อิสระบริสุทธิ์ แสดงโดย พระอาจารย์ ภูสิต ขันติธโร

ในห้อง 'หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต' ตั้งกระทู้โดย KK1234, 12 มิถุนายน 2010.

  1. KK1234

    KK1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    2,401
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +10,515
    <table class="text" width="95%" align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" height="206"><tbody><tr><td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]พระธรรมเทศนา พระอาจารย์ ภูสิต ขันติธโร[/FONT]

    </td> </tr> <tr> <td class="text" valign="top">

    <table id="Table_4" align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="10px"> <tbody><tr> <td width="8" height="8">[​IMG]</td> <td background="images/cover/cover_0/cover_02.png" height="8">[​IMG]</td> <td width="8" height="8">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td valign="top" width="8" background="images/cover/cover_0/cover_04.png">[​IMG]</td> <td valign="top" width="100" bgcolor="#e5e5e5">
    [​IMG]
    </td> <td valign="top" width="8" background="images/cover/cover_0/cover_06.png">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="8" height="8">[​IMG]</td> <td style="background-repeat: repeat-x; background-position: center top; background-image: url(&quot;images/cover/cover_0/cover_08.png&quot;);" height="8">[​IMG]</td> <td width="8" height="8">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ​
    </td> </tr> <tr> <td valign="top">

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อิสระบริสุทธิ์[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]แสดง โดย[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]พระอาจารย์ ภูสิต ขันติธโร
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ณ หอประชุมพุทธมณฑล ศาลายา จังหวัดนครปฐม
    วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐
    [/FONT]


    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]"วิมุตติสารณหิ อิทัง พรหมจริยัง"
    พรหมจรรย์นี้ มีวิมุตติเป็นสาระ เป็นแก่นสาร

    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ใน ขันธ์ทั้ง ๕ มีอะไรเป็นแก่นสารสาระบ้าง ไม่มีเลย รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูปคือรูปกาย เวทนาคือธาตุ ธาตุวิปริตแปรปรวน สัญญาคือความว่างค้นหาไม่พบ สังขารคือแสงสว่างปรุงไปก็วูบวาบไปตามแรงปรุงแต่งนั้น วิญญาณ ตัวรับทราบ ตัวความรู้ ตัวกระแสความรู้ที่ผู้รู้ส่งออกไปกระทบสิ่งที่ถูกรู้[/FONT]​
    <table width="383" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr class="content"> <td width="191">[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ภาระ หเว ปัญจักขันธา[/FONT]</td> <td width="192">[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ภารหา โร จ ปุคคโล[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ภาราทานัง ทุกขัง โลเก[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ภารนิกเขปนัง สุขัง[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นิกชิปตวา ครุ ภารัง[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อัญญัง ภารัง อนาทิย[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]สมูลัง ตัณหัง อพพุยห[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นิจฉาโต ปรินิพพุโตติ[/FONT]</td></tr></tbody></table>​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ขันธ์ ทั้งหลายเป็นภาระอันหนัก พิจารณาดูซิในตัวเองของเรานี้มีอะไรบ้างที่ไม่เป็นภาระจากปลายเส้นผมถึงปลาย เท้า จากพื้นเท้าถึงปลายผม[/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]พิจารณา ดูซิแต่ละอาการๆ เป็นอย่างไร น่ารักน่าใคร่ น่าหวง น่าขัน ขนาดไหน เอ้า! ดูซิ ธาตุดินเป็นอย่างไรมี ๒๐ อาการ มีอะไรบ้าง เกสา-ผม, โลมา-ขน, นขา-เล็บ, ทันตา-ฟัน, ตโจ-หนัง, มังสัง-เนื้อ, นหารู-เอ็น, อัฎฐิ-กระดูก, อัฎฐิมัญชัง-เยื่อในกระดูก, วักกัง-ม้าม, หทยัง-หัวใจ, ยกนัง-ตับ, กิโลมกัง-ผังผืด, ปิหกัง-ไต, ปัปผาสัง-ปอด, อันตัง-ไส้ใหญ่, อันตคุณัง-ไส้น้อย, อุทริยัง-อาหารใหม่, กรีสัง-อาหารเก่า, และมัตถเก มัตถลุงคัง-มันสมอง บางแห่งไม่ได้กล่าวเพราะสงเคราะห์เป็น อัฎฐิมิญชัง-เยื่อในกระดูก[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นี่ใน ร่างกายเรามีธาตุดิน ๒๐ อาการอย่างไรนี้มีอะไรบ้างที่สวยงามน่ารัก น่าใคร่นักหนาไม่มีเลย เป็นภาระแก่เราทั้งสิ้น[/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ธาตุ น้ำเล่า มี ๑๒ อาการ มีอะไรบ้าง น่าชื่นชมมีบ้างไหม ปิตตัง-น้ำดี, เสมหัง-เสลด, ปุพโพ-น้ำหนอง, โลหิตัง-เลือด, เสโท-เหงื่อ, เมโท-มันข้น, อัสสุ-น้ำตา, วสา-เปลวมัน, เขโฬ-น้ำลาย, สิงฆานิกา-น้ำมูก, ลสิกา-ไขข้อ, มุตตัง-มูตรคูถ

