พระดี พิธีใหญ่ รับประกันแท้ทุกรายการ!!! เชิญชม บูชา ในกระทู้ได้เลยครับ"

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย HMMAmulet626, 4 กุมภาพันธ์ 2022.

  1. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468

    upload_2023-9-4_19-48-45.png
     
  2. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    พระดีที่น่าบูชา
    พระพุทโธจอมมุนี ปี2499 คุณแม่บุญเรือน เนื้อดินเผา



    upload_2023-9-4_20-11-55.png

    พระมงคลมหาลาภ ปี 2499 พิมพ์พระผงพระพุทโธจอมมุนี เนื้อดินผสมผง องค์นี้เนื้อสีเทา วัดสัมพันะวงศ์สร้าง ให้วัดสารนาถฯ จ.ระยอง องค์นี้ สภาพสวย ผิวเดิมครับ ช่วงนี้พระพุทโธน้อย ราคาบูชาค่อนข้างสูง ให้พระมงคลมหาลาภองค์นี้แทนได้ครับเพราะคุณแม่ท่านดได้อธิฐานจิตเหมือนกันพุทธคุณไม่ต่างกันครับ เมตตาสูงมาก โชคลาภดีเยี่ยม***พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499 ***
    พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น
    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล
    หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม
    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
    หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น
    ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง
    โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น
    หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง
    หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่
    หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง
    อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม
    โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน
    จัด สร้างและคุมงานเอง
    พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499
    ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
    เป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์
    พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ
    พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี
    ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน
    ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา
    เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499นั้น บางท่านยังไปทราบประวัติที่ควรทราบ
    ซึ่งเป็นเหตุจะให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา เพื่อได้เคารพบูชาแนบแน่น
    สมกับเป็นปูชนียวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นมงคลเหตุเครื่องเจริญอายุ วรรณะ พละ แลลาภยศ สรรญเสริญ สมบัติเกียรติศักดิ์ แลคุณธรรม คือเป็นสือสำคัญที่ที่จะให้เข้าถึงอิฐผลนั้นๆ อันนับว่าเป็นกำลังอันยิ่งใหญ่สำหรับชีวิต สามารถให้ถึงภาวะอันเป็นอิสระเต็มที่ มีความเกษมนิรันดร
    เมื่อสร้างแจ้งให้ทราบแต่การประกอบพิธีบันจุพุทธมนต์ เป็นพิเศษที่ยิ่งใหญ่โดยสังเขป
    ซึ่งยังไม่เคยเห็นทำที่ไหน คือจัดที่บูชาพร้อมเครื่องสังเวยต่างๆมีเทียนธูป
    ข้าวตอก ดอกไม้7สี แลอาหารผลไม้ถึงอย่างละ 375 ที่มีเบญจา มีเศวตฉัตร 9 ชั้น
    สูง 6 ศอก 8 ต้น บายศรีเงิน-บายศรีทอง 9 ชั้น สูง 6 ศอก อย่างละ 8 ต้น
    บันจุพระพุทธมนต์ลงไปในน้ำ และผงที่จะสร้างพระนั้น โดยนิมนต์อาจารย์
    ผู้มีชื่อเสียงหลายวัดทำพิธีประจุมนต์ เข้าพิธีปลุกเสกมีพระเกจิที่มีชื่อเสียงเช่น
    พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศวิหาร
    พระวรเวทย์คุณาจารย์ (เมี้ยน ปภสสโร) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
    พระมหารัชชมังคลาจารย์
    พระมงคลเทพมุนนี จนฺทสโร (สด มีแก้วน้อย) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
    พระครูวินัยธรเฟื้อง (ญาณปปทีโป)
    หลวงพ่อลี วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ (ช่วยทำพิธีและประสานงานด้วย)
    พระสอาด อภิวัฑฒโน วัดสัมพันธวงศ์
    พระครูนอ วัดกลางท่าเรือ อยุธยา
    พระอาจารย์บุ่ง วัดใหม่ทองเสน
    พระชอบ สัมจารี วัดอาวุธวิธกสิตาราม ธนบุรี เป็นต้น
    พร้อมด้วยบันจุเทพมนต์พรหมมนต์ โดยเชิญเทพแลพรหมผู้มีชื่อเสียงเก่าๆ
    มาเข้าพิธีอธิษฐานบันจุมนต์ลงด้วย และบันจุมนต์โยคีโดยโยคีฮาเร็บ
    (อาจารย์ชื่น จันทรเพ็ชร) ผู้มีชื่อเสียงและ พ.ต.อ.ชะลอ อุทกภาชน์
    ผู้เป็นศิษย์เป็นผู้ทำพิธีบรรจุ เสร็จพิธีแล้ว จึงได้ใช้ผงประสมทำเป็น
    องค์พระได้มงคลฤกษ์ จึงได้ทำพิธีปลุกเสกพระเครื่องนั้นอีกครั้งหนึ่ง
    พระเครื่องที่จะทำพิธีปลุกเสกนั้น ห่อด้วยผ้าขาว 7 ชั้น ผ้าเขียว 7 ชั้น
    พิธีนอกนั้นเหมือนเมื่อเมื่อบันจุมนต์ลงในผงแลน้ำที่ จะสร้างพระ
    ตั้งน้ำมนต์สำหรับแจกผู้ที่ต้องการซึ่งมาร่วมพิธี 40 ตุ่ม แต่ไม่ได้กล่าวถึงผงที่นำมาประสมสร้างพระนั้นว่ามีอะไรบ้าง
    มีผู้สนใจต้องการทราบอยู่เป็นจำนวนมา จึงสมควรเขียนประวัติ
    เนื่องด้วยผงที่นำมาประสมสร้างพระเครื่องนั้น ให้ท่านทราบไว้ด้วย ดังต่อไปนี้
    1.ผงขอจากพระอาจารย์ต่างๆ ที่ท่านทำและรวบรวมไว้หลายวัด
    เช่น วัดพระเชตุพน วัดตรีทศเทพ และวัดสัมพันธวงศ์ ฯลฯ
    ผงแป้งที่ทำเลผงจากพระของเก่าบ้าง
    2.ผงพระที่ทำด้วยว่านต่างๆ ที่นิยมว่าเป็นมงคลศักดิ์สิทธิ์ 108 อย่าง
    ทำจากดอกไม้บูชาพระต่างๆ 108 อย่าง
    3.ผงที่ทำด้วยดินจากท่าน้ำ 7 ท่าและจากสระน้ำ 7 สระ
    4.ผงที่ทำด้วยเอาคัมภีร์เก่าๆ ทั้งใบลานและสมุดข่อยมาเผาบด ตั้งแต่หมายเลข 1-5 นี้ประสมสร้างพระผงรุ่นก่อนแล้วเอามาบดผสมเข้ากัน กับผงใหม่ที่นำมาเข้าพิธีด้วย
    5.ผงที่ได้จากดินสังเวยชนียสถาน 4 แห่งในอินเดียคือ
    5.1 ดินที่ลุมพินีระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และเทวทหะ ซึงเป็นที่ประสูติของพระพุทธเจ้า
    5.2 ดินที่มหาโพธิ์ พุทธคยาที่ตรัสรู้
    5.3 ดินที่สารนาถ มฤคทายวัน เมืองพาราณสี ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้า
    ทรงแสดงธรรมจักร 5.4 ดินที่กุสินารา ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าดับขันธปรินิพพาน
    6.ดินจากสถานที่สำคัญ 9 แห่ง คือดินจากสถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จ
    เสวยวิมุตติสุข 7 แห่ง บริเวณพุทธคยา มีที่รัตนะจงกลม แลที่สระมุจลิน
    เป็นต้น แลดินที่พระคันธกุฏีที่ประทับของพระพุทธเจ้าที่บนเขา คิชกูฏ
    (เมืองราชคฤห์) ดินที่ที่พระคันธกุฏีที่ประทับในเมืองสาวัตถี ซึ่งพระครูสุภารพินิจ (โทน สุขพโล) วัดสัมพันธวงศ์
    ได้ไปนมัสการปูชนียสถานนั้นๆ และได้นำมาเมื่อปี พ.ศ.2497
    ผู้ที่มีพระเครื่องแบบพุทธมงคลมหาลาภ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นต้นไว้บูชา เป็นอันได้ระลึกถึงแลบูชา สังเวชนียสถาน
    7.ผงปูนหินขาว ราชบุรี
    8.ผงปูนซีเมนต์ขาว และนอกจากนี้ ก็ยังมีดินเหนียวอย่างดี สีเหลือง และน้ำอ้อยเป็นต้น
    ผงเหล่านี้นั้น ประสมกันมากบ้างน้อยมาก แล้วบดให้ละเอียดแร่งกรองด้วยผ้าป่าน สำเร็จเป็นผงที่จะสร้างพระเครื่องใช้น้ำมนต์ที่ทำไว้ นั้นประสมกับของที่จะทำพระให้
    พระมีคุณภาพดี สวยงามทนทาน ศักดิ์สิทธิ์ต่อไป ประสมผงพิมพ์เป็นรูปพระพุทธมงคลมหาลาภบ้าง สมเด็จบ้าง
    ส่วนพระเครื่องอื่นสร้างด้วยดินประสมผงเผาแล้วนำมา
    เข้าพิธีปลุกเสกในคราวเดียวกันกับพระพุทธมงคลมหาลาภ
    เสร็จแล้วแจกจ่ายในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี พร้อมด้วยพระอัครสาวก ในการต่อมา พระเครื่องเหล่านี้
    เมื่อแจกจ่ายแก่ผู้จำนงในงานผูกพัทธสีมา อุโบสวัดสารนาถธรรมารามแล้ว
    ก็จะได้จัดการทำบันจุในอุโบสถ หรือเจดีย์ตามสมควรเพื่อเป็นมิ่งขวัญแก่สารนาถธรรมาราม อันเป็นมหาปูชนียสถานในกาลต่อไปฯ
    พระมหารัชชมังคลาจารย์ ( เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์
    ข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับพระมงคลมหาลาภ
    เป็นพระนาคปรกสี่เหลี่ยม เนื้อผงขาว (และส่วนผสมดังกล่าวแล้ว)
    ด้านหลังเป็นยันต์เฑาะดอกบัว อะอุมะ พิมพ์ใหญ่กลางเล็ก จำนวน 84,000 องค์ ซึ่ง “พระรัชชมงคลมุนี” (พระมหารัชชมังคลาจารย์)
    อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ได้มอบให้ “พระชอบ สัมมาจารี” วัดอาวุธวิกสิตาราม กรุงเทพฯ สร้าง เพื่อนำมาแจกในงานสมโภชพระประธาน
    โดยส่ง “ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณต่าง ๆ เป็นแท่ง ๆ ประทับตรา “วัดสัมพันธวงศ์” ให้นำมาผสม โดยเรียก “พระนาคปรก” นี้ว่า “พระมงคลมหาลาภ” ซึ่งมีชื่อของท่านคือ
    “พระรัชชมงคลมุนี” อยู่ในชื่อพระด้วย ในพิธีนี้แม่ชีบุญเรืยนได้อธิษฐานจิตร่วมอยู่ในพิธีด ้วยหลวงพ่อลี วัดอโศกการาม จ.สมุทรปราการ องค์ประสานงานพิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้
    ได้บอกศิษย์ว่า “พระผงนี้ดีมาก มีรังสี สีขาว และเหลืองกระจายออกสว่างไสว”
    นอกนั้น ท่านยังได้ขอพระผงมงคลมหาลาภที่ชำรุดประมาณ 1 บาตรพระ นำไปบดใส่ “พระใบโพธิ์เนื้อดิน พ.ศ. 2500”ของท่านด้วย ขนาดขององค์พระ พิมพ์ใหญ่ ฐานกว้างประมาณ 2.5-3.8 ซม. หนา 0.5 ซม.
    พิมพ์เล็ก ฐานกว้างประมาณ 2.2-2.5 ซม. หนา 0.5 ซม.
    ด้านหลัง มีตราวัดสัมพันธวงศ์ “เฑาะรัศมีดอกบัว อ.อุ.ม. ประทับลงในเนื้อเป็นตรารูปไข่
    ขนาดของ ความหนาไม่แน่นอน หนาบ้าง บางเฉียบบ้าง แล้วแต่ขนาด
    พระพิมพ์นี้ คนระยอง คนจันทบุรี คนตราด อีกทั้งชาวประมงแถบภาคตะวันออก ห้อยองค์เดียวรู้ถึงพุทธคุณเป็นอย่างดีโดยเฉพาะช่วงที่มีใต้ฝุ่นเข้าแหลมตะลุมพุก ผู้ที่แขวนพระองค์นี้ลอยอย่างปาฏิหาริย์ จึงเป็นที่แสวงหากันมาก
    ข้อมูลจากคำบอกเล่าของท่านเจ้าคุณ พระราชรัชมงคลโกวิท
    พระราชรัชมงคลโกวิท เจ้าอาวาสวัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยอง องค์ปัจจุบัน
    เล่าว่า พิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ พระกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทตโต
    กว่าร้อยรูป มี พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์ลี วัดอโศการามเป็นต้น ทำพิธีนั่งปรกพุทธาภิเษกพระประธาน และพระเครื่องต่าง ๆ
    มีพระมงคลมหาลาภ พระพุทโธน้อย เป็นต้น โดยทำพิธี 18 วัน 18 คืน


