พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01edu06211250&day=2007-12-21&sectionid=0107


    วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 30 ฉบับที่ 10877

    ผู้ปกครองข้องใจน.ร.ไม่รู้ประวัติศาสตร์ชาติ




    เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม นายวรากรณ์ สามโกเศศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ให้สัมภาษณ์หลังเป็นประธานเปิดการประชุมรับฟังความคิดเห็นของครูที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดการเรียนการสอนสาระหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ ศีลธรรม ศาสนา ย่อความและเรียงความว่า ตนถูกถามจากคนใกล้ชิด และได้รับจดหมายจากผู้ปกครองสอบถามมาว่าทำไมนักเรียนในปัจจุบันไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาติ ทั้งๆ ที่โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนเรื่องเหล่านี้ เช่น เด็กไม่รู้ว่าเมื่อ พ.ศ.2475 เกิดเหตุการณ์อะไร ไม่รู้จักบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ช่วยกอบกู้ชาติบ้านเมือง เป็นต้น นอกจากนี้ การเขียนเรียงความยังนำภาษาพูดมาใช้เป็นภาษาเขียน และเด็กจำนวนมากย่อความไม่เป็น ตนจึงมอบให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ไปศึกษาวิจัยหาทางแก้ไข นอกจากนี้ จะนำข้อมูลจากการประชุมครั้งนี้ไปใช้เป็นแนวทางปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำลังดำเนินการอยู่ด้วย
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 30 ฉบับที่ 10878

    ตุ๊กตาหินทราย"หนองโสน"
    http://matichon.co.th/matichon/matic...sectionid=0144


    โดย ปรียวรรณ อติโรจน์




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#f8b8cb><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สวยงาม มีศิลปะ สีสันสดใส ราวมีชีวิต จะวาง ไว้ริมรั้ว ซุ้มประตูบ้าน หน้าตัวบ้าน หรือวางไว้ในสวน ก็ดูดีดูเหมาะ ตุ๊กตาหินทราย อาจมีการทำในหลายพื้นที่ แต่เท่าที่เห็นมาตุ๊กตาหินทรายที่บ้านหนองโสน โคราช ฝีมือไม่เป็นสองรองใคร แถมราคาไม่แพง..!

    บ้านหนองโสนตั้งอยู่ที่ ต.ท่าอ่าง อ.โชคชัย จ.นคร ราชสีมา อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองโคราชประมาณ 20 กม. และอยู่ห่างจากบ้านด่านเกวียน หมู่บ้านเครื่องปั้นดินเผาเลื่องชื่อของเมืองโคราชประมาณ 2 กม. จากด่านเกวียนมุ่งหน้าไปทางอำเภอโชคชัย ถึงหลัก กม.ที่ 21-22 จะเห็นปากทางเข้าหมู่บ้านบ้านหนองโสนอยู่ฝั่งซ้ายมือ เมื่อเลี้ยวจากริมถนนใหญ่เข้าไปประมาณ 50 เมตร จะเห็นเพิงร้านค้า ขายสินค้าประเภทตุ๊กตาหินทรายทั้งสองฝั่งทั้งซ้ายและขวาเรียงรายตลอดระยะทางประมาณ 2 กม. จนถึงสุดทางด้านใน นักเดินทางจะต้องตะลึงกับร้านขายตุ๊กตาหินทรายจำนวนมากที่ซ่อนตัวอยู่ด้านใน

    ตุ๊กตาหินทรายเหล่านี้มีขนาดเล็กตั้งแต่หนักราวครึ่งกก. จนถึงขนาดใหญ่สุดหนักประมาณ 70 กก. โดยมีการหล่องานหินทรายในรูปแบบหลากหลายเช่น รูปเด็กๆ ในอิริยาบถซุกซนน่ารักต่างๆ รูปผู้หญิง ผู้ชาย รูปเทพ และเทวดาต่างๆ เช่น เทพพนม กินรี พระพิฆเนศ นอกจากนี้ยังมีรูปสัตว์นำโชคต่างๆ เช่น รูปสิงห์ รูปกวาง รูปช้าง ม้า วัว ควาย และ ฯลฯ
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=right border=0><TBODY><TR bgColor=#f8b8cb><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ต้องบอกว่าน่าทึ่งจริงๆ งานหล่อหินทรายฝีมือดีเหล่านี้ นับเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านหนองโสน โดยชาวบ้านในหมู่บ้านอายุตั้งแต่ 10 กว่าขวบ จนถึง 60 กว่าปี ได้ช่วยกันผลิตงานหล่อหินทรายออกมาจำหน่ายกันแทบทั้งหมู่บ้าน แต่ละบ้านมีแบบหล่อเป็นของตัวเอง ไม่ซ้ำแบบกันแต่อย่างใด สินค้าจึงออกมาในรูปแบบหลากหลาย ให้ผู้ซื้อได้เลือกชมเลือกซื้ออย่างละลานตา