    ธาตุน้ำ ๑๒ อาการ ก็เป็นภาระอันหนักของเราอีกเช่นกัน
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ธาตุลมเล่า อีก ๖ ประการ[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif] เป็นอย่างไร? อัทธังคมาวาตา-ลมพัดขึ้นเบื้องบน, อโธคมาวาตา-ลมพัดลงเบื้องต่ำ, กุจฉิสยา วาตา-ลมในท้อง, โกฎฐสยาวาตา-ลมในลำไส้, อังคมังคานุสาริโนวาตา-ลมที่พัดไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ทั่ว กาย และ อัสสาโส ปัสสาโส-ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ธาตุลมมี ๖ อาการอย่างนี้ ก็เป็นภาระอันหนักมาก หนักจนเราขาดอาการใดอาการหนึ่งไม่ได้[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ธาตุ ไฟเล่า มี ๔ อาการ มีอะไรบ้าง? เยน สันตัปปติ-ไฟที่ทำให้ร่างกายอบอุ่น, เยนชิริยติ-ไฟที่ทำให้ร่างกายทรุดโทรม, เยน ปริฑยหติ-ไฟที่ทำให้ร่างกายเร่าร้อน ฟุ้งซ่าน, เยน อสิตปีตขายิตสายิตัง สัมมาปริณามัง คัจฉติ-ไฟที่ช่วยย่อยอาหาร
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ธาตุไฟ มี ๔ อาการอย่างนี้ มีอาการไหนบ้างที่ไม่เป็นภาระของเรา เป็นภาระของเราทั้งนั้น
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ธาตุ ดิน ๒๐ ธาตุน้ำ ๑๒ ธาตุลม ๖ ธาตุไฟ ๔ นี้ มาประชุมรวมกันเข้าเป็นภาระ ต้องดูแลรักษา ต้องประคับประคองกันอยู่ตลอดเวลา
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]เมื่อ พิจารณาได้อย่างนี้หลาย ๆ ครั้ง โอปนยิโก น้อมเข้ามาๆ จนเห็นจริง จนเกิดความเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายก็คลายกำหนัด เมื่อคลายกำหนัดก็หลุดพ้นอย่างนี้แหละ เมื่อเบื่อก็หน่าย เมื่อหน่ายก็คลาย เมื่อคลายก็หลุด เมื่อหลุดก็พ้น เมื่อพ้นก็มีวิมุตติ เมื่อวิมุตติก็ได้วิมุตติญาณทัศนะ นี่ขั้นหนึ่ง เมื่อพิจารณาเต็มที่จนอิ่มตัวแล้ว ไม่ต้องบอกไม่ต้องบังคับ มันปล่อยเอง หลุดไปเองในตัว ปล่อยอะไร ก็ปล่อยตรงที่ยึดนั่นแหละ เมื่อปล่อยกายเลิกพิจารณากายแล้ว แต่ความวิปริตของธาตุของขันธ์ยังมีอยู่ ความเจ็บปวด ความป่วยความไข้ เราห้ามกันได้ที่ไหนมันเป็นของมันเองทั้งสิ้น เป็นไปตามความวิปริตแปรปรวนของธาตุของขันธ์นั่นแหละ พิจารณาดูในภายของเรานี้ มันเป็นอย่างไร? มันมีทุกข์ มีโทษ มีภัยขนาดไหน ดูซิแต่ปลายผมถึงปลายเท้า แต่พื้นเท้าถึงปลายผม ธาตุที่มาประกอบกันเป็นรูปกายเรามีอะไรบ้างที่ไม่เป็นทุกข็ ที่ไม่เป็นโรคภัย เป็นภาระแก่เราทั้งนั้น
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]จักขุ โรโค-โรคที่ตา. ฆานโรโค-โรคที่จมูก, โสตโรโค-โรคที่หู, ชวหาโรโค-โรคที่ลิ้น, กายโรโค-โรคที่กาย, สีสโรโค-โรคที่ศรีษะ, กัณณโรโค-โรคที่ใบหู, มุขโรโค-โรคที่ช่องปาก, ทันตโรโค-โรคที่ฟัน, กาโส-โรคไอ, สาโส-โรคหืด, ปินาโส-โรคหวัด, ฑโห-ไข้พิษ, ชโร-ไข้เชื่องช้า, กุจฉิโรโค-โรคในท้อง, มุจฉา-ลมจับ, สลบ อ่อนเพลีย, ปักขันทิกา-โรคบิด, สุลา-จุกเสียด ปวดท้อง, วิสูจิกา-โรคลงราก, กุฎฐัง-โรคเรื้อน, กัณโฑ-ฝี, กิลาโส-โรคกลาก, โสโส-โรคมองคร่อ ชักกระตุก, อปมาโร-ลมบ้าหมู, ทันทุ-หิดเปื่อย, กัณฑุ-หิดด้าน, กัจฉุ-คุดทะราด หูด , รขสา-โรคระลอก. วิตัจฉิกา-โรคคุดทะราดฟอน, โลหิตัง-อาเจียนโลหิต, ปิตตัง-โรคดีพิการ, มธุเมโห-โรคเบาหวาน, อังสา-โรคริดสีดวง, ปิฬกา-โรคพุพอง,