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 กันยายน 2023
  3. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2171.เนื้อดินวิเศษ เผาด้วยไฟกสิน พระเนื้อดินกสินไฟ หลวงพ่อพ่วง วัดกก พ.ศ.๒๔๗๓ พิมพ์๕ เหลี่ยมใหญ่ ให้บูชา 1499 บาท



    upload_2023-9-5_10-43-8.png

    upload_2023-9-5_10-47-22.png

    หลวงพ่อพ่วง อดีตเจ้าอาวาสวัดกก บางขุนเทียน
    พระเถราจารย์ร่วมยุคสมัยเดียวกับ ท่านเจ้าคุณเฒ่า(เอี่ยม) วัดหนัง และ หลวงปู่ไปล่ วัดกำแพง
    ท่านเป็นพระเถราจารย์ทรงคุณวิเศษเป็นอย่างมาก
    มีศีลาจารวัตรที่งดงาม เคร่งครัดในพระธรรมวินัย เชี่ยวชาญด้านวิปัสนาธุระ และเป็นผู้ทรงเวทวิทยาคมอันแก่กล้าไม่เป็นสองรองไครในยุคนั้นเลยทีเดียว
    นอกจากนี้ ท่านยังเป็นพระอุปัชฌาย์จารย์ เช่นเดียวกับ หลวงปู่เจ้าคุณเฒ่า(เอี่ยม) วัดหนัง
    ซึ่งในยุคนั้น ย่านฝั่งธนบุรี มีพระอุปัชฌาย์ เพียงแค่ ๒ รูปนี้เท่านั้น จึงกล่าวได้ว่า หลวงพ่อพ่วง ท่านเป็นพระอาจารย์องค์สำคัญอีกหนึ่งรูปเลยทีเดียว

    หลวงพ่อพ่วงได้นำดินเหนียวจากบางบัวทองจังหวัดนนทบุรี เอามาผสมกับผงวิเศษซึ่งท่านจารสูตรสนธิขึ้นอันมี ผงอิทธิเจ ผงตรีนิสิงเห ผงปถมัง ผงมหาราช และผงพุทธคุณ ซึ่งหลวงพ่อพ่วงท่านชำนิชำนาญทางจารสูตรต่างๆ เหล่านี้มาก นอกจากนี้ยังผสมด้วยสมุนไพรและว่านต่าง ๆ แร่บด ตลอดจน ปากเหยี่ยว ปากกา เขี้ยวเสือ เล็บเสือ งาช้าง (เป็นของจริงๆ) นำมาบดผสมลงไปด้วย จำนวนการจัดสร้างนั้น ท่านตั้งใจจะสร้างให้ได้ 84000 องค์
    เมื่อกดพิมพ์เสร็จแล้วท่านได้นำเข้าเผาโดยสุมแกลบที่ลานวัด
    ขณะเผาท่านจะไปเฝ้าบริกรรมปลุกเสก แสดงว่าท่านต้องการแผ่พลังจิตลงไปขณะพระได้รับความร้อน เป็นการหนุนเตโชธาตุ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับหลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน สุพรรณบุรี ซึ่งปลุกเสกขณะพระกำลังเผาเช่นกัน หลังจากเผาแล้ว จึงได้นำเข้าปลุกเสกภายในอุโบสถวัดกก เป็นเวลานานหลายพรรษา ท่านปลุกเสกอยู่ตลอดแทบทุกวันหลังจากทำวัตรสวดมนต์ในพระอุโบสถตั้งแต่ปี พ.ศ.2473 จนถึง ปี พ.ศ.2479 รวมแล้วได้ 6 ปีเต็ม
    เนื่องด้วย มีผู้รับพระเนื้อดินที่ท่านแจกเป็นลองยิง แล้วปรากฎว่ายิงไม่ออก จึงเป็นเหตุให้ผู้อยากรู้อยากลองกระทำกันเป็นวงกว้าง หลวงพ่อพ่วงท่านทราบข่าว เห็นไม่เป็นการอันควร จึงให้เก็บพระเนื้อดินที่ยังไม่แจกทั้งหมด ขึ้นเป็นเพดานโบถส์

    เรื่องความศักดิ์สิทธิ์ในวัตถุมงคลของ หลวงปู่พ่วง นั้นเป็นที่กล่าวขานกันมากในสมัยนั้นถึงเรื่องมหาอุดคงกระพัน และโดยเฉพาะทางด้านเมตตามหานิยม หลวงพ่อพ่วงวัดกกท่านนี้ยังเป็นพระกรรมวาจาจารย์ของหลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง และหลวงพ่อไปล่ยังได้ไปเรียนวิชาจากหลวงพ่อพ่วงอีกด้วย ขนาดหลวงปู่เอี่ยม วัดหนังยังยกย่องว่า "พระอุปัชฌาย์พ่วง วัดกก องค์นี้แหละท่านเก่งจริงๆ"
    นายเยื้อน บุญฟัก อายุ ๘๑ ปี เล่าให้ผู้เขียนฟังว่า คราวหนึ่งคุณแม่ของแกเองชื่อนางแปลก ป่วยหนักจึงนำตัวไปรักษาที่ “บ้านหมอไหม” ย่านบางมดนานหลายวันอาการกลับ “ทรุดลง” ไม่ดีขึ้นเลยวันหนึ่ง “นายเยื้อน” เดินผ่านกุฏิ “หลวงปู่พ่วง” ท่านเห็นจึงเรียกให้ขึ้นไปหาแล้วบอกว่า “ต้องเปลี่ยนหมอที่รักษาคุณแม่ใหม่แล้วจะหาย ไม่เช่นนั้นแม่แกตายแน่” เมื่อได้ยินเช่นนั้น “นายเยื้อน” รีบไปรับ “คุณแม่” จากบ้าน “หมอไหม” โดยอุ้มลงเรือพาไปหา “หมออ่ำ ปากคลองบางกระแนะ” ซึ่งพอไปถึง “หมออ่ำ” ก็ทำการรักษาไม่นานอาการก็ “ดีขึ้น” กระทั่งหายเป็นปกติตั้งแต่นั้นมา “นายเยื้อน” จึงเพิ่มความเคารพนับถือ “หลวงพ่อพ่วง” มากขึ้นมักบอกใครต่อใครว่า “หลวงพ่อพ่วงท่านแน่จริงไม่ต้องถามอะไรเลย ท่านก็ล่วงรู้ได้แจ่มแจ้งเหมือนตาเห็นแสดงว่าญาณของท่านสูงยิ่งนัก” ต่อมาทางคณะสงฆ์พิจารณาเห็นว่า “หลวงพ่อพ่วง” เป็นพระเถระที่ชาวบ้านเคารพนับถือและมีศีลาจารวัตรดียิ่ง สามารถปกครองพระให้มีระเบียบเรียบร้อย จึงแต่งตั้งให้เป็น “พระอุปัชฌาย์พ่วง” เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ซึ่ง ขณะนั้นท่านมีพรรษาได้เพียง ๒๐ พรรษาเท่านั้นเพราะสมัยนั้นพระอุปัชฌาย์ มิใช่จะตั้งกันได้ง่าย ๆ เพราะช่วงนั้นบางขุนเทียน มีเพียงรูปเดียวคือ “หลวงปู่เอี่ยม” หรือ “เจ้าคุณเฒ่าวัดหนัง” ต่อมาจึงมี “หลวงพ่อพ่วง” เพิ่มอีกเป็น ๒ รูป ดังนั้นสมัยที่ “หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง” ทำการบวชก็มี “หลวงพ่อ” เป็นพระกรรมวาจาจารย์และหลังบวชแล้ว ก็ได้ศึกษาทางด้านวิปัสสนาและพุทธาคมจาก “หลวงพ่อพ่วง วัดกก”
    อีกเรื่องที่ต้องเล่าให้ฟังคือ “พระอรุณ อรุโณ” สมัยเด็กก็บวชอยู่ที่ “วัดกก” จึงได้เป็น “ลูกศิษย์” ของ “หลวงพ่อพ่วง” เล่าว่า “หลวงพ่อพ่วงเป็นพระที่เคร่งมาก ไม่เคยจับเงินเลย ใครถวายท่านก็ให้ศิษย์เก็บเอาไว้ไม่แตะต้องทั้งสิ้น มีอยู่ครั้งหนึ่งท่านไปสวดมนต์ฉันเพลที่บ้านญาติโยมซึ่งเอาเรือมารับ พอท่านลงจากกุฏิไปแล้วลูกศิษย์ก็ออกจากกุฏิใส่กุญแจ ซึ่งกุญแจนั้นสามารถกดเข้าไปก็ล็อกได้แต่วันนั้นเมื่อล็อกแล้ว ปรากฏว่าลืมลูกกุญแจไว้ในกุฏิ ดังนั้นเมื่อ “หลวงพ่อพ่วง” กลับจากกิจนิมนต์จึงเข้ากุฏิไม่ได้แต่ท่านก็มิได้ว่ากล่าวใด ๆ สั่งให้ลูกศิษย์ไปหิ้วของที่ท่าน้ำครั้นลูกศิษย์กลับมาก็พบว่า “หลวงพ่อ” เข้าไปอยู่ในกุฏิแล้วโดยที่ประตูกุฏิยังคงปิดอยู่เช่นเดิม ซึ่งเรื่องนี้สร้างความสงสัยให้กับ “พระอรุณ อรุโณ” เป็นอย่างยิ่งแต่ก็ไม่กล้าถามเพราะทราบดีอยู่ก่อนแล้วว่า “หลวงพ่อ” มีวิชาอาคมเข้มขลัง อีกเรื่อง “หลวงพ่อน้อม” อดีตเจ้าอาวาสวัดกกเล่าให้ผู้คนฟังขณะ หลวงพ่อพ่วง สร้าง “พระเนื้อดิน” ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ นั้น “นายจง พึ่งพรหม” ซึ่งเป็นช่างแกะแม่พิมพ์เดินผ่านมาหลวงพ่อจึงเรียกแล้วบอกว่า “ให้ไปดู นายตู้ พึ่งพรหม น้องชายที่บ้านซิว่ายังอยู่ดีหรือ” นายจงได้ยินจึงรีบไปดูปรากฏว่า “นายตู้” ผู้น้องชายกำลังเจ็บไข้ไม่สบายจึงกลับมาบอกหลวงพ่อซึ่งท่านก็ไม่ว่ากระไรแต่ พอวันรุ่งขึ้น “นายตู้” ก็เสียชีวิต “หลวงพ่อ” จึงได้แต่บอกว่า “เขาหมดอายุแล้ว” ซึ่งเรื่องนี้ “หลวงพ่อน้อม” เล่าว่าได้ยินมากับหูของท่านเองจึงแสดงว่า “หลวงพ่อพ่วง” มีญาณวิเศษหยั่งรู้กาลชะตาของคนอื่นได้เหมือนตาเห็นนอกจากนี้ “พระอรุณ อรุโณ” ยังพูดถึงมงคลวัตถุของหลวงพ่อพ่วงว่า “พระเนื้อดินเผา” ของ หลวงพ่อพ่วง วัดกก มีพุทธคุณเยี่ยมมีคนได้รับประสบการณ์กันมากมายนับไม่ถ้วน
    “คุณปู่เยื้อน บุญฟัก” เป็นอีกผู้หนึ่งที่รู้เห็นเรื่องอภินิหารของ “หลวงพ่อพ่วง วัดกก” โดยได้เล่าให้ผู้ใกล้ชิดฟังว่า “คราวหนึ่งหลวงพ่อพ่วง” ไปงานสวดสดับปกรณ์ครั้นสวดจบในหลวง “รัชกาลที่ ๕” ทรงถวายเงินที่ห่อด้วยผ้าให้ท่านโดยที่ หลวงพ่อพ่วง ไม่รู้ว่าในห่อผ้านั้นเป็นเงินจึงไปหยิบ แต่เมื่อมารู้ภายหลังท่านรีบยกเงินห่อนั้นให้ “ปู่เยื้อน” ซึ่งขณะนั้นยังเป็นเด็กและคอยติดตามหลวงพ่อไปในทุกงานรับกิจนิมนต์ พร้อมทั้งยกย่องหลวงพ่อว่าเป็นผู้ไม่ติดในโทสะ เพราะท่านไม่เคยโกรธหรือดุด่าว่าใครแต่ท่านมีตบะแรงกล้าคนเห็นจึงเกรงกลัว แม้แต่รสอาหารท่านก็ไม่หลงเพราะตลอดชีวิตสมณะของท่านเอาแต่ “ฉันเจ” กระทั่งมรณภาพเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทิ้งไว้แต่อนุสรณ์แห่งคุณงามความดีและพระเครื่องอันเข้มขลังไว้ช่วยเหลือผู้ เลื่อมใสศรัทธาต่อไป
     
  4. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2172. สมเด็จวัดชลอ เนื้อผงน้ำมันผสมผงสมเด็จวัดระฆัง รุ่นแรก ปี ๒๕๑๕ จ.นนทบุรี พ่อท่านเขียว วัดหรงบล ปลุกเสก หายาก ให้บูชา 1499 บาท


    upload_2023-9-5_10-51-36.png

    upload_2023-9-5_10-52-5.png


    พระสมเด็จวัดชลอ รุ่นแรก สร้างในปี2515 มีเกจิอาจารย์ที่เก่งกล้าสมัยนั้นมาร่วมปลุกเสก 108 องค์ที่แน่ๆคือมีหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลีและพ่อท่านเขียว วัดหลงบล

