระมหาพิชัยมงกุฎ ด้วยสีแดงชาด เพื่อป้องกันการปลอมแปลง หมายที่โปรดให้จัดทำมี ๓ ประเภท ได้แก่ หมายราคาต่ำ หมายราคากลาง (ตำลึง) และหมายราคาสูง อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุที่หมายเป็นเงินตราชนิดใหม่ ในขณะที่ราษฎรยังคงคุ้นเคยกับเงินพดด้วงซึ่งเป็นเงินตราโลหะมาแต่โบราณ จึงไม่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายตามพระราชประสงค์

    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">หมายราคาต่ำ
    </TD><TD width="100%" height="100%">หมายราคากลาง (ตำลึง)
    </TD><TD width="100%" height="100%">หมายราคาสูง

    </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">
    ต่อมาระหว่างพุทธศักราช ๒๔๑๕ - ๒๔๑๖ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดปัญหาเหรียญกษาปณ์ชนิดราคาต่ำซึ่งเป็นเงินปลีกที่ทำจากดีบุกและทองแดงขาดแคลน ประกอบกับมีการนำ ปี้ ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ใช้แทนเงินในบ่อนการพนันมาใช้แทนเงินตรา ในพุทธศักราช ๒๔๑๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้จัดทำเงินกระดาษชนิดราคาต่ำเรียกว่า อัฐกระดาษ ให้ราษฎรได้ใช้จ่ายแทนเงินเหรียญที่ขาดแคลน แต่อัฐกระดาษก็ไม่เป็นที่นิยมใช้เช่นเดียวกับหมาย


    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%"></TD><TD width="100%" height="100%">
    [​IMG]

    </TD><TD width="100%" height="100%"></TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%"></TD><TD width="100%" height="100%">อัฐกระดาษ

    </TD><TD width="100%" height="100%"></TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">เงินกระดาษชนิดต่อมา คือ บัตรธนาคาร ซึ่งธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศสามธนาคารที่เข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทย ได้แก่ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ ธนาคารชาร์เตอร์แห่งอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน และธนาคารแห่งอินโดจีน ได้ขออนุญาตนำบัตรธนาคารออกใช้ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๒, ๒๔๔๑, และ ๒๔๔๒ ตามลำดับ เนื่องจากในช่วงเวลานั้นรัฐบาลประสบปัญหาไม่สามารถผลิตเหรียญกษาปณ์ได้ทันต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ
    บัตรธนาคาร มีลักษณะเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินชนิดหนึ่งที่ใช้อำนวยความสะดวกในการชำระหนี้ระหว่างธนาคารกับลูกค้า ดังนั้น การหมุนเวียนของบัตรธนาคารจึงจำกัดอยู่ในวงแคบเฉพาะบุคคลที่มีความจำเป็นต้องติดต่อธุรกิจกับธนาคารดังกล่าวเท่านั้น อย่างไรก็ดี บัตรธนาคารมีส่วนช่วยให้ประชาชนรู้จักคุ้นเคยกับเงินที่เป็นกระดาษมากขึ้น และเนื่องจากมีระยะเวลาการนำออกใช้นานกว่า ๑๓ ปี (พ.ศ. ๒๔๓๒ - ๒๔๔๕) ทำให้การเรียกบัตรธนาคารทับศัพท์ว่า แบงก์โน้ต หรือ แบงก์ ในขณะนั้น สร้างความเคยชินให้คนไทยเรียกธนบัตรของรัฐบาลที่ออกใช้ในภายหลังว่า แบงก์ จนติดปากมาถึงทุกวันนี้

    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">บัตรธนาคารชนิดราคา ๔๐๐ บาท
    ของธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้
    </TD><TD width="100%" height="100%">บัตรธนาคารชนิดราคา ๘๐ บาท
    ของธนาคารชาร์เตอร์แห่งอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน
    </TD><TD width="100%" height="100%">บัตรธนาคารชนิดราคา ๕ บาท
    ของธนาคารแห่งอินโดจีน​