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ภคัณ ฑลา-โรคริดสีดวงลำไส้, ปิตตสมุฎฐานาอาพาธา-ความเจ็บเกิดแต่ดีให้โทษ, เสมหสมุฎฐานาอาพาธา-ความเจ็บเกิดแต่เสมหะให้โทษ, วาตสมุฎฐานาอาพาธา-ความเจ็บเกิดแต่ลมให้โทษ, สันนิปาตกาอาพาธา-โรคไข้สันนิบาต 3 อย่าง คือ ดี เสลด ลมให้โทษ, อตุปริณามชาอาพาธา-ความเจ็บอันเกิดแต่ฤดูแปร ปรวน, วิสมปริหารชาอาพาธา-ความเจ็บอันเกิดแต่การผลัดเปลี่ยนอิริยาบถไม่เสมอกัน, โอปักกมิกาอาพาธา-ความเจ็บอันเกิดแต่ความเพียร, กัมมวิปากชาอาพาธา-ความเจ็บอันเกิดแต่วิบากกรรม, สีตัง-ความเย็น, อุณหัง-ความร้อน, ชิฆัจฉา-การหิวข้าว, ปิปาสา-การกระหายน้ำ, อุจจาโร-ถ่ายอุจจาระ, ปัสสาโวติ-ถ่ายปัสสาวะ
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นี่ เป็นอย่างไร? ความทุกข์ ความเจ็บ ความปวด ความเป็นโรคภัยของกายเรานี้เป็นอย่างนี้ เป็นอย่าง ๔๙ อาการนี้เท่านั้น ไม่อื่นไปจากนี้ แต่ปลายเส้นผมถึงพื้นเท้า แต่พื้นเท้าถึงปลายผม แต่กินจนกระทั่งขับถ่ายเป็นภาระแก่เราเจ้าของทั้งสิ้น พิจารณาดูให้เห็นจริงครั้งแล้วครั้งเล่า โอปนยิโกน้อมเข้ามาให้เห็นจริงจนเกิดความเบื่อหน่าย คลายความกำหนัด ไม่มีอะไรไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นโทษ ไม่เป็นภัย ธาตุในกายเรานี้เท่านั้นที่วิปริตแปรปรวนไป ที่ทำให้เราเป็นทุกข์ยิ่ง เวทนานี้เท่านั้นที่เป็นภัยแก่เราอย่างมากมายเหลือประมาณ พิจารณาดูบ่อย ๆ ครั้งจนเบื่อ เมื่อเบื่อก็หน่าย เมื่อหน่ายก็คลาย เมื่อคลายก็หลุด เมื่อหลุดก็พ้น เมื่อพ้นก็วิมุตติ เมื่อวิมุตติก็ได้วิมุตติญาณทัศนะ นี่ขั้นหนึ่งที่พิจารณาทุกเวทขนาจนอิ่มตัว
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif] ไม่ต้องบอกพอถึงจุดก็ปล่อยเองเช่นกัน ความเจ็บความปวด ความป่วยความไข้ ความทุกเวทขนา อันเกิดแต่ธาตุ วิปริตแปรปรวน ไปตามความสำคัญหมายของสภาวะจิตใจในขณะนั้น เป็นทุกขเวทนามากจนหดตัวเข้ามาเป็นทุกข์ ใครทุกข์เรายึดถือผู้จับฉวยเอานี่แหละเป็นทุกข์ละ กระทำให้มากพิจารณาให้มาก จนถึงจุดอิ่มตัวของมันเอง ไม่ต้องบอก ไม่ต้องปล่อย มันกระทำมันปล่อยมันวางของมันเอง เพราะจากปลายเส้นผมถึงปลายเท้า จากพื้นเท้าถึงปลายผม การกินตลอดการขับถ่ายล้วนเป็นทุกข์ เป็นโทษ เป็นภัยต่อชีวิตทั้งสิ้น ถ้าธาตุเกิดวิปริตแปรปรวนขึ้นมาเมื่อใดอันตรายทั้งนั้น[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]เมื่อ เป็นอย่างนี้ เมื่อปลายธาตุอย่างนี้แล้ว ว่างโล่งไปหมด ไม่มีอะไร ก็หันมายึดความว่างเปล่าความไม่มีตัวไม่มีตนนั่นแหละ ความว่างเปล่าคืออะไร คือสัญญา ก็สัญญานี้แหละสัญญานี่ความวาง สัญญาอดีต สัญญาอนาคต เป็นความว่างเปล่าทั้งสิ้น ไม่มีตัวตน เป็นอนัตตาเมื่อพิจารณา พิจารณาไปอาจเกิดความสำคัญผิด ขึ้นได้ เพราะทางเราไม่เคยเดินอาจหลงทางได้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรระมัดระวังให้มาก มันจะเกิดความสำคัญผิด ความสำคัญถูก เกิดขึ้นตัวเองในขั้นภูมิจิต ขณะอย่างนี้ควรเข้าหาครูเข้าหาอาจารย์ ที่มีความชำนาญในการปฏิบัติช่วยแนะนำสภาพพิจารณาสำคัญผิดสำคัญถูกอย่างนี้ เราเรียกว่า "วิปัสสนูปกิเลส"
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif] ในขั้นขณะจิตอย่างนี้จะมีปรากฏวิปัสสนูปกิเลสให้เห็นเพียง ๘ ตัว คือ ๑. ปีติ ๒. ปัสสิทธิ ๓. อธิโมกข์ ๔. ปัคคาหะ ๕. อุปัฎฐานะ ๖. อุเบกขา ๗. นิกันติ และ ๘. สุข [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปีติ อย่างปีติ ๕ อิ่มอกอิ่มใจ เสียวแปล๊บ รื่นเริง ซาบซ่าน ลอยล่อง อัศจรรย์ใจ อยากเก็บไว้ให้นานอารมณ์อย่างนี้ เพราะมันมีความสุข ความสุขที่ต้องการการบำรุงรักษา นี่อย่างนี้เป็น วิปัสสนู คือ มีความอยากเก็บรักษาไว้นาน ๆ[/FONT]