    พระสมเด็จวัดชลอ จัดเป็นของดี ที่ซ่อนเร้นอยู่ ยังพบเห็นได้ตามสนาม แต่ก็ไม่ใช่ว่าบ่อยนัก ทั้งนี้ พระสมเด็จวัดชลอมีดีที่ มวลสารแลพิธีการปลุกเสกสมเด็จวัดชลอ มีผงสมเด็จวัดระฆังผสมด้วยสรรพว่านของพรานป่า และรากไม้ป้องกันภัยและบอกเหตุเตือน เมื่อจะเกิดภัยอันตรายจะบอกเตือนให้ทราบก่อนเดินทางห ากมีกลิ่นหอม จะเดินทางโดยสวัสดิภาพ หากมีกลิ่นคล้ายซากสัตว์ตายขอให้ระงับการเดินทางไว้ก ่อนสัก ๑๐-๒๐ นาที จึงค่อยเดินทางหรือจะหลีกออกจากบริเวณนั้นเสียจะปลอด ภัย

    พิธีพุทธาภิเศก มีอาจารย์ ๑๐๘ รูป กำหนดจิตภาวนามีคุณทางเมตตากันคุณไสย ก่อนออกเดินทางให้ภาวนา อิติ สุคะโต อะระหัง พุทโธ นะโม พุทธายะ พุทโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา พระธรรมเมตตา สัมมาสัมพุทโธ นะโม พุทธายะ วันนี้วันดี พระพุทธเรืองศรี เดินทางไปดีมาดี สวัสดีลาโภ นะโม พุทธายะ"
     
  5. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2173. พระพุทธชินราช เนื้อผงพุทธคุณ ผสมหินเปียก หลวงพ่อแช่ม อริยเมตตาแห่ง วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม ปี ๒๕๑๘ ยุคแรก ให้บูชา 999 บาท



    upload_2023-9-5_11-8-54.png

    พระเนื้อหินเปียก รุ่นแรก ปี ๒๕๑๘ หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม ชื่อเสียงกิตติคุณ : เชื่อกันว่าหลวงพ่อแช่มสำเร็จเตโชกสิณตั้งแต่พรรษายังน้อย บางคนเชื่อว่าท่านสำเร็จฌานอภิญญามีพลังจิตเข้มขลัง ปรากฎการณ์ที่ทำให้ชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาอย่างรวดเร ็ว ก็คือ สามารถอธิษฐานจิตปลุกเสกจนน้ำมนต์เทไม่ออก วัตถุมงคลต่างๆที่ท่านอธิษฐานจิตปลุกเสก มีพุทธคุณครบเครื่องทุกๆด้าน แต่ที่โดดเด่นที่สุดคือ เมตตามหานิยม ปัจจุบันวัตถุมงคลชุดสำคัญๆของท่านเริ่มเป็นที่นิยมแ ละสะสมกันมากขึ้น นอกจากพระเครื่องและวัตถุมงคลต่างๆแล้ว น้ำพระพุทธมนต์ แป้งเจิม มงคลสวมคอ การผูกหุ่นพยนต์ และสาริกาลิ้นทอง เป็นวิชาเฉพาะตัวที่หลวงพ่อทำได้ขลังยิ่งนัก ลูกศิษย์หลายๆ คนยืนยันว่า หลวงพ่อแช่มท่านร.ู้ถึงกาลวาระที่ท่านต้อง ละสังขาร เหตุการณ์ทีี่ว่านี้ก็คือ ในพุธที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๓๖ หลวงพ่อแช่มได้เรียกกรรมการวัดมาสอบถามว่า ทางวัดมีหนึ้สินติดค้างใครบ้าง เมื่อทราบว่า ไม่มีหนี้สินอะไรแล้ว ท่านก็ไม่ได้ว่ากล่าวอะไร พอตกเย็นก็ได้ชวนเด็กวัด 2-3 คนออกเดินตรวจตรารอบๆ วัดเป็นเวลานานอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ดูเหมือนหนึ่งจะเป็นการตรวจตราความเรียบร้อยเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนที่ท่านจะละสังขารในขณะทีท่านยังสุขภาพดีอยู่ จากนั้นได้กลับเข้ามาปฏิบัติภาำรกิจต่างๆจนแล้วเสร็จ จึงได้เข้าจำวัดตามปรกติ ทุกเช้า หลวงพ่อฯ ตืนตืนขึ้นมาเช้ามืดเป็นประจำทุกวัน ไม่เคยขาด แต่ในเช้าวันพฤหัสบดี ที่ 9 ธันวาคม 2536 หลวงพ่อแช่มไม่ได้ตื่นขึ้นมา ไม่มีใครเฉลียวใจเลยว่า หลวงพ่อฯ จะละสังขารไปเร็วขนาดนี้ ภาพแรกที่ลูกศิษย์วัดดอนยายหอมเห็นในกุฏิหลวงพ่อฯ คือ ภาพหลวงพ่อแช่ม ท่านมรณภาพในท่า...นอนแบบปางไสยาสน์ การมรณภาพเฃ่นนี้แสดงให้เห็นว่า หลวงพ่อฯ ต้องเป็นพระที่ฌานสมาบัติแก่กล้ามีสติระลึกตนได้ตลอดเวลาแม้ในขณะกำลังมรณภาพ สาธุ
     
  6. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2174. สุดยอดพระดีของคุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม พระสมเด็จมงคลมหาลาภ ปี2499 พิมพ์ใหญ่หลังเรียบ
    ปิดรายการครับ

    upload_2023-9-5_11-21-44.png


    upload_2023-9-5_11-22-45.png


    พระสมเด็จมงคลมหาลาภ คุณแม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม หลังเรียบ เนื้อผง ปี พ.ศ.๒๔๙๙

    พระมงคลมหาลาภ จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทธชินราชจอมมุนีซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แล้วอัญเชิญส่วนหนึ่งไปประดิษฐานเป็นพระประทาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อำเภอแกลง จังหวัดระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ ๕-๓๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๙ นั้น ซึ่งในพิธีการครั้งนี้ได้มีการประกอบพิธีบรรจุพุทธมนต์เป็นพิเศษที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งยังไม่เคยเห็นทำที่ไหน คือจัดที่บูชาพร้อมเครื่องสังเวยต่างๆมีเทียนธูป ข้าวตอก ดอกไม้ ๗ สี และอาหารผลไม้ถึงอย่างละ ๓๗๕ ที่ มีเบญจา มีเศวตฉัตร ๙ ชั้น สูง ๖ ศอก ๘ ต้น บายศรีเงิน บายศรีทอง ๙ ชั้น สูง ๖ ศอกอย่างละ ๘ ต้น การบรรจุพระพุทธมนต์ลงไปในน้ำมนต์ และผงที่จะนำมาสร้างพระเครื่องนั้น ได้นิมนต์พระเกจิอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงมาทำพิธีประจุมนต์ ปลุกเสกได้แก่
    -พระพรหมมุนี ( ผิน สุวโจ ) วัดบวรนิเวศวิหาร
    -พระวรเวทย์คุณาจารย์ (เมี้ยน ปภสสโร ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
    -พระมหารัชชมังคลาจารย์
    -พระครูวินัยธรเฟื่อง (ญาณปปทีโป )
    -พระสะอาด อภิวฒฒโน วัดสัมพันธวงศ์
    -พระครูนอ วัดกลางท่าเรือ อยุธยา
    -พระอาจารย์บุ่ง วัดใหม่ทองเสน
    -พระชอบ สัมมาจารี วัดอาวุธวิกสิตาราม ธนบุรี และ
    คุณแม่บุญเรือนฯอธิษฐานจิตทุกวันเสาร์

    ในพิธีนี้ได้เชิญเทพและพรหมผู้มีชื่อเสียงเก่าๆ มาเข้าทรงประกอบพิธีอธิษฐานบรรจุมนต์ลงด้วย รวมถึงการบรรจุมนต์โยคีฮาเร็บ (อาจารย์ชื่น จันทรเพ็ชร) ผู้มีชี่อเสียงและ พ.ต.อ.ชะลอ อุทกภาชน์ ผู้เป็นศิษย์เป็นผู้ทำพิธีปลุกเสกพระเครื่องนั้นอีกครั้งหนึ่ง พระเครื่องที่จะทำพิธีปลุกเสกนั้น ห่อด้วยผ้าขาว ๗ ชั้น ผ้าเขียว ๗ ชั้น พิธีนอกนั้นเหมือนเมื่อบรรจุมนต์ ลงในผงและน้ำที่จะสร้างพระ ตั้งน้ำมนต์สำหรับแจกผู้ต้องการซึ่งมาร่วมพิธี ๔๐ ตุ่ม แต่ไม่ได้กล่าวถึงผงที่นำมาประสมสร้างพระนั้นว่ามีอะไรบ้าง ทำให้มีผู้สนใจต้องการทราบอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ค้นคว้าจากเอกสารต่างๆในสมัยนั้นมาให้ท่านผู้อ่านทราบ ดังต่อไปนี้
    ๑. ผงของพระอาจารย์ต่างๆ ที่ท่านทำและรวบรวมไว้หลายวัด เช่นวัดพระเชตุพน วัดตรีทศเทพ วัดสัมพันธวงศ์ ฯลฯ ผงแป้งที่ทำและผงจากพระของเก่าที่แตกหักชำรุดบ้าง
    ๒. ผงพระที่ทำด้วยว่านต่างๆ ที่นิยมว่าเป็นมงคลศักดิ์สิทธิ์ ๑๐๘ อย่าง ทำจากดอกไม้บูชาพระต่างๆ ๑๐๘ ชนิด
    ๓. ผงที่ทำด้วยดินจากท่าน้ำ ๗ ท่า และจากสระน้ำ ๗ สระ
    ๔. ผงที่ทำด้วยการนำเอาคัมภีร์เก่าๆ ทั้งใบลานและสมุดข่อยมาเผาบด ตั้งแต่หมายเลข ๑ ถึง ๕ นี้ประสมสร้างพระผงรุ่นก่อน แล้วเอาบดผสมเข้ากันกับผงใหม่ที่นำมาเข้าพิธีนี้ด้วย
    ๕. ผงที่ได้จากดินที่สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง ในอินเดีย คือ ๑ ดินที่ลุมพินีระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และเทวทหะซึ่งเป็นที่ประสูติของพระ พุทธเจ้า ๒ ดินที่มหาโพธิ์พุทธคยาที่ตรัสรู้ ๓ ดินที่สารนาถ
    มฤคทายวัน เมืองพาราณสี ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมจักร ๔ ดินที่กุสินนาราซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน
    ๖. ดินจากสถานที่สำคัญอีก ๙ แห่ง คือดินจากสถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จเสวยวิมัติสุข ๗ แห่ง บริเวณ พุทธคยา มีที่รัตนะจงกลม และที่สระมุจลิน เป็นต้น และดินที่พระคัณธกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้าบนเขาคิชกุฏ ( เมืองราชคฤห์ ) ๑ ดินที่พระคันธกุฏีที่ประทับในเมืองสาวัตถี ๓ ซึ่งพระครูสุภารพินิจ (โทน สุขพโล ) วัดสัมพันธวงศ์ ได้ไปนมัสการปูชนียสถานนั้นๆ และได้นำมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗
    ๗. ผงปูนขาวหินราชบุรี
    ๘. ผงปูนซีเมนต์ขาว และนอกจากนี้ ก็ยังมีดินเหนียวอย่างดี สีเหลือง และน้ำอ้อยเป็นต้นผง เหล่านี้นั้นประสมกันมากบ้างน้อยบ้าง แล้วบดให้ละเอียด ก่อนนำไปกรองด้วยผ้าป่านสำเร็จเป็นผงที่สร้างพระเครื่อง ใช้น้ำมนต์ที่ทำไว้นั้น ประสมกับของที่จะทำพระให้พระมีคุณภาพดีสวยงาม ทนทาน ศักดิ์สิทธิ์ต่อไป
    ประสม ผงพิมพ์เป็นรูป พระพุทธมนต์มหาลาภบ้าง สมเด็จบ้าง ส่วนพระเครื่องอื่น สร้างด้วยดินประสมผงเผา แล้วนำมาเข้าพิธีปลุกเสกในคราวเดียวกัน กับพระพุทธมงคลมหาลาภ เสร็จพิธี แล้วแจกจ่าย ในงานสมโภช พระพุทธโธภาสชินราชจอมมุนี พร้อมด้วยพระอัครสาวก ในการต่อมาพระเครื่องเหล่านี้ เมื่อแจกจ่ายแก่ผู้จำนงในงานผูกพัทธสีมา อุโบสถวัดสารนาถธรรมารามแล้วก็จะได้จัดการทำพิธีบรรจุในอุโบสถ หรือเจดีย์ตามควร เพื่อเป็นมิ่งขวัญแก่วัดสารนารถธรรมาราม อันเป็นมหาปูชนียสถานในกาลต่อไป