    </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">
    ขณะเดียวกันรัฐบาลในสมัยนั้นได้พิจารณาเห็นว่าบัตรธนาคารที่สาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศออกใช้อยู่ในขณะนั้น มีลักษณะคล้ายกับเงินตราที่รัฐบาลควรจัดทำเสียเอง ในพุทธศักราช ๒๔๓๓ จึงได้เตรียมการออกตั๋วเงินของกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เรียกว่า เงินกระดาษหลวง โดยสั่งพิมพ์จากห้างกีเชคเก้ แอนด์ เดวรีเอ้นท์ (Giesecke & Devrient) ประเทศเยอรมนี จำนวน ๘ ชนิดราคา เงินกระดาษหลวงได้ส่งมาถึงกรุงเทพฯ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๕ แต่เนื่องจากความไม่พร้อมของทางการในการบริหาร จึงมิได้นำเงินกระดาษหลวงออกใช้

    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" height="100%">[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height="100%">เงินกระดาษหลวงชนิดราคา ๘๐ บาท
    </TD><TD width="100%" height="100%">เงินกระดาษหลวงชนิดราคา ๑๐๐ บาท
    </TD><TD width="100%" height="100%">เงินกระดาษหลวงชนิดราคา ๔๐๐ บาท

    </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=3 height="100%">
    จนกระทั่งพุทธศักราช ๒๔๔๕ จึงเข้าสู่วาระสำคัญในการออกธนบัตร กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการให้ตรา พระราชบัญญัติธนบัตรสยาม รัตนโกสินทรศก ๑๒๑ ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๕ อีกทั้งโปรดให้จัดตั้ง กรมธนบัตร ในสังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เพื่อทำหน้าที่ออกธนบัตรและรับจ่ายเงินขึ้นธนบัตร และเปิดให้ประชาชนนำเงินตราโลหะมาแลกเปลี่ยนเป็นธนบัตรตั้งแต่วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๔๕ จึงนับว่าธนบัตรได้เข้ามามีบทบาทในระบบการเงินของไทยอย่างจริงจังนับแต่นั้นมา
    ธนบัตรที่นำออกใช้ตามพระราชบัญญัติธนบัตรสยาม รัตนโกสินทรศก ๑๒๑ นั้น มีลักษณะเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินของรัฐบาลที่สัญญาจะจ่ายเงินตราให้แก่ผู้นำธนบัตรมายื่นโดยทันที ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติเงินตรา พุทธศักราช ๒๔๗๑ ซึ่งกำหนดให้เงินตราของประเทศประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ ตลอดจนให้ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย จึงเป็นการเปลี่ยนลักษณะของธนบัตรจากตั๋วสัญญาใช้เงินมาเป็นเงินตราอย่างสมบูรณ์
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > ความเป็นมาและแบบธนบัตร > ธปท. กับ ธนบัตร
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/HistoryANdSeriesOfBanknotes/Pages/PagesBOT_and_Banknotes.aspx

    เมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๒ ขยายตัวมายังทวีปเอเชียจนกลายเป็นสงครามมหาเอเชียบูรพาญี่ปุ่นได้ยกกองทัพเข้ามา
    ในประเทศไทยเพื่ออาศัยเป็นฐานทัพในการสู้รบและยึดครองประเทศข้างเคียงซึ่งเป็นอาณานิคมของประเทศคู่สงคราม ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะจำยอมต้องทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น และถูกยื่นข้อเสนอให้จัดตั้งธนาคารกลางโดยมี
    ที่ปรึกษาและหัวหน้าหน่วยงานเป็นชาวญี่ปุ่น ดังนั้น เพื่อรักษาอิสรภาพและเสถียรภาพทางการเงินของประเทศมิให้ตกอยู่
    ภายใต้การควบคุมของชนต่างชาติ รัฐบาลไทยจึงเร่งจัดตั้งธนาคารกลางขึ้นอย่างรีบด่วน โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พุทธศักราช ๒๔๘๕ เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๕ พร้อมทั้งจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้นทำหน้าที่ในฐานะธนาคารกลางของประเทศ และได้ทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕

    ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พุทธศักราช ๒๔๘๕ ได้บัญญัติไว้ว่า