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปัสสัทธิ ความสงบเยือกเย็นใจ นุ่มนวลควรแก่งานทุกอย่าง กายเบาโปร่งไม่หนักไม่แข็งกระด้าง ความเจ็บปวด ความทุกขเวทนา ความเมื่อยต่าง ๆ หายไปหมดสิ้นในขณะเป็นปัสสิทธิ มีแต่ความสุขแล้วเกิดความหวงแหนความสุขนั้น ต้องการไขว่คว้าความสุขนั้นมาเก็บรักษาไว้ให้นานที่สุด นี่อย่างนี้เป็น วิปัสสนูเพราะความหวงแหน[/FONT]

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อธิโมกข์ ดวงจิตอันละเมียดละไม ศรัทธาในการปฏิบั ติ ศรัทธาในความสุขที่ได้รับในการปฏิบัติ แล้วคิดเผื่อแผ่ถึงคนอื่นที่ใกล้ชิด เช่น พ่อ แม่ ญาติ เพื่อนฝูง ตลอดถึงศัตรูหมู่สรรพสัตว์อยากให้เขามาปฏิบัติธรรมเหมือนกับเรา จนเกิดความฟุ้งซ่านจนไม่รู้ตัว อย่างนี้เรียกว่า กรุณาต่อผู้อื่นไม่ยอมกรุณาต่อตัวเอง เมื่อตัวเองสุขแล้วก็อยากให้ผู้อื่น คนอื่น สุขด้วยถ้ายังขวนขวายความสุขในตัวเองความสุขของผู้อื่นอยู่ นี่เป็นวิปัสสนูเพราะยังขวนขวายอยู่[/FONT]

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปัคคาหะ ความขยันหมั่นเพียร ความขยันหมั่นเพียรจนผิดปกติ จนตนเองเกิดความพะว้าพะวงสงสัยตัวเอง อย่างเช่นเมื่อก่อนอาจารย์สอนแทบล้มประดาตายไม่เอา แต่เดี๋ยวนี้ทำไมเราถึงขยันนัก หากเราเจ้าของมีมนสิการไม่ดี ต้องการจะกอบโกยเอาความสุขอย่างเดียว และความสุขที่เกิดจากการกอบโกยนั้นจะต้องได้จากการขยันหมั่นเพียรปฏิบัติ อย่างเดียวจนเกิดกลับกลายเป็นตัณหา มานะ ความเห็นผิดเข้าผสมผสานจนกลายเป็นความสุขเจือ ความอยากที่ไม่รู้จักอิ่มพอ คือ ต้องแสวงหากอบโกยอยู่เรื่อย ๆ นี่อย่างนี้เป็นวิปัสสนู เพราะแสวงหากอบโกยโดยไม่หยุดหย่อน[/FONT]

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อุปัฎฐานะ ความมีสติระลึกได้ตลอดสายอย่างน่าอัศจรรย์ เพราะมีสติที่ตั้งมั่นไม่โงนเงน ไม่โยกไม่คลอน ไม่หวั่นไหว ไม่เผลอพลั้งหรือลืมหลงสติซึ่งแต่ก่อนไม่เคยเป็นอย่างนี้จึงทำให้เกิความ สงสัยทึกทักตัวเองไปถึงขั้นบรรลุธรรมสุดยอด ก็เพราะว่าเหตุที่อยู่ ๆ ก็มีสติดีว่องไว กำหนดอะไรก็ได้ทั้งนั้น ได้อย่างถี่ถ้วน ละเอียดละออขึ้นอย่างผิดคาด หากมีมนสิการไม่ดี ก็เป็นวิปัสสนูขึ้นได้โดยมีตัณหาเข้าสวมรอยสำคัญผิดสำคัญถูกแบบนี้ ยังเป็นความสุขที่ต้องอาศัยความด้นเดา ความคาดหมายอยู่คือ คิดเอาเองว่าเป็นอย่างนั้นเป็นอย่างนี้ จึงจะเป็นสุขเป็นความสุขที่ทึกทักเอาเอง
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อุเบกขา ในลักษณะจิตอย่างนี้ มีลักษณะการเฉยเมยอยู่ ไม่มีความยินดียินร้ายในอะไรทั้งสิ้น เหมือนกับคนหมดกิเลสแล้ว ไม่มีความสะดุ้งสะเทือนต่ออารมณ์ใดๆ ทุกชนิด กล่าวได้ว่าเป็นอุเบกขา ที่มีฤทธิรุนแรงมาก แรงกว่าอุเบกขาจริงๆ ในวิปัสสนาหลายเท่านัก ไม่ว่าจะมีอารมณ์ชนิดไหนชนิดใด มากระทบ ไม่มีวอกแวก ไม่หวั่นไหว วางเฉยได้เสียทุกประการ จนเจ้าของเองเกิดมหัศจรรย์ว่าทำไมเรา เป็นไปได้ถึงเพียงนี้เชียวเหลือ หากมีมนสิการไม่ดี ก็ทำให้ผู้ปฎิบัติยกย่องตัวเองจนเกิดวุ่นวายไป จนถึง กล่าวกับตัวเองว่าขอให้เราเจ้าของเป็นอย่างนี้ตลอดไปเถิด จะได้หลุดพ้นเสียที่ นี่ยังอ้อนวอนขอความ สุขให้อยู่กับตัวเจ้าของนานๆอยู่
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นิกันติ ความใคร่ ความต้องการ ความยินดี ความติดใจ ความชอบใจ ในการปฏิบัติภาวานาดังที่ กล่าวมาแล้วทั้งหมด ยัง ยังไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง เพราะยังต้องรักษาหวงแหน กอบโกยแสวงหา สงวนไว้ดันเดาคาดหมาย ไขว่คว้ามาสำคันเอาเอง นี่ไม่ใช่ตัวความสุขที่แท้ เป็นตัววิปัสสนูที่ยึดถือ จับฉวยเอาเองทั้งสิ้น[/FONT]