    พระมงคลมหาลาภ เป็นพระนาคปรกสี่เหลี่ยม เนื้อผงขาว ( และส่วนผสมดังกล่าวแล้ว ) ด้านหลังเป็นยันต์เฑาะดอกบัว อะอุมะ พิมพ์ใหญ่ กลาง เล็ก จำนวน 84,000 องค์ ซึ่ง “พระรัชชมงคลมุนี” ( พระมหารัชชมังคลาจารย์ ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ได้มอบให้ “พระชอบ สัมมาจารี” วัดอาวุธวิกสิตารามกรุงเทพฯ สร้าง เพื่อนำมาแจกในงานสมโภชพระประธาน โดยส่ง “ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณต่างๆเป็นแท่งๆ ประทับตรา “วัดสัมพันธวงศ์”ให้นำมาผสม โดยเรียก “พระนาคปรก” นี้ว่า “พระมงคลมหาลาภ” ซึ่งมีชื่อของท่านคือ “พระรัชชมงคลมุนี” อยู่ในชื่อพระด้วย ในพิธีนี้แม่ชีบุญเรือนได้อธิษฐานจิตร่วมอยู่ในพิธีด้วย ท่านพ่อลี ธัมมธโร วัดอโศกการาม จ.สมุทรปราการ องค์ประสานงานพิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ได้บอกศิษย์ว่า “พระผงนี้ดีมาก มีรังสี สีขาว และเหลืองกระจาย ออกสว่างไสว” นอกนั้น ท่านยังได้ขอพระผงมงคล มหาลาภที่ชำรุดประมาณ 1 บาตรพระ นำไปบดใส่ “พระใบโพธิ์เนื้อดิน พ.ศ. 2500” ของท่านด้วย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 กันยายน 2023
  7. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2175. พระผงสามสมเด็จ พระสมเด็จ สุคโต(พิมพ์ซุ้มลึก) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหารสร้าง-พุทธาภิเษก เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2517 ปิดรายการครับ



    upload_2023-9-5_12-38-12.png


    สมเด็จพระสังฆราชฯ สร้างเพื่อเป็นที่ระลึกที่ในหลวงเสด็จฯ เปลี่ยนฉัตรถวายพระพุทธชินสีห์ ณ วัดบวรนิเวศฯ สมเด็จสุคโต สร้างครบถ้วนตามโบราณประเพณี มีมวลสารมงคลมากมาย สมเด็จวังหน้า พระปิลันท์ สมเด็จวัดระฆังที่แตกหัก เส้นพระเกศาพระอาจารย์ฝั้น เป็นต้น

    วงการเรียกพระ 3 สมเด็จ เพราะ
    1)ผสมผงสมเด็จปิลันท์
    2)ผงสมเด็จโต
    3)สร้างโดย สมเด็จพระสังฆราชฯ
    และพระเถระสำคัญร่วมปลุกเสก เช่น หลวงปู่โต๊ะ เป็นต้น

    พระสมเด็จสุคโต วัดบวรปี2517 พิมพ์ใหญ่นิยม พระสมเด็จสุคโต ของพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก วัดบวรนิเวศวิหาร จัดสร้างเป็นที่ระลึก เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงยกนพปฎล พระมหาเศวตฉัตรที่เปลี่ยนใหม่ถวายพระพุทธชินสีห์ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 พระสมเด็จสุคโต เป็นพระสมเด็จ ที่มีการจัดสร้างอย่างครบถ้วนตามโบราณ ประเพณี เจตนาการสร้างบริสุทธิ์ องค์พระ จัดสร้างโดยมวลสารมงคลที่สำคัญมากมาย อาทิ นพปฎลมหาเศวตฉัตร พระศกพระพุทธสุวรรณเขต พระโคนสมอ พระสมเด็จวังหน้า พระปิลันท์ วัดระฆังพิมพ์ต่างๆ ที่ชำรุดแตกหัก พระกรุที่ชำรุด ได้แก่ พระนางพญา พระรอดมหาวัน พระผงสุพรรณ พระซุ้มกอ เส้นพระเกศาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ และเส้นเกศาของพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร เป็นต้น จึงทำให้วงการขนานพระนาม พระชุดนี้ว่าพระ 3 สมเด็จเนื่องจาก เป็นพระที่ผสมผงพระปิลันท์ ซึ่ง ประกอบด้วยผงสมเด็จโต และสมเด็จปิลันท์ ประกอบกับสร้างโดย สมเด็จพระสังฆราชฯ องค์ปัจจุบันของช่วงเวลานั้น ในครั้งนั้น คณะกรรมการวัดบวรนิเวศวิหารได้ดำเนินการจัดสร้างพระสมเด็จสุคโต โดยประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงเป็นองค์ประธานฯ ในพิธีดังกล่าว มีการอาราธนาพระเถระคามวาสี และพระเถระอรัญวาสีที่ทรงกิติตคุณในทางพระกรรมฐาน อาทิ
    1.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    2.พระอาจารย์ฝั้น วัดป่าอุทุมสมพร
    3.หลวงพ่อเกษม สุสานไตรลักษณ์
    4.หลวงปู่แหวน วัดแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    5.หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง
    6.หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
    7.หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่
    8.หลวงพ่อขาว วัดกลองเพล
    9.หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
    10.หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
    11.หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
    12.หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    13.หลวงพ่อสุด วัดกาหลง
    14.หลวงพ่อสงฆ์ วัดศาลาลอย
    15.หลวงปู่สี วัดถ้ำเขาบุญนาค
    16.หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    17.หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่
    18.หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์
    19.หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
    20.หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
    21.หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย
    22.ครูบาชุ่ม วัดวังมุ่ย
    23.หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
    24.หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
    25.หลวงปู่หลิว วัดไร่แตงทอง
    26.หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาครีรีเขตต์
    27.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
    28.หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดป่าอรัญญวิเวก
    29.หลวงพ่อนารถ วัดศรีโลหะ
    30.หลวงพ่อนำ วัดดอนศาลา
    31.หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง
    32.หลวงพ่อเขียว วัดทรงหลบน
    33.หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง
    34.หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ
    35.หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
    36.หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช
    37.หลวงพ่อเก๋ วัดปากน้ำ
    38.หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ
    39.หลวงพ่อเที่ยง วัดม่วงชุม
    40.หลวงพ่อครื้น วัดสังโฆ
    41.หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
    42.หลวงปู่ธูป วัดแคนางเลิ้ง
    43.หลวงพ่อตัด วัดชายนา
    44.หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง
    45.หลวงพ่อทองดำ วัดท่าทอง ฯลฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2024
  8. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2176. พระดีพิธีใหญ่ สมเด็จแหวกม่าน หลังพระพรหม รุ่นมงคลชีวิต ปลุกเสก 16 พิธี ปิดรายการครับ


    upload_2023-9-5_12-49-48.png

    upload_2023-9-5_12-49-55.png

    พระผง สมเด็จแหวกม่าน หลวงพ่อกวย พิมพ์สดุ้งกลับ หลังท้าวมหาพรหม รุ่นมงคลชีวิต ปี2554 มวลสาร ผงวิเศษต่างๆ พระเครื่องเก่า ดินกรุ ของอาถรรพ์เป็นมงคลที่หายาก ว่าน ผงจากกรุพระ สีผึ้งเก่าต่างๆ น้ำมันอาถรรพ์ ไม้งิ้วดำ ไม้กาหลง กาฝาก ไม้มงคล ปฐวีธาตุ ผงมงคลของพระเกจิมอญ ผงวิเศษของ ลป.กวย ผงเกจิคณจารณ์ทั่วประเทศ และอีกมากมาย
    ปลุกเสก 16ครั้ง
    1. พิธีปลุกเสกเดี่ยว โดย ลพ.เพี้ยน วัดเกริ่นกฐิน ลพบุรี เมื่อวันที่ 9/11/2553
    2. พิธีปลุกเสกใหญ่ในวันที่ 21/11 /2553 ที่วัดบ้านแค ชัยนาท โดยพระเกจิต่างๆคือ
    -หลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาปูน จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อหวล วัดพุทไธศวรรย์ จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อรวย วัดตะโก จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน จ.อยุธยา
    -หลวงพ่อเพ้ยีน วดั เกรนิ่ กฐนิ จ.ลพบุรี
    -หลวงพ่อพร้า วัดโคกดอกไม้ จ.ชัยนาท
    -หลวงพ่อเกาะ วัดท่าสมอ จ.ชัยนาท
    -หลวงพ่อเสน่ห์ วัดพันสี จ.อุทัยธานี
    -หลวงพ่อบุญมี วัดม่วงคัน จ.อ่างทอง
    3. พิธีปลุกเสกเดี่ยว โดย ลพ.สำราญ วัดสง่างาม อยุธยา เมื่อวันที่ 7/11/2553
    4. พิธีปลุกเสกเดี่ยว โดย พระมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่ อัมพวา เมื่อวันที่ 5/12/2553
    5. พิธีปลุกเสกเดี่ยว โดย หลวงปู่แผ้ว กำแพงแสน นครปฐม 6/12/2553
    6. พิธีปลุกเสก วัดเนินมหาเชษฐ ์สุพรรณบุรี 12/12/2553 มีพระเกจิดังนี้
    - หลวงพ่อเขียว วัดห้วยเงาะ
    - หลวงพ่ออั้น วัดโรงโค อุทัยธานี
    - หลวงพ่อสิริ วัดตาล
    - หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม
    - หลวงพ่อสืบ วัดสิงห์
    - พระครูสมุห์อวยพร วัดดอนยายหอม
    - หลวงพ่อปั่น เจ้าอาวาสวัดเนินมหาเชษฐ
    - หลวงพ่อสุนันท์ วัดป่าพระธาตุเขาน้อย จังหวัดราชบุรี (พระกรรมฐาน ศิษย์สาย ลป.เทศน์ เทศก์รังสี)
    - หลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดวรเชษฐ์นอกเกาะ ศิษย์สายพันเอกชม สุคันธรัต (ศิษย์หลวงพ่อองค์ดำพระในป่า)
    - พระเขมร ธุดงค์มาจากเขมร
    7. พิธีปลุกเสกเดี่ยว โดย หลวงพ่อเขียน วัดกระทิง จันทบุรี 16/12/2553
    8. พิธีปลุกเสกเดี่ยว วัดทุ่งตาอิน โดยพระป่า เกจิสายปฏิบัติ ศิษย์ท่านพ่อลีจันทบุรี 16/12/2553
    9.พิธีปลุกเสก วัดเนินสุทธาวาส จังหวัดชลบุรี วันที่ 25/12/2553 มีพระเกจิที่ร่วมปลุกเสกดังนี้
    - หลวงพ่อเกลี้ยง วัดเนินสุทธาวาส
    - หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร
    - หลวงพ่อชาญ วัดบางบ่อ
    - หลวงพ่อเขียน วัดกระทิง
    - พระอาจารย์เชย วัดระหารไร่
    10 หลวงพ่อเอื้อน วัดวังแดงใต้ ปลุกเสกเดี่ยว 28/12/2553
    11. พระอาจารย์สายชล วัดไร่แตงทอง จังหวัดนครปฐม 2/1/2554
    12. หลวงพ่อคิ้ม วัดหนองเสือยางปราสาท อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 2/1/2554 (หลวงพ่อจำนงค์และหลวงพ่อคิ้มต่าง
    บอกกับทีมงานตรงกันหลังจากเสกพระเครื่องและลูกอมชุดนี้ว่าเต็มแล้ว)
    13. หลวงพ่อสม วัดโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง 15/1/2554
    14. หลวงพ่อเสียน วัดมะนาวหวาน จังหวัดอ่างทอง 15/1/2554
    15. หลวงพ่อสุนทร วัดหนองสะเดา อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี 16/1/2554 – 20/1/2554
    16. พิธีปลุกเสกหมู่ วัดโฆสิตาราม ชัยนาท 21/1/2554(พิธีสุดท้าย) ประกอบด้วย
    -หลวงพ่อเพี้ยน วัดเกริ่นกฐิน ลพบุรี
    -หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม อยุธยา
    -หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว อยุธยา
    -พระอาจารย์สำราญ วัดสง่างาม
    -หลวงปู่นะ วัดหนองบัว ชัยนาท
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กันยายน 2023
  9. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2177. พระเนื้อดิน คุณแม่บุญเรือน พิมพ์วัดตะไกร สร้างประมาณปี 2499 ใปิดรายการครับ


    upload_2023-9-5_13-7-49.png

    พระชุดมงคลมหาลาภ ปี 2499 พิมพ์นางกวัก เนื้อดินเผา คุณแม่บุญเรือนเสก ผิวพระเดิมๆไม่ผ่านการใช้ พระชุดมงคลมหาลาภ ปี 2499 พิมพ์พุทธกวัก เนื้อดินเผา สร้างน้อย หายากครับ วัดสัมพันธวงศ์สร้าง ให้วัดสารนาถฯ จ.ระยอง องค์นี้ สภาพสวย ผิวเดิม ขนาดองค์พระ กว้าง 1.2 ซ.ม. สูง 1.8 ซ.ม. เมตตาสูงมาก โชคลาภดีเยี่ยม ขออ้างอิงข้อความจากหนังสืออนุสรณ์พระมงคลมหาลาภ วัดสารนาท จ.ระยองดังนี้ *** พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499 ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานครเป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ (และแบบอื่นๆอีกมาก) พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499 *** พระ รุ่นนี้ ปลุกเสกโดยคุณแม่บุญเรือน วัดอาวุธ และ คณาจารย์หลายท่านเช่น หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกลองเพล หลวงปู่ดุลย์ อตุโล วัดบูรพาราม หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ หลวง พ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นต้น ****ทั้ง นี้ ได้รับการปลุกเสก ซ้ำที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยองอีกครั้ง โดยนิมนต์พระสายระยอง และสายกรรมฐานเช่น หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง หลวง ปู่ทิม วัดละหารไร่ หลวงพ่อลี วัดป่าคลองกุ้ง อาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม โดย ทั้งหมดเพื่อจัดสร้างและสมโภชน์พระพุทโธภาสชิน ราชจอมมุนี ในขณะที่แม่ชีบุญเรือน เป็นประธาน จัด สร้างและคุมงานเอง แม่ชีบุญเรือนเป็นแม่ชีที่สำเร็จอภิญญาชั้นสูงเปี่ยมด้วยบุญฤทธิ์และอิทธิฤทธิ์ ท่านสามารถอธิษฐานจิตให้ต้นมะม่วงอ่อนออกดอกผลได้ในคืนเดียว แม้แมื่อมรณภาพอัฐฐิยังกลายเป็นพระธาตุ พระของท่านเซียนใหญ่หลายคนยังอาราธนาขึ้นคอเลยเพราะท่านเอาดินจากพระกรุเก่าๆที่ชำรุดและดอกผลของมะม่วงดังกล่าวมาสร้างพระเครื่องครับ ศักสิทธิ์มากๆ สร้าง 100000 องค์ ก็ไม่พอแจกครับ ปัจจุบันหายากครับ