    "ให้จัดตั้งธนาคารกลางขึ้น เรียกว่า 'ธนาคารแห่งประเทศไทย' เพื่อรับมอบการออกธนบัตรจากกระทรวงการคลัง และประกอบธุรกิจอันพึงเป็นงานธนาคารกลางตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้และพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญัตินี้"
    ดังนั้น กิจการทั้งปวงและอำนาจในการดำเนินการเกี่ยวกับธนบัตร ซึ่งเดิมเป็นงานในหน้าที่ของกองเงินตรา กรมคลัง กระทรวงการคลัง จึงได้โอนมาอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) นับแต่นั้นมา
    ต่อมาในพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้ ธปท. ดำเนินภารกิจอันพึงเป็นงานของธนาคารกลาง ในการดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพทางการเงิน ทันต่อเหตุการณ์และสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของโลกที่เปลี่ยนแปลง
    อย่างรวดเร็ว จึงได้พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยตรา พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ ขึ้น มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวกำหนดอำนาจหน้าที่ของ ธปท. ที่เกี่ยวข้องกับธนบัตรและบัตรธนาคารไว้ ดังนี้

    มาตรา ๗ ธปท. มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินภารกิจอันพึงเป็นงานของธนาคารกลาง เพื่อดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพ
    ทางการเงิน และเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินและระบบการชำระเงิน

    มาตรา ๘ ให้ ธปท. มีอำนาจกระทำกิจการต่าง ๆ เพื่อบรรลุซึ่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗ และอำนาจเช่นว่านี้
    ให้รวมถึงการดำเนินการดังต่อไปนี้ด้วย

    (๑) การออกและจัดการธนบัตรของรัฐบาลและบัตรธนาคาร

    มาตรา ๙ ห้าม ธปท. กระทำการดังต่อไปนี้

    (๕) รับจ้างพิมพ์ธนบัตร บัตรธนาคาร พันธบัตร อากรแสตมป์ หรือสิ่งพิมพ์อื่นใดที่มีระบบป้องการการปลอมแปลง ตลอดจนจำหน่ายหมึกพิมพ์หรืออุปกรณ์อันเกี่ยวเนื่องกับการพิมพ์สิ่งพิมพ์ดังกล่าว เว้นแต่เป็นกรณีที่ได้กระทำกับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ สถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น และโดยได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ ธปท.

    มาตรา ๓๐ ให้ ธปท. เป็นผู้ออกธนบัตรของรัฐบาล โดยอยู่ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยเงินตรา

    มาตรา ๓๑ ให้ ธปท. มีสิทธิแต่ผู้เดียวที่จะออกบัตรธนาคารในราชอาณาจักร ให้ถือว่าบัตรธนาคารที่ ธปท.
    ออกตามวรรคหนึ่ง เป็นธนบัตรตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา และให้การออกและจัดการบัตรธนาคารอยู่ภายใต้บังคับแห่ง
    บทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวด้วย

    มาตรา ๓๒ ให้ถือว่าบัตรธนาคารเป็นเงินตราตามประมวลกฎหมายอาญา
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > ความเป็นมาและแบบธนบัตร > ธนบัตรแบบต่าง ๆ
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/HistoryANdSeriesOfBanknotes/Pages/All_Series_of_Banknotes.aspx

    นับแต่เริ่มนำธนบัตรออกใช้เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๕ จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้นำธนบัตรออกใช้รวมทั้งสิ้น ๑๕ แบบ ซึ่งแบ่งเป็นธนบัตรก่อนจัดตั้งโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ ๑ - ๑๐ รวมทั้งธนบัตรแบบพิเศษ และธนบัตรที่ผลิตจากโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ ๑๑ - ๑๕

    <TABLE class=ms-rteCustom-BOTHeading2 style="WIDTH: 79%; HEIGHT: 598px" align=left summary=""><TBODY><TR><TD width=135 height=100>[​IMG]


    </TD><TD height=100>[​IMG]
    </TD><TD height=100>[​IMG]

    </TD><TD height=100>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๔
    (โทมัส)


    </TD></TR><TR><TD width=135>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๔
    (กรมแผนที่)


    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๕


    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๖


    </TD><TD>[​IMG]


    </TD></TR><TR><TD width=135>[​IMG]



    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๘

    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๙

    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๐

    </TD></TR><TR><TD width=135>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๑