    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]สุข ความสุขต่างๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติภาวนา และประสบจากการภาวนาอย่างสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วอันมีปีติ ปัสสัทธิ อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฎฐานะ อุเบกขา นิกันติ พิจารณาดูให้ลึกซึ้งโอปนยิโกน้อมเข้ามา น้อมเข้ามาพิจารณาดูให้ลึกซึ้ง ให้อิ่มพอ ว่าความสุขอย่างนั้นเป็นอะไรกันแน่ เป็นความสุขที่แท้จริงหรือเปล่า ถ้าเป็นความสุขที่แท้จริงแล้ว ทำไมจึงกลัวความสุขนั้น ๆ จะหมดไปจะหายไปเล่า จริงไหม ความสุขอย่างนี้ ในขึ้นภูมิของจิตขนาดนี้ความสุขยังเจือความทุกข์อยู่ ยังไม่เที่ยงและยังหาสาระแก่นสารยังไม่ได้ ยังมีการยื้อแย่ง หวงแหนเก็บรักษา ไขว่คว้าความสุขนั้นอยู่[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ที่ เป็นอย่างนี้กลายเป็นตัววิปัสสนูปกิเลสมีเรื่องราวมากมายขนาดอย่างที่กล่าว มาแล้วนี้ เพราะความว่างเปล่าแห่งตัวสัญญา สัญญาคือ ความว่างเปล่า เป็นเหตุแห่งความว่างเปล่าด้วยการไม่มีฐานที่ตั้งอย่างนี้เอง ทำให้เรารู้โน่นรู้นี่ ติดโน้นยึดนี่ จับฉวยนั่น ทำให้เราเจ้าของเนิ่นช้าต่อมรรค ผล นิพาน แต่ก็เป็นส่วนดีในเราเจ้าของอยู่เหมือนกันถ้าผ่านไปได้แล้วจะเป็นเครื่องมือ ทุ่นแรงแก่เราเป็นอย่างดี
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ในเรื่องวิปัสสนู กิเลสนี้ องค์พระศาสดาท่านไม่ได้ห้ามเลยท่านบอกไว้แต่เพียงว่า อย่าได้ติด อย่าได้ข้อง อย่าได้หลงเพลินอยู่ มันช้าต่อมรรค ต่อผล ท่านไม่ได้ห้าม แต่ถ้าเป็นวิปัสสนูปกิเลสแล้ว อย่าได้ติดเท่านั้น อย่ามัวแต่บ้าเงาหลงตัว สำคัญผิดอยู่เลย น้อมเข้ามาหาตัวเจ้าของ ตัดลงตัดลงด้วยพระไตรลักษณ์ แม้สัญญาความว่างนี้ก็ยังมีทุกข์ไม่เที่ยง ไม่มีตัวตน บ่อยครั้งเข้าได้อย่างนี้แล้วเกิดอย่างนี้แล้ว แม้นี้ขณะนี้ยังไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง ก็เบื่อ เมื่อเบื่อก็หน่าย เมื่อหน่ายก็คลาย เมื่อคลายก็หลุด เมื่อหลุดก็พ้น เมื่อพ้นก็วิมุตติ เมื่อวิมุตติก็ได้วิมุตติญาณทัสสนะ สว่างโพลงขึ้นมาอย่างประมาณมิได้ เป็นความสว่างที่ราบเรียบ ไม่แปลบปลาบแสบตา และยังมัวเมาในอารมณ์ ความสว่างอย่างนี้เกิดแต่ความเบื่อหน่าย ความว่าง ความปรุงแต่งแห่งสัญญา ค่อย ๆ หดถอยปล่อยอารมณ์ภายนอก หมุนเข้าหาจิต จิตเป็นประธาน จิตเป็นใหญ่ ความลุกโพล่งสว่างไสวที่เกิดที่จิต จิตเป็นผู้ก่อ จิตเป็นผู้ดับ จิตเป็นผู้ดำริ ความดำริมีแล้วในจิต จิตดำริอะไรในลักษณะอย่างนี้ ดำริในการออกจากวัฎฎสงสาร ความเป็นทุกข์เป็นโทษ เป็นภัยในภพ ในชาติ ในความชรา ในการมรณะ โอปนยิโกน้อมเข้ามา น้อมเข้ามาหาเรา น้อมเข้ามาหาเจ้าของ อย่างลึกซึ้งถี่ถ้วน เจ้าของเองต้องทำความเข้าใจปฏิบัติบ่อย ๆ ทำให้มากพิจารณาให้มาก มนสิการให้ดี ถ้ามนสิการผิด มีตัณหา มิจฉาทิฎฐิเข้าแทรกจะเป็นวิปัสสนูปกิเลสขึ้นอีก ๒ ตัวทันที คือ โอภาส กับ ญาณ ทั้งนี้ นักปฏิบัติที่ใกล้ชิดครูบาอาจารย์ที่ชำนาญจัดเจนในด้านการปฏิบัติจิตตภาวนา ดีแล้ว ท่านจะนำแนะให้รู้อยู่เท่านั้น อย่าหลงเพลินสบายอยู่กับความว่าง อย่าตามแสงสว่าง อย่าได้คำนึงหรือห่วงใยใด ๆ ทั้งสิ้น