    อเนก นิ่มนวล ชายหนุ่มชาวบ้านหนองโสน อายุ 25 ปี จบการศึกษาชั้น ม.3 และเป็นเจ้าของร้านอุมาหินทรายเล่าให้ฟังว่า เขาและภรรยาก็เหมือนกับชาวบ้านคนอื่นๆ ในหมู่บ้านหนองโสนที่ประกอบอาชีพผลิต ตุ๊กตาหินทรายออกจำหน่ายประมาณ 70 หลังคาเรือน สำหรับบ้านแต่ละหลังนั้นมีคนอาศัยอยู่ประมาณ 4-5 คน ซึ่งผู้คนในบ้านแต่ละหลังแม้แต่เด็กนักเรียนชั้นประถมต่างก็ช่วยกันปั้นตุ๊กตาหินทรายอย่างขะมักเขม้น ถึงแม้ชาวบ้านส่วนใหญ่มีการศึกษาที่ไม่สูงมากนัก แต่ด้วยใจรัก พวกเขาก็สามารถผลิตตุ๊กตาหินทรายฝีมือ ดีออกมาวางจำหน่าย อย่างไรก็ตาม ก็มีลูกหลานชาวบ้านบางส่วนที่ได้รับการศึกษาสูง โดยจบการศึกษามาทางด้านศิลปะอยู่เหมือนกัน
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#f8b8cb><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อเนกบอกว่า "ผู้ที่ริเริ่มงานหล่อตุ๊กตาหินทรายเป็นรายแรกในหมู่บ้าน เคยทำงานอยู่ที่ร้านชาวดิน ซึ่งเป็นร้านจำหน่ายเครื่องปั้นดินเผาที่ด่านเกวียน ต่อมาลาออกและได้นำเอาประสบการณ์ในการทำเครื่องปั้นดินเผามาประยุกต์ใช้ในงานหล่อตุ๊กตาหินทรายออกมาจำหน่าย ซึ่งนั่นประมาณกว่า 6 ปีมาแล้ว หลังจากนั้น จนถึงปัจจุบัน ผู้คนในหมู่บ้านหนองโสนก็ประกอบอาชีพผลิตงานหล่อหินทรายเกือบแทบทั้งหมด"

    เขาเล่าถึงกระบวนการผลิตตุ๊กตาหินทรายให้ฟังว่า ทรายที่ใช้ในงานหล่อตุ๊กตาหินทรายที่หมู่บ้านหนองโสนสั่งมาจาก อ.พิมาย และ อ.ชุมพวง โคราชนั่นเอง ซึ่งเป็นแหล่งจำหน่ายทรายแหล่งใหญ่ เนื่องจากทั้งสองอำเภอมีแม่น้ำมูลไหลผ่านจึงมีทรายจำนวนมาก โดยรถขนทรายจากอำเภอดังกล่าวจะขนทรายมาส่งชาวบ้านในหมู่บ้านนี้เป็นครั้งคราวตามสั่ง

    สำหรับวิธีการผลิตตุ๊กตาหินทรายนั้น เริ่มจากต้อง นำดินเหนียวมาปั้นแบบ จากนั้นลงยางพาราครอบแบบดินเผาที่ปั้นเรียบร้อยแล้ว โดยต้องลงยางพาราให้หนาและลงซ้ำหลายๆ ครั้ง ทิ้งไว้ประมาณหนึ่งสัปดาห์จน ยางพาราแห้ง จากนั้นก่อปูนพลาสเตอร์ครอบแบบยางพารานั้นๆ ทิ้งไว้ประมาณ 24 ชั่วโมง แล้วแกะปูน พลาสเตอร์ออกจะได้บล็อคยางพารา ต่อมาต้องผสมทรายกับปูนและน้ำเพื่อเทลงไปในบล็อคยางพารา ทิ้งไว้อีกประมาณ 24 ชั่วโมง แล้วแกะบล็อคยางพาราออก จะได้งานหล่อ จากนั้นต้องตากงานหล่อที่ได้ไว้ประมาณ 2 วัน แล้วลงสีฝุ่นผสมน้ำตกแต่งงานหล่อนั้นๆ ให้ดูมีสีสัน โดยสรุปแล้วกว่าจะได้งานหล่อชิ้นหนึ่งๆ ใช้เวลาหลายวันทีเดียว