    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๒


    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๓


    </TD><TD>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๔


    </TD></TR><TR><TD width=135>[​IMG]
    ธนบัตรแบบ ๑๕

    </TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  12. newcomer

    newcomer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2007
    โพสต์:
    1,317
    ค่าพลัง:
    +3,934
    วันนี้ลาพักร้อน ช่วงเช้าไปทำบุญที่ มูลนิธิร่วมกตัญญู วัดหัวลำโพง ครับ
    กำหนดการพิธีซิวโกว ( อุทิศบุญกุศลให้แก่"ภูตผีที่ไร้ญาติ" )
    26 ธค 2551
    เวลา 19:30 น. สวดพระจีน
    27 ธค 2551
    เวลา 19:30 น. สวดพระอภิธรรม
    28 ธค 2551
    เวลา 10:30 น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์
    เวลา 11:00 น. ถวายภัตราหารเพล
    เวลา 15:00 น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา
    เวลา 17:00 น. ประชุมเพลิงส่งดวงวิญญาณ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > ความเป็นมาและแบบธนบัตร > ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes...knotes/Pages/Current_Series_of_Banknotes.aspx

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=top><TD><TABLE class="" style="WIDTH: 75%; HEIGHT: 302px" align=center summary=""><TBODY><TR><TD> [​IMG]
    </TD><TD> </TD><TD>[​IMG]
    </TD><TD> </TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD> </TD><TD> [​IMG]
    </TD><TD> </TD><TD>[​IMG]
    </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD><!-- Center WebPart Zone --></TD></TR><TR vAlign=top><TD><!-- Center-Bottom HTML Content -->
    <TABLE style="WIDTH: 93.95%; HEIGHT: 46px" align=center summary=""><TBODY><TR><TD>หมายเหตุ : ธนบัตร ชนิดราคาอื่น ๆ แบบต่าง ๆ ที่ไม่ปรากฏในหน้านี้ แม้จะมีจำนวนธนบัตรหมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนไม่มากนักก็ตาม แต่ก็ยังคงเป็น ธนบัตรที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย เช่นกัน </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > ความเป็นมาและแบบธนบัตร > ธนบัตรที่ระลึก
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/...emorative.aspx


    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาส
    มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา
    ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐

    [​IMG]

    ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๔๗




    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติ
    ครบ ๖๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๙
    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี
    ธนบัตรไทย

    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเนื่องในอภิลักขิตสมัยมหามงคล
    วันราชาภิเษกสมรส และวันบรมราชาภิเษกครบ
    ๕๐ ปี

    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒

    [​IMG]
    ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ

    พระเจ้าอยู่หัว ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี

    กระทรวงการคลัง​

    เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ สมเด็จพระนางสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ​

    นครินทราบรมราชชนนี ทรงเจริญพระชนมายุ
    ๙๐ พรรษา​
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > การผลิตและลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในธนบัตร > ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในธนบัตร
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/production_and_security/Pages/counterfeit_deterrence.aspx

    <TABLE style="WIDTH: 100%" summary="" border=0><TBODY><TR><TD width=751 colSpan=2>ธนบัตรจัดเป็นสิ่งพิมพ์มีค่าประเภทหนึ่ง ซึ่งมีความพิเศษแตกต่างจากสิ่งพิมพ์มีค่าประเภทอื่น ทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องพยายามค้นคว้าวิจัยและพัฒนาเทคนิคใหม่อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ยากต่อการปลอมแปลงและการลอกเลียนแบบ ดังนั้น สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการผลิตธนบัตรก็คือ ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงที่นำ
    มาใช้ ธนบัตรรัฐบาลไทยที่หมุนเวียนอยู่ในปัจจุบันประกอบด้วยลักษณะต่อต้านการปลอมแปลง ๓ ประการ ได้แก่



    </TD></TR><TR><TD width=40 height=16></TD><TD height=16>๑. ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในวัสดุพิมพ์</TD></TR><TR><TD width=40 height=16></TD><TD height=16>๒. ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในหมึกพิมพ์</TD></TR><TR><TD width=40></TD><TD>๓. ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในลวดลายธนบัตร

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ธนบัตร > การผลิตและลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในธนบัตร > โรงพิมพ์ธนบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย > ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในหมึกพิมพ์
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes...ty/NPT_BankOfThailand/Pages/Material_Ink.aspx

    หมึกพิมพ์สำหรับใช้พิมพ์ธนบัตร นอกจากจะผลิตให้มีคุณสมบัติพิเศษเหมาะสมกับกระดาษและชนิดของการพิมพ์แล้ว หมึกพิมพ์บางชนิดยังมีคุณสมบัติในการต่อต้านการปลอมแปลง อาทิ
    ๑. หมึกพิมพ์พิเศษสลับสี เป็นหมึกพิมพ์ซึ่งสามารถเปลี่ยนจากสีหนึ่งสลับเป็นอีกสีหนึ่งเมื่อมองจากต่างมุม สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยการพลิกเอียงธนบัตร


    [​IMG]
    ตัวเลข 500 จะเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีม่วง

    [​IMG]
    ส่วนบนของตัวเลข 1000 จะเปลี่ยนจากสีทองเป็นสีเขียวอ่อน

    ๒. หมึกพิมพ์พิเศษเรืองแสง เป็นหมึกพิมพ์ซึ่งสามารถมองเห็นการเรืองแสงเมื่ออยู่ภายใต้รังสีเหนือม่วง หมึกพิมพ์พิเศษเรืองแสงนำมาใช้บริเวณลวดลายสีพื้น หมวดอักษรและเลขหมายของธนบัตรทั้งสองตำแหน่ง


    [​IMG]

    การเรืองแสงของลวดลายสีพื้น หมวดอักษรและเลขหมาย ภายใต้รังสีเหนือม่วง

     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > การผลิตและลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในธนบัตร > โรงพิมพ์ธนบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย > ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในวัสดุพิมพ์
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes.../NPT_BankOfThailand/Pages/Material_print.aspx

    วัสดุที่ใช้พิมพ์ธนบัตร ได้แก่ กระดาษธนบัตร ซึ่งเป็นกระดาษชนิดพิเศษ มีใยฝ้ายเป็นส่วนประกอบหลัก มีความเหนียวแกร่ง ทนทานต่อการพับดึง ไม่ยุ่ยง่าย และเนื้อกระดาษไม่เรืองแสงภายใต้รังสีเหนือม่วง (UV) นอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ในเนื้อกระดาษธนบัตรยังมีลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงที่สำคัญ ได้แก่
    ๑. ลายน้ำ สร้างขึ้นเป็นส่วนหนึ่งในเนื้อกระดาษ เกิดจากขั้นตอนการผลิตกระดาษโดยใช้กรรมวิธีพิเศษที่ทำให้เนื้อกระดาษมีความหนา-บางไม่เท่ากัน ทำให้เกิดโทนภาพตามที่ต้องการ สำหรับธนบัตรไทยมีลายน้ำเป็นพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อยกธนบัตรส่องดูกับแสงสว่างจะเห็นลายน้ำได้อย่างชัดเจนทั้งด้านหน้าและด้านหลังของธนบัตร โดยภาพที่เห็นจะมีลักษณะไล่ระดับเข้มจางของแสงเงาคล้ายภาพสามมิติ นอกจากนี้ ยังมีลายน้ำรูปลายไทยที่มีความโปร่งแสงเป็นพิเศษประดับควบคู่ไว้ ซึ่งจะมีรูปลักษณ์แตกต่างกันไปตามชนิดราคาของธนบัตร


    [​IMG]

    ลายน้ำพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และลายน้ำรูปลายไทยในกระดาษธนบัตรแต่ละชนิดราคา
    ๒. แถบสีโลหะในเนื้อกระดาษ เกิดจากขั้นตอนการผลิตกระดาษโดยใช้กรรมวิธีพิเศษที่ฝังแถบพลาสติกขนาดเล็กเคลือบด้วยสีโลหะไว้ในเนื้อกระดาษตามแนวตั้ง บนแถบจะมีตัวเลขและตัวอักษรขนาดเล็กแจ้งชนิดราคาธนบัตร เมื่อยกธนบัตรส่องดูกับแสงสว่างจะมองเห็นและอ่านได้ทั้งสองด้าน


    [​IMG]

    ภาพขยายตัวเลขและตัวอักษรแจ้งชนิดราคาบนแถบสีโลหะในเนื้อกระดาษ
    ๓. เส้นใยเรืองแสง เป็นเส้นใยชนิดพิเศษที่โรยไว้ในเนื้อกระดาษธนบัตรทุกชนิดราคา ซึ่งไม่สามารถมองเห็นในแสงธรรมดา แต่จะมองเห็นเรืองแสงเป็นสีแดง สีเหลือง
    และสีน้ำเงิน เมื่ออยู่ภายใต้รังสีเหนือม่วงหรือรังสีอัลตราไวโอเลต


    [​IMG]