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นักปฏิบัติจิตตภาวนา ผู้ใดมีจริตนิสัยเป็นไปตามวาสนาบารมีเอง โอภาสกับญาณนี้ เมื่อเสร็จกิจแล้ว จะเป็นเครื่องมือเป็นกำลังใจให้เจ้าของเป็นอย่างดี เมื่อรวมตัวกันเป็นญาณปัญญาหรือ "ปัญญาญาณ" ซึ่งมีความละเอียดมาก ละเอียดกว่าปัญญา นักปฏิบัติภาวนาธรรมดาที่ไม่เกิดวิปัสสนู ๒ ตัวนี้ (เปรียบเหมือนคน ๒ คน ยืนอยู่ขอบสระ คือนายญาณกับนายปัญญา นายปัญญาบอกได้เพียงก้านบัว ใยบัว ดอกบัว ที่อยู่บนพื้นน้ำแล้วเท่านั้น ส่วนนายญาณบอกได้ถึงรากเหง้าบัว ลักษณะของดินก้นสระที่กอบัวงอก ความสูงของน้ำตั้งแต่ก้นสระถึงผิวน้ำ ก็คือความสูงของก้านความยาวของก้านบัวนั่นเอง) นี่คือความแตกต่างระหว่างญาณกับปัญญา แล้วผู้ที่มีทั้งปัญญาทั้งญาณจะขนาดไหน
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]"ปัญญาญาณ" รู้ละเอียดพิสดารมาก จะมากขนาดไหนไม่ต้องพูด ก็มากขนาดปัญญาญาณนั่นแหละเราไม่พูด เราไม่ต้องพูด เดี๋ยวบ้า เหตุแห่งความบ้ามี ๔ อย่าง ที่นักปฏิบัติภาวนาไม่ควรพูด ไม่ต้องพิจารณาคือ พุทธวิสัย ญาณ (ณาน)วิสัย กรรมวิบาก และโลกจินดา นี่เป็นอย่างนี้ ไม่ได้ ไม่ต้องอยากได้ ได้แล้วอย่าบ้าไปตาม มันเป็นวิปัสสนูปกิเลส เมื่อเราเข้าของพิจารณามากเข้า บ่อยครั้งเข้า บ่อยครั้งเข้า มันก็แค่นั้น น้อมเข้ามา น้อมเข้ามา โอปนยิโก มนสิการเข้ามา เข้ามา หาคุณค่าอะไรไม่ได้เลย จากแสงสว่างที่เกิดจากอาการปรุงแต่งจิตนั้น มันเป็นเพียงเงาเป็นเพียงตัวอาการของจิตเท่านั้น เมื่อความหมายมีเท่านั้น จิตจะหมุนเข้าหาตัวจิตเอง จะผ่านจะเลยแสงสว่างไปจะปล่อยแสงสว่างอย่างนั้นไป เอาแต่เพียงความรู้ที่กำลังดำเนินอยู่ ที่กำลังพิจารณาอยู่ รู้อยู่ รู้ รู้ รู้อยู่ในจิตใจ จิตว่างก็รู้ จิตเป็นความว่างก็รู้ รู้อยู่ในความว่าง จิตเป็นแสงสว่างก็รู้อยู่ รู้อยู่กับความสว่างนั้น นี่แหละ ตัวรู้ ตัววิญญาณ ตัวรู้อยู่นี่แหละ อย่างนี้แหละตัวภพ นี่แหละตัวชาติ ตัวนี่แหละ ตัวเปลี่ยนแปลงของจิต ถ้าไม่เที่ยงในไตรลักษณ์ ตัวจิตนี่แหละเป็นทุกข์ ตัวไม่เที่ยง ตัวแสดงไปตามอาการ คำว่า อาการ อาการมันมีตัวตนที่ไหน เป็นตัวอาการแสดงออกมาเท่านั้น นี่แหละตัวจิตอวิชชา ตัวแยก ตัวแยะ ตัวรู้ ตัวเปลี่ยน ตัวแปร ตัวหาค่า ตัวประมาณ ตัวกำหนด ตัวสำคัญมั่นหมายนี่ละคืออวิชชา พากันจำเอาไว้ การที่แยกที่แยะ ที่เปรียบที่เทียบ ที่แปร ที่มีค่า มีประมาณ มีสำคัญ มีมั่น มีหมายขึ้นนั้น เพราะอะไร เพราะความไม่รู้ ไม่รู้อะไร ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง แยก ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง แยะ ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง เปลี่ยน ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง เทียบเคียง ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง แปรสภาพ ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง หาค่า ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง ประมาณเอา ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง สำคัญมั่นหมายขึ้น ก็เพราะความไม่รู้นี่ใช่ไหมจึงต้อง กำหนดขึ้น สิ่งทั้งหลายทั้งปวงถูกกำหนดขึ้น เพราะความไม่รู้ เพราะอวิชชานี้เอง จึงต้องกำหนดขึ้นให้เป็นความรู้ ให้รู้อะไร ก็คือให้รู้ว่าไม่รู้ ก็คือ สภาวะจิตที่พิจารณารู้อยู่ รู้อยู่คือจิต ถ้าจิตในสภาพสภาวะนี้ ตัวจิตเองรู้ว่าตัวเองไม่รู้เสียแล้ว "ตัวของจิตเองนั่นแหละรู้.. รู้ว่าไม่รู้" พิจารณาให้ดีนะตรงนี้ และตัวนี้เองจะหมุนจะกว้านเอาความไม่รู้ออก เอาออก เอาออก จนไม่มีจะเอาออก จนเป็นความรู้ เป็นตัววิชชา ตัวรู้และในตัวรู้นี้เอง ตัวของมันเองก็ไม่ใช่ตัวบริสุทธิ์ ยัง ยัง ยังไม่ใช่ตัววิมุตติ ยัง ยังไม่ใช่นิพพาน เป็นเพียงแค่ตัวผ่องใสเท่านั้นเอง จิตผ่องใสไม่ใช่จิตสว่าง จิตสว่างไม่ใช่จิตผ่องใส เพราะจิตผ่องใสพร้อมจะหมุนไปตามกระแสภายนอก หมุนไปตามกระแสแห่งการพิจารณาภายใน ส่วนจิตสว่างเป็นอาการของจิตรวมตัว ตกภวังค์นิ่งอยู่ตามกำลังของสมาธิ