    พระมงคลมหาลาภ พ.ศ.2499 ของวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นพระสมเด็จแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระพุทโธเล็ก พระวัดตะไกร และพระแบบวัดนางพระยา ฯลฯ พระเครื่องเหล่านี้สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่ วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อ.แกลง จ.ระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ 5-31 มีนาคม 2499นั้น บางท่านยังไปทราบประวัติที่ควรทราบ ซึ่งเป็นเหตุจะให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา เพื่อได้เคารพบูชาแนบแน่น สมกับเป็นปูชนียวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นมงคลเหตุเครื่องเจริญอายุ วรรณะ พละ แลลาภยศ สรรญเสริญ สมบัติเกียรติศักดิ์ แลคุณธรรม คือเป็นสือสำคัญที่ที่จะให้เข้าถึงอิฐผลนั้นๆ อันนับว่าเป็นกำลังอันยิ่งใหญ่สำหรับชีวิต สามารถให้ถึงภาวะอันเป็นอิสระเต็มที่ มีความเกษมนิรันดร เมื่อสร้างแจ้งให้ทราบแต่การประกอบพิธีบันจุพุทธมนต์ เป็นพิเศษที่ยิ่งใหญ่โดยสังเขป ซึ่งยังไม่เคยเห็นทำที่ไหน คือจัดที่บูชาพร้อมเครื่องสังเวยต่างๆมีเทียนธูป ข้าวตอก ดอกไม้7สี แลอาหารผลไม้ถึงอย่างละ 375 ที่มีเบญจา มีเศวตฉัตร 9 ชั้น สูง 6 ศอก 8 ต้น บายศรีเงิน-บายศรีทอง 9 ชั้น สูง 6 ศอก อย่างละ 8 ต้น บันจุพระพุทธมนต์ลงไปในน้ำ และผงที่จะสร้างพระนั้น โดยนิมนต์อาจารย์ ผู้มีชื่อเสียงหลายวัดทำพิธีประจุมนต์ เข้าพิธีปลุกเสกมีพระเกจิที่มีชื่อเสียงเช่น พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศวิหาร พระวรเวทย์คุณาจารย์ (เมี้ยน ปภสสโร) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระมหารัชชมังคลาจารย์ พระมงคลเทพมุนนี จนฺทสโร (สด มีแก้วน้อย) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระครูวินัยธรเฟื้อง (ญาณปปทีโป) หลวงพ่อลี วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ (ช่วยทำพิธีและประสานงานด้วย) พระสอาด อภิวัฑฒโน วัดสัมพันธวงศ์ พระครูนอ วัดกลางท่าเรือ อยุธยา พระอาจารย์บุ่ง วัดใหม่ทองเสน พระชอบ สัมจารี วัดอาวุธวิธกสิตาราม ธนบุรี เป็นต้น พร้อมด้วยบันจุเทพมนต์พรหมมนต์ โดยเชิญเทพแลพรหมผู้มีชื่อเสียงเก่าๆ มาเข้าพิธีอธิษฐานบันจุมนต์ลงด้วย และบันจุมนต์โยคีโดยโยคีฮาเร็บ (อาจารย์ชื่น จันทรเพ็ชร) ผู้มีชื่อเสียงและ พ.ต.อ.ชะลอ อุทกภาชน์ ผู้เป็นศิษย์เป็นผู้ทำพิธีบรรจุ เสร็จพิธีแล้ว จึงได้ใช้ผงประสมทำเป็น องค์พระได้มงคลฤกษ์ จึงได้ทำพิธีปลุกเสกพระเครื่องนั้นอีกครั้งหนึ่ง พระเครื่องที่จะทำพิธีปลุกเสกนั้น ห่อด้วยผ้าขาว 7 ชั้น ผ้าเขียว 7 ชั้น พิธีนอกนั้นเหมือนเมื่อเมื่อบันจุมนต์ลงในผงแลน้ำที่ จะสร้างพระ ตั้งน้ำมนต์สำหรับแจกผู้ที่ต้องการซึ่งมาร่วมพิธี 40 ตุ่ม แต่ไม่ได้กล่าวถึงผงที่นำมาประสมสร้างพระนั้นว่ามีอะไรบ้าง มีผู้สนใจต้องการทราบอยู่เป็นจำนวนมา จึงสมควรเขียนประวัติ เนื่องด้วยผงที่นำมาประสมสร้างพระเครื่องนั้น ให้ท่านทราบไว้ด้วย ดังต่อไปนี้ 1.ผงขอจากพระอาจารย์ต่างๆ ที่ท่านทำและรวบรวมไว้หลายวัด เช่น วัดพระเชตุพน วัดตรีทศเทพ และวัดสัมพันธวงศ์ ฯลฯ ผงแป้งที่ทำเลผงจากพระของเก่าบ้าง 2.ผงพระที่ทำด้วยว่านต่างๆ ที่นิยมว่าเป็นมงคลศักดิ์สิทธิ์ 108 อย่าง ทำจากดอกไม้บูชาพระต่างๆ 108 อย่าง 3.ผงที่ทำด้วยดินจากท่าน้ำ 7 ท่าและจากสระน้ำ 7 สระ 4.ผงที่ทำด้วยเอาคัมภีร์เก่าๆ ทั้งใบลานและสมุดข่อยมาเผาบด ตั้งแต่หมายเลข 1-5 นี้ประสมสร้างพระผงรุ่นก่อนแล้วเอามาบดผสมเข้ากัน กับผงใหม่ที่นำมาเข้าพิธีด้วย 5.ผงที่ได้จากดินสังเวยชนียสถาน 4 แห่งในอินเดียคือ 5.1 ดินที่ลุมพินีระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และเทวทหะ ซึงเป็นที่ประสูติของพระพุทธเจ้า 5.2 ดินที่มหาโพธิ์ พุทธคยาที่ตรัสรู้ 5.3 ดินที่สารนาถ มฤคทายวัน เมืองพาราณสี ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้า ทรงแสดงธรรมจักร 5.4 ดินที่กุสินารา ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าดับขันธปรินิพพาน 6.ดินจากสถานที่สำคัญ 9 แห่ง คือดินจากสถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จ เสวยวิมุตติสุข 7 แห่ง บริเวณพุทธคยา มีที่รัตนะจงกลม แลที่สระมุจลิน เป็นต้น แลดินที่พระคันธกุฏีที่ประทับของพระพุทธเจ้าที่บนเขา คิชกูฏ (เมืองราชคฤห์) ดินที่ที่พระคันธกุฏีที่ประทับในเมืองสาวัตถี ซึ่งพระครูสุภารพินิจ (โทน สุขพโล) วัดสัมพันธวงศ์ ได้ไปนมัสการปูชนียสถานนั้นๆ และได้นำมาเมื่อปี พ.ศ.2497 ผู้ที่มีพระเครื่องแบบพุทธมงคลมหาลาภ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นต้นไว้บูชา เป็นอันได้ระลึกถึงแลบูชา สังเวชนียสถาน 7.ผงปูนหินขาว ราชบุรี 8.ผงปูนซีเมนต์ขาว และนอกจากนี้ ก็ยังมีดินเหนียวอย่างดี สีเหลือง และน้ำอ้อยเป็นต้น ผงเหล่านี้นั้น ประสมกันมากบ้างน้อยมาก แล้วบดให้ละเอียดแร่งกรองด้วยผ้าป่าน สำเร็จเป็นผงที่จะสร้างพระเครื่องใช้น้ำมนต์ที่ทำไว้ นั้นประสมกับของที่จะทำพระให้ พระมีคุณภาพดี สวยงามทนทาน ศักดิ์สิทธิ์ต่อไป ประสมผงพิมพ์เป็นรูปพระพุทธมงคลมหาลาภบ้าง สมเด็จบ้าง ส่วนพระเครื่องอื่นสร้างด้วยดินประสมผงเผาแล้วนำมา เข้าพิธีปลุกเสกในคราวเดียวกันกับพระพุทธมงคลมหาลาภ เสร็จแล้วแจกจ่ายในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี พร้อมด้วยพระอัครสาวก ในการต่อมา พระเครื่องเหล่านี้ เมื่อแจกจ่ายแก่ผู้จำนงในงานผูกพัทธสีมา อุโบสวัดสารนาถธรรมารามแล้ว ก็จะได้จัดการทำบันจุในอุโบสถ หรือเจดีย์ตามสมควรเพื่อเป็นมิ่งขวัญแก่สารนาถธรรมาราม อันเป็นมหาปูชนียสถานในกาลต่อไปฯ พระมหารัชชมังคลาจารย์ ( เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ) ข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับพระมงคลมหาลาภ เป็นพระนาคปรกสี่เหลี่ยม เนื้อผงขาว (และส่วนผสมดังกล่าวแล้ว) ด้านหลังเป็นยันต์เฑาะดอกบัว อะอุมะ พิมพ์ใหญ่กลางเล็ก จำนวน 84,000 องค์ ซึ่ง “พระรัชชมงคลมุนี” (พระมหารัชชมังคลาจารย์) อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ได้มอบให้ “พระชอบ สัมมาจารี” วัดอาวุธวิกสิตาราม กรุงเทพฯ สร้าง เพื่อนำมาแจกในงานสมโภชพระประธาน โดยส่ง “ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณต่าง ๆ เป็นแท่ง ๆ ประทับตรา “วัดสัมพันธวงศ์” ให้นำมาผสม โดยเรียก “พระนาคปรก” นี้ว่า “พระมงคลมหาลาภ” ซึ่งมีชื่อของท่านคือ “พระรัชชมงคลมุนี” อยู่ในชื่อพระด้วย ในพิธีนี้แม่ชีบุญเรืยนได้อธิษฐานจิตร่วมอยู่ในพิธีด ้วย หลวงพ่อลี วัดอโศกการาม จ.สมุทรปราการ องค์ประสานงานพิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ ได้บอกศิษย์ว่า “พระผงนี้ดีมาก มีรังสี สีขาว และเหลืองกระจายออกสว่างไสว” นอกนั้น ท่านยังได้ขอพระผงมงคลมหาลาภที่ชำรุดประมาณ 1 บาตรพระ นำไปบดใส่ “พระใบโพธิ์เนื้อดิน พ.ศ. 2500”ของท่านด้วย ขนาดขององค์พระ พิมพ์ใหญ่ ฐานกว้างประมาณ 2.5-3.8 ซม. หนา 0.5 ซม. พิมพ์เล็ก ฐานกว้างประมาณ 2.2-2.5 ซม. หนา 0.5 ซม. ด้านหลัง มีตราวัดสัมพันธวงศ์ “เฑาะรัศมีดอกบัว อ.อุ.ม. ประทับลงในเนื้อเป็นตรารูปไข่ ขนาดของ ความหนาไม่แน่นอน หนาบ้าง บางเฉียบบ้าง แล้วแต่ขนาด พระพิมพ์นี้ คนระยอง คนจันทบุรี คนตราด อีกทั้งชาวประมงแถบภาคตะวันออก ห้อยองค์เดียวรู้ถึงพุทธคุณเป็นอย่างดีโดยเฉพาะช่วงท ี่มีใต้ฝุ่นเข้าแหลมตะลุมพุก ผู้ที่แขวนพระองค์นี้ลอยอย่างปาฏิหาริย์ จึงเป็นที่แสวงหากันมาก ข้อมูลจากคำบอกเล่าของท่านเจ้าคุณ พระราชรัชมงคลโกวิท พระราชรัชมงคลโกวิท เจ้าอาวาสวัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยอง องค์ปัจจุบัน เล่าว่า พิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ พระกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทตโต กว่าร้อยรูป มี พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์ลี วัดอโศการาม เป็นต้น ทำพิธีนั่งปรกพุทธาภิเษกพระประธาน และพระเครื่องต่าง ๆมีพระมงคลมหาลาภ พระพุทโธน้อย เป็นต้น โดยทำพิธี 18 วัน 18 คืน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2024
  10. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    ###Close
     