    ส่วนสนนราคาตุ๊กตาหินทรายที่บ้านหนองโสน มีราคาตั้งแต่ชิ้นละ 50 บาท จนถึงชิ้นละประมาณ 5,000 บาท แล้วแต่ขนาดใหญ่หรือเล็ก ความยากง่ายและความประณีตของงาน

    หากสนใจงานหล่อหินทรายบ้านหนองโสนไปแต่งบ้าน แต่งสวนหรือแต่งร้านค้า แวะไปแล้วจะไม่ผิดหวัง หรือจะโทร.ไปหาอเนกที่ร้านอุมาหินทราย ที่โทร.08-7242-9672, 08-9581-7861<!-- / message --><!-- sig -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=17&A=4220&Z=4245

    <TABLE height=50 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle VSpace="0" HSpace="0">[​IMG]</TD><TR><TD vAlign=bottom align=middle width="100%" bgColor=mistyrose vspace="0">บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=peachpuff height=1 vspace="0" hspace="0"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค</CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD width="100%" bgColor=darkblue vspace="0" hspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <CENTER></CENTER><CENTER>๕. มิจฉาทิฏฐิสูตร</CENTER><CENTER>ว่าด้วยเหตุแห่งมิจฉาทิฏฐิ</CENTER>
    [๓๕๔] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่ออะไรมีอยู่เพราะอาศัยอะไร เพราะยึดมั่นอะไร จึงเกิดมีมิจฉาทิฏฐิ? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ธรรมของข้าพระองค์ทั้งหลาย มีพระผู้มีพระภาคเป็นรากฐาน ฯลฯ พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อรูปแลมีอยู่ เพราะอาศัยรูป เพราะยึดมั่นรูป จึงเกิดมีมิจฉาทิฏฐิ.เมื่อเวทนามีอยู่ ... เมื่อสัญญามีอยู่ ... เมื่อสังขารมีอยู่ ... เมื่อวิญญาณมีอยู่ เพราะอาศัยวิญญาณเพราะยึดมั่นวิญญาณ จึงเกิดมีมิจฉาทิฏฐิ. [๓๕๕] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง? ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า. พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า. พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนธรรมดา พึงเกิดมีมิจฉาทิฏฐิ เพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ? ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. เวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง? ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า. พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า? ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า. พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา พึงเกิดมีมิจฉาทิฏฐิเพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ? ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
    <CENTER>จบ สูตรที่ ๕.</CENTER>


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ บรรทัดที่ ๔๒๒๐ - ๔๒๔๕. หน้าที่ ๑๘๓.http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=17&A=4220&Z=4245&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=17&i=354 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๗http://www.84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๑๗</U>http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=17&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD<CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    </PRE>


    </PRE>

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่
    DhammaPerfect@yahoo.com
    <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka-2. อ่านพระสูตร";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT>


    .
    </PRE>


    </PRE>


    </PRE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_02.htm

    อกุศลกรรม

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD width=702><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=510 border=1><TBODY><TR><TD width=498 bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อกุศลกรรม ได้แก่ การทำบาป ๓ ทาง คือ [/FONT]
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=417 border=0><TBODY><TR><TD width=186>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ทางกาย [/FONT]</TD><TD width=103>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า [/FONT]</TD><TD width=164>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]กายกรรม[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. ทางวาจา [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วจีกรรม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. ทางใจ [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตามธรรมดาคนเรานั้น จะทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ตาม ต้องมีความตั้งใจเกิดขึ้นก่อน ด้วยเหตุนี้เอง การกระทำต่าง ๆ ทั้งหลายนั้น จึงมี ความตั้งใจ ซึ่งเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า เจตนา (เจตสิก) เป็นผู้นำอยู่เสมอ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เจตนานี้แหละ ชื่อว่า กรรม [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้า เจตนา ประกอบใน กุศลจิต ก็เป็นการตั้งใจที่จะทำความดี มีการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้า เจตนา ประกอบใน อกุศลจิต ก็เป็นการตั้งใจในการทำความชั่ว มี อกุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นต้น [/FONT]</TD></TR><TR><TD height=390>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=690 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อกุศลกรรมบท ๑๐[/FONT]