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]"ปภัสสรมิทัง ภิกขเว จิตตัง ตัญจะโข ภาคัตุเกหิ อุปเลเสหิ อุปกิลิฎฐัง" จิตสว่าง คือ จิตตกภวังค์ (จิตตสังขาร) จิตผ่องใส คือ จิตเขยิบขึ้นจากภวังค์ พร้อมรับอารมณ์ จิตผ่องใสในขณะภาวนากำลังพิจารณาอยู่โดนกระแสภายนอก (อาคันตุกะจรมา) กระแสภายในจะทำงานพร้อมกัน ๔ อาการ ภายในกาย (รูป) คือ รู้ (วิญญาณ) รู้แล้วปรุง (สังขาร) เมื่อปรุงแล้วหมาย (สัญญา) เมื่อหมายแล้วก็เป็นความรู้สุข รู้ทุกข์ ความเฉย ๆ (เวทนา) วนอยู่ วนอยู่ วนอยู่อย่างนี้ ภายในกาย ภายในกาย[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ในภายของเรานี้ นี้เองการเริ่มต้น เพิ่งจะเริ่มต้น ไม่ใช่จบแล้ว นักปฏิบัติภาวนาอย่า อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่า ถึงตัวนี้ ถึงตัวความผ่องใสแล้วเสร็จกิจ เปล่าเลย เปล่าเลยนะ เป็นเพียงการเริ่มต้นเท่านั้น เป็นการเริ่มต้นเท่านั้นเอง ถ้าเข้าใจอย่างนี้เป็นวิปัสสนูปกิเลส นี่แหละตัวนี้จะทำให้เรางง เราโง่ เราหลง เราเพลิดเราเพลินก็ตัวนี้แหละ ตัวรู้นี้เอง ถ้าวิญญาณตกภวังค์ ตัวจิตผ่องใสที่โดนกระแสภายนอกกระทบ (อาคันตุกะจรมา) นี่เอง
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]พิจารณาดูซิ มีอะไรมั่นคงเป็นแก่นสาร มีอะไรบ้างที่มีคุณมีค่าแก่ตัวเรา ไม่มีเลย รู้แล้วปล่อย รู้แล้วปล่อย รู้แล้วปล่อยนะ อย่าได้ยึดถือจับฉวยเอาไว้ เพราะนั้นยังไม่ใช่สิ่งที่รู้จริง ยังไม่ใช่ ความรู้นี้ไม่เที่ยง ไม่มีตัวตน ไม่ใช่ของดี ไม่ใช่ของงาม ยิ่งรู้มากยิ่งสับสนวุ่นวายมาก ยังยึดถือจับฉวยมาก เป็นโทษทั้งนั้น กิเลสทำงานบนดวงจิต ไม่มีกาล ไม่มีเวลา ไม่มีสถานที่ กิเลสทำให้เรารู้มาก เมื่อรู้มากก็ต้องการมาก เมื่อต้องการมากก็แส่ดิ้นรน ไม่รู้จักหยุดจักหย่อน ไม่รู้จักสิ้นจักสุด ไม่มีทางหลุดพ้นไปได้เลย นอกจากดับผู้รู้ ปล่อยความรู้ หยุดแสวงหาสิ่งที่ถูกรู้ เท่านี้เอง[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นักปฏิบัติภาวนาขั้น นี้ที่มี " ญาณ" เป็นวิปัสสนูปกิเลส จะโอปนยิโก มนสิการเข้ามาผิด ๆ อย่างนี้ ทันทีที่เราจะดับผู้รู้ จะปล่อยความรู้และหยุดแสวงหาสิ่งที่ถูกรู้ ญาณเป็นวิปัสสนูปกิเลสจะแวบขึ้นมาทันที เอ! ถ้าเราปล่อยความรู้นี่ ดับผู้รู้แล้วและหยุดแสงหาสิ่งที่ถูกรู้เสีย อ้าว! แล้วตัวอะไรเล่าที่เป็นตัวสุขเสวย? ใครจะเป็นตัวบรมสุข? แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่านิพพานเป็นเป็นอย่างไร? นิพพานอยู่ที่ไหน? ใครเป็นสุข? ที่ไหนเล่า? ก็ในเมื่อเราดับผู้รู้ ผู้ปล่อยความรู้ และหยุดแสวงหาสิ่งที่ถูกรู้เสียแล้วใคร? ใคร? ไม่ได้ เราจะปล่อยไม่ได้ เราจะหยุดแสวงหาไม่ได้ นั้นแหละเห็นไหม กิเลสละนี่ ถึงขึ้นนี้กิเลสก็ยังแทรกจนได้ (ญาณวิปัสสนูปกิเลสละนี่) ก็อ้ายตัวที่เราต้องการจะเอาไว้เป็นตัวบรมสุขนั่นแหละ มันหลอกเรา แม้ในขั้นนี้ก็ยังถูกหลอกพิจารณาดูซิ ความรู้ของเรานั่นแหละมันหลอกเรา ผู้รู้นั่นเองที่ต้องการเป็นผู้เสวย เสวยอะไร เสวยสิ่งที่ถูกรู้ บรมสุข นิพพานนั่นเอง พิจารณาดูซิ พิจารณาให้ดีนะ!
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]เอ้า พิจารณาอย่างนี้นะ ทดลองพิจารณาอย่างนี้ดู! เมื่อมีความรู้ ก็ต้องมีผู้รู้ จริงไหม และสิ่งที่ถูกรู้ ไม่อย่างนั้น ความรู้จะออกไปจากใคร? ออกไปจากอะไร? และรู้อะไร? รู้ที่ไหน? รู้ในอะไร? รู้อะไรกี่มากน้อย? จริงไหม? เมื่อมีผู้รู้ มีความรู้ มีสิ่งที่ถูกรู้ มันมี มีขอบเขตไม่เป็นอิสระ เพราะสิ่งที่ถูกรู้มันจำกัดขอบเขต ความรู้ก็พลอยมีขอบเขตไปด้วย ผู้รู้ไม่เป็นอิสระ เพราะเหตุแห่งสิ่งที่ถูกรู้ถูกจำกัดขอบเขต ถูกกำหนดขึ้นโดยผู้รู้