  11. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    พระดีในตำนาน พระเกจิผู้เป็นอาจารย์ หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน พระสังกัจจายน์ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงน้ำมัน ปี 2450 กรุวัดอัมพวา กรุงเทพฯ



    upload_2023-9-5_20-40-16.png

    พระเนื้อผงกรุวัดอัมพวา เป็นพระเนื้อผงที่มีพุทธคุณสูงทางด้านเมตตามหานิยม โชคลาภ และแคล้วคลาด มีประสบการณ์ต่างๆ มากมาย
    พระกรุนี้ได้สร้างขึ้นเนื่องในงานปฏิสังขรณ์วัดอัมพวา ประมาณ พ.ศ.2450 โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์) วัดอรุณฯ เป็นประธานในการพุทธาภิเษก และได้บรรจุพระทั้งหมดไว้ในองค์พระ เจดีย์ สำหรับพระพุทธโฆษาจารย์ฤทธิ์นั้น ท่านเป็นพระที่เชี่ยวชาญใน ด้านผงพุทธคุณ ซึ่งมีความศักดิ์สิทธิ์มาก พระเนื้อผงน้ำมันวัดอัมพวานี้ มวลสารวัสดุที่ใช้สร้างพระในสมัยนั้นก็นิยมใช้ปูนเปลือกหอย คลุกเคล้ากับผงวิเศษที่ได้จากการเขียนสูตร และ อักขระเลขยันตร์ ข้าวสุก ตลอดจนผงพุทธคุณที่เป็นมงคลอื่นๆ นำมาผสมคลุกเคล้ากันด้วยน้ำมันตังอิ๋วเป็นตัวประสาน แล้วจึงนำมากดพิมพ์เช่นเดียวกันกับการสร้างพระสมเด็จวัดระฆัง และพระวัดพลับที่วัดอยู่ไม่ห่างไกลกันนัก เนื้อพระกรุวัดอัมพวานี้ ค่อนข้างแก่น้ำมันตังอิ๋ว
    สำหรับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์) นั้น ท่านเชี่ยวชาญทางด้านวิปัสสนากรรมฐาน และด้านการทำผงพุทธคุณ เล่ากันว่าท่านเรียนมาจากสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ศิษย์ของท่านต่อมามีชื่อเสียงโด่งดังหลายรูป เช่น พระพิมลธรรม (นาค) วัดอรุณฯ พระอุปัชฌาย์คง วัดบางกะพร้อม หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน เป็นต้น
     
  12. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2178. ชุดวัตถุมงคล หลวงปู่แหวน สุจิณโณ อริยะสงฆ์แดนเหนือ ปี2516 ออกวัดสัมพันธวงศ์ ให้บูชาชุดละ 1250 บาท


    upload_2023-9-5_21-44-26.png




    upload_2023-9-5_21-44-31.png


    พระสมเด็จหลวงปู่แหวน ปี2516 และผงรูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวตม ออกวัดสัมพันธวงศ์
    พิธีปลุกเสกในวาระแรก ปี 2516
    -วัตถุมงคลชุดนี้มี พระพุทธรูปบูชาจำลอง ขนาด 5 นิ้ว 9 นิ้ว รวมพระเครื่องของหลวงปู่แหวน สุจินโณ ซึ่งได้อนุญาตให้ทางวัดสัมพันธวงศ์ (วัดเกาะ) จัดสร้างหลายชนิด เมื่อปี พ.ศ.2516
    -ปลุกเสกครั้งที่ 1 ในวันมาฆะบูชา 7 กุมภาพันธ์ ปี 2516
    -ปลุกเสกครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 หลวงปู่อายุครบ 7 รอบ 16 มกราคม ปี 2517
    พิธีมหาพุทธาภิเษกวาระที่ 2 หมายกำหนดการ ไว้ 3 วัน
    -ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก พระพุทธปฏิมาปรานประจำพระอุโบสถสร้างใหม่ ของวัดสัมพันธวงศ์, พระพุทธรูปบูชาจำลองหน้าตัก 5 นิ้ว 9 นิ้ว และพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระเกศพระพุทธปฏิมาประธาน โดยกราบทูลอาราธนา เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชเสด็จเป็นประธานประกอบพิธี กับได้ทูลเชิญพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ ยุคล เป็นประธานอำนวยการจัดงาน และทูลเชิญ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงษ์ประพันธ์ องค์อุปถัมภ์ของวัด เป็นประธานที่ปรึกษา
    ณ พระอุโบสถวัดสัมพันธวงศ์ (วัดเกาะ) กรุงเทพมหานครวันที่ 29 30 31 ธันวาคม พ.ศ. 2517
    กำหนดมหาพุทธาภิเษกเฉพาะวันที่ 30 ธ.ค. 2517
    -มีพิธีในวันจันทร์ที่ 30 ธ.ค. 2517 สมเด็จพระสังฆราช ทรงประกอบ พิธีจุดเทียนชัยมหาพุทธาภิเษก เวลา 20.36 นาฬิกา มีพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณ จากภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ รวม 60 รูป มานั่งปรกบริกรรมภาวนาปลุกเสกตลอดคืน มีดังนี้
    1.หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี (ชรามาก แผ่พลังเมตตาจิตมาในวันพิธี)
    2.หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ (ชรามาก แผ่พลังเมตตาจิตมาให้ในวันพิธี)
    3.พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโต วัดสิริสาลวัน อุดรธานี
    4.พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ วัดนิโครธาราม อุดรธานี
    5.พระอาจารย์บุญ ชินวโส วัดศรีสว่างแดนดิน สกลนคร
    6.พระอาจารย์จันทร์ เขมปปตโต วัดจันทาราม หนองคาย
    7.พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    8.พระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ วัดภูทอก หนองคาย
    9.พระอาจารย์ลี ฐิตธมโม วัดศรีชมพู สกลนคร
    10.พระอาจารย์แว่น ธนปาโล วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร
    11.พระอาจารย์อุ่น กลยาณธมโม วัดป่าบ้านโคก สกลนคร
    12.พระอาจารย์สุภาพ ธมมปญโญ วัดทุ่งสว่าง สกลนคร
    13.พระอาจารย์คล้าย ทานรโต วัดสุจินต์ประชาราม สกลนคร
    14.พระอาจารย์เตรียม ธมมธโร วัดสามัคคีธรรม สกลนคร
    15.พระอาจารย์เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า สกลนคร
    16.พระอาจารย์บุญมี ฐิตปุญโญ วัดประชานิยม สกลนคร
    17.พระอาจารย์ประสาร ปญญาพโล วัดคามวาสี สกลนคร
    18.พระอาจารย์บัว วัดป่าบ้านเสาเส้า อุดรธานี
    19.พระอาจารย์ปั่น ญาณวโร วัดพุฒาราม สกลนคร
    20.พระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก วัดโนนแสงทอง สกลนคร
    21.พระอาจารย์เกิ่ง วิทิโต วัดสามัคคีบำเพ็ญผล สกลนคร
    22.พระสังวรวิมลเถร (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
    23.พระวิบูลเมธาจารย์ (หลวงพ่อเก็บ) วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    24.พระครูสุตาธิการี (หลวงพ่อทองอยู่) วัดหนองพะอง สมุทรสาคร
    25.พระครูวิจารณ์สมถกิจ (จรัญ เขมจารี) วัดประชารังสรรค์ ศรีสะเกษ
    26.พระครูพิเนตสมณกิจ วัดประชารังสฤษฎ์ ศรีสะเกษ
    27.พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (หลวงพ่อจ้วน) วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี
    28.พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา กรุงเทพฯ
    29.พระครูญาณจักษ์(ปรมาจารย์ผ่อง จินดา) วัดจักรวรรดิ กรุงเทพฯ
    30.พระศีลขันธโสภณ (หลวงพ่อสนิท) วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    31.พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต กรุงเทพฯ
    32.พระอุดมสารโสภณ (ผาสุก) วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ
    33.พระญาณโพธิ (หลวงพ่อเข็ม) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
    34.พระครูวรพรตศีลขันธ์ (หลวงพ่อแฟ้ม) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
    35.พระสิรินันทมุนี (สนั่น) วัดพิตรพิมุข กรุงเทพฯ
    36.หลวงปู่ฟัก วัดวังไทรติ่ง ประจวบคีรีขันธ์
    37.พระครูประจักษ์ตันตยาคม (เฉลา) วัดคีรีภาวนาราม ระยอง
    38.พระอาจารย์พวง สุวีโร วัดป่าบ้านปูลู อุดรธานี
    39.พระอาจารย์แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    40.พระอาจารย์ศรีนวล สิริปญโญ วัดศรีไตรรัตนนิมิต อุดรธานี
    41.พระอาจารย์บุญมี วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี
    42.พระอาจารย์หนู สุจิตโต วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    43.พระครูสังฆรักษ์ (หลวงพ่อหิน) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ
    44.พระปัญญาพิศาลเถร (สงวน) วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
    45.พระธรรมภาณโศภน (สวัสดิ์) วัดปลดสัตว์ อ่างทอง
    46.พระพ่อสาม อภิญจโน วัดไตรวิเวการาม สุรินทร์
    47.พระพ่อศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม ร้อยเอ็ด
    48.พระสุทธิสารโสภณ(โสภณ) วัดศรีโพนแท่น เลย
    49.พระอาจารย์เปลี่ยน วัดบ้านปง เชียงใหม่
    50.พระชินวงศาจารย์(พุธ) วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา
    51.หลวงพ่อบุญ วัดบ้านนา ระยอง
    52.หลวงพ่อคร่ำ วัดวังหน้า ระยอง
    53.พระครูวิจิตรธรรมภาณี(สิงห์) วัดหนองบัว อุบลฯ
    54.พระอาจารย์เมือง พลวฑฺโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส กาฬสินธุ์
    หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ได้มรณภาพลงที่วัดดอยแม่ปั๋ง เมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2528 สิริอายุ 98 ปี
    มีผู้กล่าวถึงหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ว่าท่านสำเร็จเป็นพระอรหันต์ เปี่ยมล้นด้วยเมตตาธรรม และมีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่างๆ นานา หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ได้หยุดชีวิตธุดงควัตรของท่านเพื่อพำนักอย่างจริงจังในวัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ มีผู้นิยมเลื่อมใส และศรัทธาในวัตถุมงคลของท่านมาก พระเครื่องหลวงปู่แหวน ต่างก็พยายามหามาไว้เป็นสิริมงคลแก่ตัว เพราะต่างร่ำลือในความขลังจากการปลุกเสกของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
    พุทธคุณโดดเด่นในเรื่องเมตตามหานิยม ค้าขายเจริญรุ่งเรือง การเดินทางแคล้วคลาดปลอดภัย สยบสิ่งชั่วร้าย ต่างๆ


    รายการปูชนียวัตถุมงคลของหลวงปู่แหวนมีดังนี้
    1.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 5 นิ้ว สร้างจำนวน 1517 องค์ องค์ละ 700 บาท
    2.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 9 นิ้ว สร้างจำนวน 1000 องค์ องค์ละ 2,000 บาท
    3.เหรียญพระแก้วมรกต (มณีรัตนะ) ชนิดทองคำจำนวน 84 เหรียญจัดเป็นชุดมีทองคำ เงิน นวะ ทองแดง 1,200 บาท
    -ชนิดเหรียญเงิน 100 บาท
    -ชนิดนวโลหะ 50 บาท
    -ชนิดทองแดงชุบทอง 10 บาท
    4.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวบาน บรรจุเกศา ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์สำหรับจัดเป็นชุดๆละ 5,000 บาท
    -ชนิดเงินบรรจุเกศา องค์ละ 300 บาท
    -ชนิดนวโลหะบรรจุเกศา องค์ละ 200 บาท
    -ชนิดเนื้อชินชุบทองอัดพลาสติก องค์ละ 85 บาท
    5.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวตม บรรจุเกศาชนิดผง องค์ละ 50 บาท
    6.พระสมเด็จพิมพ์พิเศษมหาพุทธานุภาพ องค์ละ 50 บาท
    7.พระสมเด็จมหาสิทธิโชค องค์ละ 40 บาท
    8.พระสมเด็จผงใบลานชาญวิทยา องค์ละ 20 บาท
    9.พระสมเด็จพิมพ์หูบายศรีมีเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
    10.พระสมเด็จพิมพ์หูยานอยู่ยงคงกระพัน องค์ละ 20 บาท
    11.พระสมเด็จพิมพ์ปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 20 บาท
    12.พระสมเด็จพิมพ์ซุ้มทรงยันต์กันภัย องค์ละ 20 บาท
    13.สมเด็จพิมพ์นางพญามหาเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
    14.สมเด็จทุ่งเศรษฐีทวีทรัพย์ องค์ละ 20 บาท
    15.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 10 บาท
    16.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 10 บาท
    17.พระสมเด็จพิมพ์ทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 20 บาท
    18.พระรอดปลอดภัยอันตราย องค์ละ 20 บาท
    19.พระซุ้มกอหลวงปู่แหวนแสนสุข องค์ละ 10 บาท
    20.เหรียญพระประธานยุคเชียงแสนวัดดอยแม่ปั๋ง ฉลองอายุ 84 ปี เหรียญละ 20 บาท
    21.เหรียญเพิ่มยศของอดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ เสก 1ไตรมาส เหรียญละ 20 บาท
    22.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวนยืนหลังรางปืน ฉลองอายุ 84 ปี ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์ จัดชุดละ 2,500 บาท
    -ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
    -ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
    -ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 30 บาท
    23.เหรียญมหามงคล (พระมหารัชชมังคลาจารย์)
    -ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
    -ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
    -ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 20 บาท
    24.รูปหล่อโลหะหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 5 นิ้ว องค์ละ 500 บาท
    25.ตราวัด สำหรับกลัดเนคไท หลวงปู่แหวน สุจิณโณ อันละ 100 บาท
    26.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
    ชนิดกลมใหญ่
    -ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 150 บาท
    -ชนิดเนื้อนวโลหะ เหรียญละ 70 บาท
    -ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 30 บาท
    ชนิดกลมเล็ก
    -ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 100 บาท
    -ชนิดเนื้อโลหะ เหรียญละ 40 บาท
    -ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 20 บาท
    27.เหรียญสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน เหรียญละ 100 บาท