    เส้นใยเรืองแสงที่ปรากฎให้เห็นเมื่ออยู่ภายใต้รังสีเหนือม่วง

     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ธนบัตร > การผลิตและลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในธนบัตร > โรงพิมพ์ธนบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย > ลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงในลวดลายธนบัตร
    http://www.bot.or.th/Thai/Banknotes...NPT_BankOfThailand/Pages/Material_design.aspx

    ลวดลายของธนบัตรประกอบด้วยเส้นที่มีลักษณะคมชัด สวยงาม และมีความละเอียดซับซ้อน โดยเฉพาะภาพประธานด้านหน้าและด้านหลังของธนบัตรซึ่งเป็นภาพที่เกิดจากงานแกะโลหะสำหรับงานพิมพ์เส้นนูนที่มีรายละเอียดมากเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ยังมีลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงอื่น ๆ ในลวดลายธนบัตรอีก อาทิ

    ๑. ภาพแฝง เป็นตัวเลขที่ซ่อนอยู่ในลวดลายเส้นนูน ไม่สามารถมองเห็นในแนวราบปกติ แต่จะมองเห็นได้เมื่อพลิกเอียงธนบัตรในมุมมองที่เหมาะสม

    [​IMG]



    ๒. ตัวเลขและตัวอักษรขนาดจิ๋ว ลวดลายของธนบัตรประกอบด้วยลายเส้นที่มีลักษณะคมชัด สวยงาม และมีความละเอียดซับซ้อนสูง โดยลวดลายบางส่วนออกแบบให้มีตัวเลขหรือตัวอักษรขนาดจิ๋วซ่อนไว้อย่างกลมกลืน เพื่อให้ยากต่อการปลอมแปลง จะมองเห็นได้อย่างชัดเจนเมื่อใช้แว่นขยาย


    [​IMG]
    ตัวเลข 500 ขนาดจิ๋ว จะเห็นได้ชัดเจนเมื่อใช้แว่นขยาย
    ๓. ภาพซ้อนทับ เกิดจากเครื่องพิมพ์ที่สามารถพิมพ์ภาพได้ทั้งสองด้านในเวลาเดียวกัน ทำให้ลวดลายที่ออกแบบไว้ในตำแหน่งตรงกันทั้งด้านหน้าและด้านหลังซ้อนทับกันสนิท หรือประกอบกันขึ้นเป็นลวดลายหรือภาพที่สมบูรณ์ สามารถสังเกตได้ด้วยการยกธนบัตรขึ้นส่องดูกับแสงแสงสว่าง


    [​IMG]
    เมื่อส่องกับแสงสว่างลวดลายทั้งสองด้านจะซ้อนทับกันเป็นตัวเลข 100 ที่สมบูรณ์
    [​IMG]
    เมื่อส่องกับแสงสว่างลวดลายทั้งสองด้านจะซ้อนทับกันเป็นรูปดอกพุดตานที่สมบูรณ์

    [​IMG]
    เมื่อส่องกับแสงสว่างลวดลายทั้งสองด้านจะซ้อนทับกันเป็นรูปดอกบัวที่สมบูรณ์


    นอกจากลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงที่นำเสนอ ๓ ประการแล้ว ยังเพิ่มลักษณะต่อต้านการปลอมแปลง และจุดสังเกตสำหรับผู้พิการทางสายตา ดังนี้

    ๑. แถบฟอยล์สีเงิน ที่ผนึกอยู่บนด้านหน้าธนบัตรมีลักษณะพิเศษ เป็นภาพที่มีมิติเมื่อพลิกเอียงธนบัตรไปมาจะเห็นองค์ประกอบต่าง ๆ ในแถบฟอยล์เคลื่อนไหว และเปลี่ยนสีสันสะท้อนแสงวาววับสวยงาม

    [​IMG]

    ๒. ลายดุนนูนแจ้งชนิดราคา เป็นการดุนนูนที่เกิดจากการพิมพ์ สำหรับให้ผู้พิการทางสายตาใช้สัมผัสเพื่อจำแนกชนิดราคาของธนบัตร

    [​IMG]

     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    โมทนาสาธุครับ

    ถือโอกาสขอลาพักร้อน วันจันทร์และวันอังคารหน้านะครับ แต่อาจจะแวะเข้ากระทู้บ้าง

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

แชร์หน้านี้

Loading...