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นิพพานเป็น อิสระที่บริสุทธิ์ ขอบเขตจะว่ามีก็มี จะว่าไม่มีก็ ไม่มี มีผู้รู้เป็นอิสระหรือไม่ ไม่เป็นอิสระเลย ตราบใดที่มีผู้รู้ก็ต้องแสวงหาความรู้จากสิ่งที่ถูกรู้นั้นด้วย และเมื่อผู้รู้เป็นอิสระบริสุทธิไม่ได้ ผู้รู้ก็ เป็นทุกข์ความรู้ก็ไม่เที่ยง สิ่งที่ถูกรู้ก็ไม่มีตัวตน ผู้รู้ตัวนี้ยังอยู่ในวงของไตรลักษณ์อยู่ ยังไม่ใช่นิพพาน นิพพานเป็นสิ่งบริสุทธิ์เหนือไตรลักษณ์ ยังไม่ใช่ผู้รู้จริง ยัง ยัง ต้องกระตุกผู้รู้ออก ความรู้ดับ สิ่งที่ถูกรู้ถูกปล่อย หมด หมด มันจะเป็นอย่างไร มันจะเป็นอย่างไร ใครจะทำไมก็ช่าง
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]จะเรียกความหมายเป็น อย่างไรก็เชิญเถิด ขออย่างเดียว ปฏิบัติให้จริงจังอย่างสมบูรณ์เถิด แล้วจะเข้าใจเอง รู้เองเป็นเอง เมื่ออิ่มตัวแล้ว ไม่ต้องปล่อย ไม่ต้องดับ มันก็ปล่อยมันก็ดับของมันเอง ขอให้จริงเถิด ทำเหตุให้เต็มที่ผลมีมาเอง ใครจะให้ความสำคัญ ความคาดความหมายอย่างใดก็เชิญ เข้าถึงบ้างพอแล้วก็จบกัน [/FONT]
    <table width="383" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr class="content"> <td width="191">[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นี่ แหละปล่อยกาย[/FONT]</td> <td width="192">[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ยึด ธาตุ[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปล่อยธาตุ[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ยึดความว่างเปล่า[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปล่อยความว่าง[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ยึดแสงสว่าง[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปล่อยแสงแสวง[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ยึดถือความรู้ [/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ปล่อยความรู้[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]จะยึดอะไร? จะเป็นอย่างไร?[/FONT]</td></tr> <tr class="content"> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]ช่างเจ้าของเอง[/FONT]</td> <td>[FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]อย่าได้ไปให้ความ สำคัญกับมันก็แล้วกัน [/FONT]</td></tr></tbody></table>​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]"ภารา หเว ปญฺจกฺขนฺธา"
    ขันธ์ทั้งหลายเป็นภาระอันหนักอย่างนี้
    [/FONT]​
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]"ตนฺหกฺข โย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ"
    ความสิ้นไปแห่งตันหายอมชนะทุกข์ทั้งปวง
    "ทาง ปฏิบัติ" แปลว่า ความสิ้นไปแห่งความอยากย่อมสิ้นทุกข์ทั้งปวง[/FONT]




    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]--------------------------------------------------------------[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]นำมาจาก[/FONT]
    [FONT=Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif]�Ѵ�����ǧ�Һ�� �ҳ���ѹ� �.�ҭ������ TigerTemple Thailand
    [/FONT]​
    <table class="text-b" width="100%" align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> </tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...