     
  13. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    สวัสดียามเช้าครับ
     
  14. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2179. พระสังกัจจายน์ พิมพ์ใหญ่ ยุคต้น (หายาก) เนื้อว่านสิริมหากาฬ พระอาจารย์นก เทพเจ้าแห่ง วัดเขาบังเหย จ.ชัยภูมิ ให้บูชา 750 บาท



    upload_2023-9-7_10-38-40.png

    พระสังกัจจายน์(เนื้อว่าน) ปี2546 พระอาจารย์นก วัดเขาบังเหย อีกหนึ่งสุดยอดพุทธคุณด้านเมตตาสูงมากๆ เจรจา ค้าขายเป็นเลิศ สภาพสวยๆใบหน้าคมชัด เนื้อว่านสวยจัดจ้าน มวลสารและเกศาเยอะมากๆครับ ถือเป็นอีกหนึ่งวัตถุมงคลยุคต้นหายากพบเจอน้อย
     
  15. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2180.พระสมเด็จ ครูบาอิน อินโท วัดฟ้าหลั่ง หลังยันต์ฟ้าฟีก หัวใจไจยะเบงชร เนื้อพิเศษโรยผงตะไบพระกริ่งไจยะเบง,แบงค์เสก ,พลอยเสก เกศา หายาก ให้บูชา 799 บาท


    upload_2023-9-7_10-48-46.png

    สมเด็จไจยะเบงชรเนื้อผงพุทธคุณ
    วัตถุมงคลอันทรงคุณค่าที่จัดสร้างมาในช่วงปลายๆก่อนหลวงปู่ครูบาอิน อินโท หรือ "ครูบาฟ้าหลั่ง" จะละสังขารไปไม่กี่ปี วัตถุมงคลรุ่นท้ายๆถึงแม้จะจัดสร้างมาในช่วงหลังๆจึงเสมือนเป็นมรดกทางวัตถุ ธรรมที่หลวงปู่ครูบาอินท่านได้ฝากไว้ให้ศิษย์ได้ระลึกนึกถึงท่าน สร้างพร้อมกับพระกริ่งไจยะเบงชรอันโด่งดัง ฟ้า ฟีก ยันต์หัวใจแห่งไชยเบงชร(ไจยะเบงจร) หรือ ชินบัญชร พระคาถาอันศักดิ์สิทธิ์ยิ่งยวด ใช้ป้องกันและเสริมความเป็นมงคลได้ทุกด้าน ยันต์ฟ้าฟีกหรือคาถาหัวใจไชยเบงชรที่ว่า "ระตะนังปุระโตอาสิ"
    ในวัฒนธรรมความเชื่อล้านนาเป็นคาถาที่ใช้อย่างแพร่หลาย แม้แต่ ครูบาเจ้าศรีวิไชย สิริวิชโย ต๋นบุญแห่งล้านนายังใช้เป็นยันต์ประจำตัวองค์ท่าน มีคุณด้านกันและปัดเป่าสรรพอันตรายเภทภัยต่างๆให้ออกไปจากตัวตน บ้านเรือน เมืองนคร เวลายามจะเกิดลมหลวงหรือพายุชาวบ้านชาวเมืองผู้มีวิชาจะใช้คาถานี้ในการไล่ ลมฝนฟ้าให้ห่างไปจากบ้านของตน ยันต์นี้ยังทำเป็นแผ่นติดเสาเรือนเพื่อกันไฟไหม้และกันฟ้าผ่าได้ฉมังยิ่งนัก ฟ้า ฟีก ตาลหิ้น
    ยันต์ฟ้าฟีก หรือคาถาตาลหิ้น เป็นการดึงเอาหัวใจของพระคาถาไจยะเบงชร ออกมา 8 อักขระ ว่าดังนี้ "ระตะนัง ปุระ โต อาสิ" มาเขียนย่อเป็นยันต์ลงในแผ่นกระดาษหรือแผ่นผ้าขนาดสี่เหลี่ยมสำหรับติดที่ ปลายเสาดั้งของบ้านเรือน โบสถ์ วิหาร เพื่อป้องกันฟ้าผ่า ไฟไหม้ เรียกว่า ยันต์หัวเสาบ้าง ยันต์เสาดั้งบ้าง ยันต์ฟ้าฟีกบ้าง การลงอักขระมีหลากหลายรูปแบบ บางครั้งก็ลงเป็นรูปตารางสี่เหลี่ยม 9 ช่อง เวลาลงอักขระให้ลงเป็นตารางแบบม้าย่อง ตรงกลาง บางตำราก็ลง "ติ" บางตำราก็ลงเป็นตัวเลขล้านนา บางตำราก็ลงเป็นองค์พระ ( โอม , อุนาโลม ) อันนี้ก็แล้วแต่ว่าครูบาอาจารย์สืบสายตำรามากันอย่างไร อีกแบบหนึ่งเป็นรูปวงกลม ซ้อนกันหลายวง ตัดแบ่งเป็นช่องๆ ลงอักขระที่แตกต่างกัน นิยมทำเป็นยันต์หัวเสา ยันต์ฟ้าฟีก เป็นยันต์ที่เชื่อว่า มีฤทธิ์ ป้องกันบรรเทาภัยจาก ฟ้า ฝน ลมพายุได้ ตามความเชื่อโบราณ ว่ากันว่า เวลาเกิด "ฝนตกใหญ่ลมหลวง" ฝนฟ้าคะนองและมีพายุพัดแรงจัด ต่างคนก็ต่างมีวิธีป้องกันบ้านเรือน บ้างก็นำเอาจวัก ช้อน ชามไปแขวนบริเวณหน้าบ้าน บ้างก็เอามีดไปขัดประตู หน้าต่างแทนกลอน หรือไม่ก็เอามีดไปแทงทะลุเสียบคารอยฝาแตกให้ปลายมีชี้ไปทางทิศที่ลมมาถือว่า เป็นการ "แทงลม" บ้างก็เอามีดไปเสียบขัดไว้ที่ข้างฝา บ้างใช้มีดขัดกลอนประตูหน้าต่างนัยว่าเป็นการขัดหรือฝืนลม บางแห่งให้ลูกหลานไปซื้อเหล้าโรงมาประกอบพิธีไล่ลมที่เรียกว่า "ม้าเหล็กไล่ม้าลม" โดยนำเขียงไปวางที่ชานเรือน พ่อเจ้าเรือนจะถือมีดด้วยมือซ้าย กลั้นลมหายใจสับมีดอย่างแรงให้มีดสับคาเขียงและปลายมีดชี้ไปทางทิศที่ลมมา แล้วเสกเหล้าด้วยมนต์ "คาถาฟ้าฟีก" (ฟีก = หลีก) ว่า "ระตะนัง ปุระโต อาสิ" อมแล้วพ่นไปที่มีดพร้อมให้ลูกหลานตบมือส่งเสียงโห่ร้องว่า "เอ้าๆ ม้าเหล็กไล่ม้าลม..เอ้า ๆ ?เฮ้!ๆๆๆ" ... (อ.สนั่น ธรรมธิ เขียนไว้ครับ) แล้ว เหตุใด จึงมีชื่อว่าคาถาตาลหิ้น...???...
    มีเรื่องเล่าแบบมุขปาถะ เรื่องหนึ่งว่า... ในแคว้นล้านนาสมัยของเจ้าหนานติ๊บจ๊าง (ทิพย์ช้าง) ต้น ตะกูล ทิพย์ช้างเชื้อเจ้าเจ็ดตน หลักฐานยังอยู่ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ท่านเป็นปู่ของ เจ้าชีวิตอ้าว เจ้าหลวงเชียงใหม่ ตามประวัติว่า ถ้าท่านอุทานว่า "อ้าว" เมื่อไหร่ต้องจับประหารเมื่อนั้น หนานติ๊บจ๊างมีอาจารย์อยู่ท่านหนึ่ง ซึ่งท่านนับถือมากเป็นคนประสิทธิประสาทคาถาทั้งหลายทั้งมวลให้ (เข้าใจว่าเป็น พระมหาเถรวัดชมพู) วันหนึ่งท่านเรียกหนาน เข้าไปหาและบอกว่าจะให้ของดี มันเป็นคาถา แต่ไม่มีชื่อเรียก มี 8 คำ เมื่อเจ้าหนานท่องจนขึ้นใจแล้วก็จะทดสอบความขลัง จึงให้ทหารเอาปืนมาอยู่ใต้ต้นตาล ให้มากที่สุด จากนั้นเจ้าหนานก็ขึ้น ไปอยู่ยอดต้นตาล แล้วสั่งให้ทหารยิง ยิงเท่าไหร่ก็ไม่ถูกเจ้าหนานจนต้นตาลปลายด้วนหมด เจ้าหนานเลยตั้งชื่อ คาถาบทนี้ ว่า ยอดตาลหิ้น นั่นเอง .... อย่างที่ออกตัวไว้ตั้งแต่ต้น นี่เป็นเพียงเรื่องเล่าต่อๆ กันมา ไม่สามารถหาหลักฐานใดๆ ยืนยันได้ กล่าวโดยสรุปก็คือ ยันต์นี้ ถือเป็นยันต์ที่มีอานุภาพ มากเรื่องแคล้วคลาด ป้องกันภัย ภยันตรายต่างๆ และเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ครูบาอาจารย์ทางเหนือใช้กันมาก

     
  16. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2181. สมเด็จสุคโต วัดบวรนิเวศ ปี ๒๕๑๗ สร้างแจกในวโรกาศที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จเปลี่ยนเศวตฉัตรองค์พระศาสดาที่วัดบวรเมื่อปี ๒๕๑๗ ปิดรายการครับ


    upload_2023-9-7_12-45-23.png
    พระรุ่นนี้มีสองพิมพ์คือ พิมพ์มีซุ้มและพิมพ์พระสมเด็จ ได้เข้าพิธีปลุกเสกหมู่จากพระเกจิอาจารย์ทั้งสายธรรมยุตและมหายาน
    พระสมเด็จสุคโต พิมพ์ใหญ่ สมเด็จพระญาณสังวรฯ วัดบวรฯ ปลุกเสก ปี 2517
    จัดสร้างเป็นที่ระลึก เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงยกนพปฎล พระมหาเศวตฉัตร ที่เปลี่ยนใหม่ถวายพระพุทธชินสีห์ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2517
    ในครั้งนั้น คณะกรรมการวัดบวรนิเวศวิหารได้ดำเนินการจัดสร้างพระสมเด็จสุคโต โดยประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งเป็นพระสมเด็จ ที่มีการจัดสร้างอย่างครบถ้วนตามโบราณประเพณี เจตนาการสร้างบริสุทธิ์
    องค์พระจัดสร้างโดยมวลสารมงคลที่สำคัญมากมาย อาทิเช่น นพปฎลมหาเศวตฉัตร , พระศกพระพุทธสุวรรณเขต , พระโคนสมอ , พระสมเด็จปิลันทร์พิมพ์ต่างๆ ที่แตกชำรุด , เส้นพระเกศาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ , เส้นพระเกศาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส,เส้นพระเกศาสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ และเส้นพระเกศาอาจารย์ฝั้น อาจาโร จ.สกลนคร
    โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ สมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นองค์ประธานฯ ในพิธีดังกล่าว มีการอาราธนาพระเถระคามวาสี และพระเถระอรัญวาสีที่ทรงกิติตคุณในทางพระกรรมฐาน อาทิ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี เป็นต้น ในวงการขนานพระนาม พระชุดนี้ว่า พระ 3 สมเด็จ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2024
  17. sunmk

    sunmk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    1,144
    ค่าพลัง:
    +922
    จอสมเด็จสุคโตพิมพ์ลึก
     
  18. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    รับทราบการจองครับ ขอบคุณมากครับ
     
  19. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2182. พระดีพิธีใหญ่ สมเด็จพระอุณาโลม ทรงจิตรลดา พศ.๒๕๑๙(พิมพ์ใหญ่) ให้บูชา 1450 บาท


    upload_2023-9-7_17-24-50.png

    สภาการศึกษามหามงกุฎราชวิทยาลัย จึงได้คิดสร้างพระผงสมเด็จนางพญาขึ้น โดยกำหนดแบบพิมพ์และขนาด " พระจิตรลดา " ทุกประการ เพื่อสนองพระราชปารภนั้น ด้วยการนำผงพระราชทานและผงศักดิ์สิทธิ์ 199 ชนิด มาผสมกับกระเบื้องหลังคาพระอุโบสถดังกล่าว จะได้นำความกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธีพุทธา ภิเษก ในวันที่ 5 - 12 กค. พ.ศ.2519 จัดหาทุนก่อตั้งเป็นมูลนิธิเพื่อหาดอกผลมาบำรุงการศึกษาของคณะสงฆ์ทั้งนี้ สืบเนื่องจาก เมื่อปี 2516 ได้มีการก่อตั้งวิทยาลัยสงฆ์ ณ จังหวัดอยุธยามีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นทุ่งนา ปราศจากต้นไม้ น้ำท่วมทุกปีทั้งยังมีปัญหาน้ำดื่ม ที่ขาดแคลน ปัญหาการบิณฑบาต เนื่องจากวิทยาลัยอยู่ห่างจากหมู่บ้าน ในการนี้ ทางมูลนิธิจึงได้คิดสร้างพระสมเด็จนางพญาขึ้นจำนวนหนึ่ง เพื่อหารายได้มาช่วยในวัตถุประสงค์ดังกล่าว เพื่อสร้างเป็นพระผงรายได้จากศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ครั้งนี้ จะนำไปจัดตั้งเป็นทุนมูลนิธิเพื่อหาดอกผลมาบำรุงการศึกษาของคณะสงฆ์ ตามโครงการ ดังนี้
    การสร้างวัตถุมงคล หรือการประกอบพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลที่ปัจจุบันดูจะหายากสักหน่อยที่จัด พิธีอย่างใหญ่โต เต็มไปด้วยความเข้มขลังของพระเกจิอาจารย์ที่ปลุกเสก อย่างเช่นในพิธีพุทธาภิเษกพระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา พระเครื่องที่จัดสร้างขึ้นพร้อมกับพระสมเด็จนางพญา สก. อันโด่งดังเมื่อปี พ.ศ.2519
    ที่ว่าพิธีดีนั้นดีอย่างไร ครั้งนั้นได้จัดให้มีการประกอบพิธีพุทธาภิเษก ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหาร ถึง 7 วัน 7 คืน ระหว่างวันที่ 5-12 กรกฎาคม พ.ศ.2519 มีพระเกจิอาจารย์ดังปลุกเสกหลายรูป โดยเฉพาะ "หลวงปู่โต๊ะ" ได้มาร่วมปลุกเสกถึง 5 วันด้วยกัน ประกอบด้วย
    1. พระครูสันติวรญาณ (สิม) วัดถ้ำผาปล่อง จ.เชียงใหม่
    2. พระเทพวราลังการ วัดป่าสุทธาวาส จ.เลย
    3. พระญาณสิทธาจารย์ วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม จ.นครราชสีมา
    4. พระอาจารย์อ่อน วัดโพธาราม จ.อุดรธานี
    5. พระสุทธสารโสภณ วัดศรีโพนแท่น จ.เลย
    6. พระอาจารย์เปลื่อง วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    7. พระสังวรวิมลเถร (โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
    8. พระโพธิสังวรคุณ (ไพฑูรย์) วัดโพธินิมิต กรุงเทพฯ
    9. พระครูสารธรรมนิเทศ (มา) วัดวิเวกอาศรม จ.ร้อยเอ็ด
    10. พระอาจารย์สี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม
    11. พระราชธรรมานุวัตร (อ่อน) วัดประชานิคม จ.กาฬสินธุ์
    12. พระครูศีลขันธสังวร (อ่อนสี) วัดพระงาม จ.หนองคาย
    13. พระครูทัศนปรีชา (ขม) วัดป่าบ้านบัวค่อม
    14. พระอาจารย์สาม อกิญจโน วัดไตรวิเวการาม จ.สุรินทร์
    15. พระครูญาณปรีชา (เหรียญ) วัดป่าอรัญญบรรพต จ.หนองคาย
    16. หลวงพ่อจ้อย วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี
    17. พระอาจารย์หัวพา วัดป่าพระพนิต จ.หนองคาย
    18. พระชินวงศาจารย์ (พุธ) วัดป่าสาลวัน จ.นครราชสีมา
    19. พระครูวิบูลย์ธรรมภาณ (โชติ) วัดภูเขาแก้ว จ.อุบลราชธานี
    20. พระครูวินิตวัฒนคุณ วัดบ้านนาเจริญ จ.อุบลราชธานี
    21. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม จ.สกลนคร
    22. พระอาจารย์สมชาย วัดราษฎร์บุรณคุณาคาม (เขาสุกิม) จ.จันทบุรี
    23. พระรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลยก์ฯ จ.สุพรรณบุรี
    24. พระศีลขันธโสภณ (สนิท) วัดศีลขันธาราม
    25. พระครูโกวิทสมุทรคุณ (เนื่อง) วัดจุฬามณี จ.สมุทรสงคราม
    26. พระญาณจักษุ (ผ่อง) วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพฯ
    27. พระครูโสภณกัลยาณวัตร (เส่ง) วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ
    28. พระราชธรรมวิจารณ์ (ธูป) วัดสุนทรธรรมทาน (วัดแคนางเลิ้ง) กรุงเทพฯ
    29. พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (สา) วัดราชนัดดาราม กรุงเทพฯ
    30. หลวงพ่อซ่วน วัดพนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    31. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมมงคลคีรีเขต จ.ขอนแก่น
    32. พระอาจารย์ไสว สุวโร วัดป่าสิริสาลวัน จ.อุดรธานี
    33. หลวงปู่จันทร์ วัดป่ามะขาม
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตลดา เป็นพระเครื่องเนื้อผงทรงสามเหลี่ยม ด้านหน้าเป็นพระพุทธปฏิมากรปางสมาธิ มีพุทธลักษณะที่คล้ายกับพระสมเด็จจิตรลดาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง สร้าง ส่วนด้านหลังมียันต์อักขระตัวอุณาโลม จึงเป็นที่มาของการเรียกขานชื่อพิมพ์สมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา
     
  20. HMMAmulet626

    HMMAmulet626 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2010
    โพสต์:
    8,337
    ค่าพลัง:
    +468
    2183.พระวัดสรรเพชญ จัดสร้างโดย พระอาจารย์ทองเจือ ธัมมธีโร วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ และ คุณหมอสุพจน์ ศิริรัตน์ ได้รับอนุญาต จากท่านเจ้าคุณนรฯ ให้สร้างเพื่อหาทุนสร้างพระอุโบสถวัดสรรเพชญ นครปฐม ปิดรายการครับ


    upload_2023-9-7_21-12-58.png

    พระรุ่นนี้มีหลายพิมพ์ด้วยกัน แต่ที่เด่นๆ คือ
    1. พิมพ์ประทานพร เป็นพระเนื้อผงรูปห้าเหลี่ยม องค์พระนั่งยกมือประทานพร ด้านหลังปั๊มตรายางเป็นยันต์องค์พระ และมีภาษาไทยกำกับอยู่ข้างล่างว่า “ สุโข วิเวโก ”
    2. พิมพ์สมาธิซุ้มเรือนแก้ว เป็นพระเนื้อผงรูปห้าเหลี่ยม ขนาดใหญ่กว่าพิมพ์ประทานพรเล็กน้อย องค์พระนั่งสมาธิในซุ้มเรือนแก้วเหนืออาสนะบัวคว่ำบัวหงาย ด้านหลังปั๊มตรายางองค์พระและมีภาษาไทยเขียนไว้ข้างใต้ว่า “ ธมฺมวิตกฺโก ”
    3. พิมพ์สมเด็จ สร้างไว้หลายแบบ บางพิมพ์มีไม่ถึง 100 องค์ เช่น พิมพ์จันทร์ลอย พิมพ์สาม เหลี่ยมหน้าหมอน

    มวลสารประกอบด้วย
    1. เส้นเกศาเจ้าคุณนรฯ และผงเสกไตรมาสวัดวิเวกวนาราม (ประมาณปี๊บครึ่ง)
    2. ผงลบถม 12 คัมภีร์ ของ อ.รอด สุขเจริญ ได้แก่
    - ผงปถมัง - ผงอิทธิเจ
    - ผงมหาราช - ผงสุกิตติมา
    - ผงนอโม - ผงอาการวัตตาสูตร
    - ผงอิติปิโสรัตนมาลา - ผงธรรมคุณ
    - ผงสังฆคุณ - ผงพระสิวลี
    - ผงพาหุง - ผงนะ 108
    3. ผงศิลาธิคุณ หรือ ผงฤาษีผสม ที่เขาเจียก ดีทางรักษาโรค เมตตา มหานิยม แคล้วคลาด
    4. ผงดินสอฤาษี (สีเหลือง) มีอานุภาพทางเมตตา มหานิยม แคล้วคลาด
    5. ผงจันทรประภา ทำได้เฉพาะในคืนวันเพ็ญ เดือน 12 ที่ตรงกับวันจันทร์เท่านั้น มีอานุภาพทางมหาเสน่ห์ เมตตา มหานิยม อย่างเอกอุ
    6. ผงสุริยประภา ผงนี้ทำจากกะลามะพร้าวตาเดียวแกะเป็นรูปราหูอมจันทร์นำมาเสกแล้วเผาตำ ให้เป็นผง และต้องทำในวันที่เกิดสุริยุปราคาเท่านั้น ผงนี้มีอิทธิคุณทางกันภัยและโชคลาภ
    7. แร่ศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ เช่น
    - แร่เกาะล้าน ดีทางแคล้วคลาด คงกระพัน กันอสรพิษ
    - แร่นกกาสัก (ขี้นกกาสัก) พบมากที่ อ.อู่ทอง สุพรรณบุรี
    ตามตำนานกล่าวไว้ว่า แร่นี้เกิดจากพระฤาษีได้สร้างนกกาสักขึ้นด้วยอาคม แล้วให้นกนี้ไปกินแร่ที่ศักดิ์สิทธิ์ตามที่ต่างๆ แล้วถ่ายออกมาเป็นแร่นี้ มีคุณทางคงกระพันและแคล้วคลาด
    - สะเก็ดดาว หรือ อุลกมณี
    - แร่เขาสารพัดดี อยู่บนเทือกเขาสารพัดดี ชัยนาท วันดีคืนดีจะได้ยินเสียงดนตรีประโคมดัง
    - แร่เขาสามยอด
    8. พลอยเมืองจันทบุรี
    9. น้ำมันหอม 9 กลิ่น ลพ.จ่าย วัดรุ้ง ที่ท่านเสกจนเดือด
    10. ผงลพ.สด วัดปากน้ำ และผงพระวัดปากน้ำ รุ่น 1-3 ที่แตกหักชำรุดจำนวนมาก
    11. ผงพระชุดเบญจภาคีที่ชำรุดแตกหัก
    12. ผงพระกรุเก่าจากที่ต่างๆ ทั่วประเทศ
    13. กระเบื้องโมเสค หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร
    14. ผงพระสมเด็จวัดสามปลื้ม

    การกดพิมพ์ กระทำโดยพระเณรในวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ โดยในขณะกดพิมพ์จะต้องภาวนาว่า “ พระสัมมา อรหัง จุติ ”

    เมื่อเสร็จเป็นองค์พระเรียบร้อยแล้วก็นำใส่กล่องห่อด้วยผ้าขาวนำไปให้ท่านเจ้าคุณนรฯ ท่านอธิษฐานจิต แต่ท่านเจ้าคุณนรฯ กลับตอบว่า “ ในพรรษานี้จะไม่มีการปลุกเสกพระใดๆ (ที่วัดเทพศิรินทร์) ทั้งสิ้น ขอให้คุณนำกลับไปไว้ ณ ห้องชั้นบนโรงเรียนภาวนานุสรณ์ พร้อมจัดตั้งอาสนะไว้ เวลา 2 ทุ่มตรง ให้จุดเทียนชัยและธูป อาตมาจะสวดมนต์แผ่เมตตาไปให้ "

    พุทธาภิเษก 2 วาระ
    วาระที่ 1 ที่วัดชิโนรส กทม. มี หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี , หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม , หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ ร่วมปลุกเสก
    วาระที่ 2 อธิษฐานจิตเดี่ยวโดยท่านเจ้าคุณนรฯ ซึ่งท่านได้เมตตาปลุกเสกให้ถึง 3 วาระ ด้วยกัน คือ
    1) ท่านเจ้าคุณนรฯ ได้เมตตาปลุกเสกผงวัดวิเวกวนารามให้ตลอดไตรมาสเมื่อ ปี 2511
    ซึ่งท่านได้กล่าวไว้ว่า
    เมื่อสร้างเป็นพระเครื่องแล้ว ไม่จำเป็นต้องนำมาให้ท่านปลุกเสกอีกก็ได้ เพราะผงนี้เป็นผงวิเศษที่ดีอยู่แล้ว
    2) ปลุกเสกโดยญาณ โดยท่านเจ้าคุณนรฯ ได้สั่งให้พระอาจารย์ทองเจือ จัดอาสนะไว้ให้ท่านเพื่อปลุกเสกให้
    ซึ่งเมื่อได้จุดธูปเทียนบอกกล่าวนิมนต์ท่านแล้ว ก็มีปาฏิหาริย์เกิดขึ้นทันที คือ
    เปลวเทียนที่จุดไว้ลุกสว่างจ้าขึ้น และเอนลู่ไปคล้ายมีลมพัดอย่างแรง
    ทั้งๆ ที่ขณะนั้นประตูห้องทุกบานและหน้าต่างปิดหมด
    ซึ่งพระอาจารย์ทองเจือได้ทำแบบนี้ตลอดพรรษาปี 2513
    3) พิธีพุทธาภิเษก ณ วัดเทพศิรินทร์ กทม. เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2513 ซึ่งเป็นการอธิษฐานจิตเดี่ยวครั้งใหญ่และเป็นสุดท้ายของท่านเจ้าคุณนรฯ
    ซึ่งเมื่อท่านอธิษฐานเสร็จท่านได้เปล่งเสียงออกมาดังๆว่า
    “ พระเมตตา พระมหานิยม พระอุดมลาภ พระมหาลาภ พระมหาอุด พระแคล้วคลาด พระคงกระพันชาตรี พระล่องหนหายตัวได้ ”

    หลวงปู่เพิ่ม วัดสรรเพชญ ท่านมีความสนิทสนมกับ หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม มานาน
    ทั้งได้แลกเปลี่ยนวิชาความรู้กันตลอดตั้งแต่ตอนที่ท่านเพิ่งย้ายมาอยู่วัดสรรเพชร(สรรเพชญ) ถ้ามีลูกศิษย์จากอำเภอสามพราน นครปฐมไปกราบไปขอของดีจากหลวงพ่อเงิน หลวงพ่อเงินท่านจะบอกว่า ไม่ต้องมาไกลหรอก หลวงปู่เพิ่ม วัดสรรเพชร ท่านก็เก่งไม่เบาเลยทีเดียว อีกทั้งหลวงปู่เพิ่มยังได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนทดลองวิชากับ หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ อีกด้วย รวมทั้งได้รับนิมนต์เข้าร่วมพิธีปลุกเสกหมู่ของทางวัดกลางบางแก้วหลายครั้งเลยทีเดียว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กันยายน 2023

แชร์หน้านี้

Loading...