    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=328><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=689 border=0><TBODY><TR><TD width=173 height=32>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ปาณาติบาต[/FONT]</TD><TD width=66>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]

    </TD><TD width=155>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ฆ่าสัตว์[/FONT]</TD><TD vAlign=center align=middle width=42 rowSpan=3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]</TD><TD width=223></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. อทินนาทาน[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ลักทรัพย์[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า อกุศลกายกรรม ๓[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. กามเมสุมิจฉาจาร[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผิดในกาม[/FONT]</TD><TD></TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD height=32>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. มุสาวาท[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การพูดเท็จ[/FONT]</TD><TD vAlign=center align=middle rowSpan=4>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]</TD><TD rowSpan=4>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า อกุศลวจีกรรม ๔[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. ปิสุณวาจา[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พูดส่อเสียด[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. ผรุสวาจา[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พูดคำหยาบ[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. สัมผัปปลาปะ[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พูดเพ้อเจ้อ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. อภิชฌา[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เพ่งเล็งทรัพย์ผผู้อื่น[/FONT]</TD><TD vAlign=center align=middle width=42 rowSpan=3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]</TD><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๙. พยาบาท[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การปองร้าย[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า อกุศลมโนกรรม ๓[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๐. มิจฉาทิฎฐิ[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การ[/FONT]​


    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นผิด[/FONT]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อกุศลกรรม คือ การทำบาปคนเราเกิดมาได้ทำทั้งบุญและบาปควบคู่กันไป [/FONT]
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าทำบุญมากกว่าทำบาป ชีวิตในภพใหม่ชาติใหม่ก็มีความสุข เพราะบุญให้ผลเป็นความสุข [/FONT]
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าทำบาปมากกว่าบุญ ชีวิตในภพใหม่ชาติใหม่ ก็จะประสบแต่ความทุกข์ เพราะบาปให้ผลเป็นความทุกข์ หรือได้รับความทุกข์มากกว่าความสุข สังเกตดูชีวิตของเราเอง ก็พอจะรู้ได้ว่าในอดีตนั้น เราได้ทำบุญหรือทำบาปไว้ อย่างไหนมากกว่ากัน[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรามาศึกษาในเรื่องของ อกุศลกรรม ก่อน เพื่อจะได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของบาป เรื่องของกิเลสเป็นเรื่องใหญ่ เป็นต้นเหตุที่มาแห่งความทุกข์ทั้งปวง เหมือนมะเร็งร้ายที่สามารถจะทำลายชีวิตได้ทุกเมื่อ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_02.htm


    อกุศลกรรม

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาป ทำได้ ๓ ทาง คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD height=55>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=700 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การทำบาปทางกาย [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​








    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปทางกาย เรียกว่า กายทุจริต เป็นการทำที่ไม่ดีไม่งามทางกาย ทำให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเดือดร้อนใจ ต้องรับผลของบาปที่ได้กระทำลงไป[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=470 border=1><TBODY><TR><TD width=458 bgColor=#ffece3 height=55>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปทางกาย ทำได้ ๓ อย่าง คือ[/FONT]








    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=152><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=259 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=251>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต [/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#f6f6f6>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การลักทรัพย์ [/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การประพฤติผิดในกาม [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​








    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การฆ่าสัตว์ (ปาณาติบาต) [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การฆ่าสัตว์ คือ การฆ่าสิ่งที่มีชีวิตให้ตายไปก่อนที่จะหมดอายุ จะเป็นการฆ่าด้วยตนเอง ใช้ให้ผู้อื่นฆ่าโดยใช้อาวุธใช้เครื่องประหาร ใช้คาถา อาคมไสยศาสตร์ หรือใช้ฤทธิ์ [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของอกุศลกรรมบถ ในการฆ่าสัตว์มี ๕ ประการ คือ[/FONT]






    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=379 border=0><TBODY><TR><TD width=371>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สัตว์มีชีวิต [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. รู้ว่าสัตว์นั้นมีชีวิต[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มีจิตคิดจะฆ่า[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. พยายามฆ่า[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. สัตว์นั้นตายลงเพราะความพยายามนั้น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>






    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่เข้าลักษณะ ๕ ประการ ชื่อว่า เป็นการทำบาปที่ครบองค์แห่งปาณาติบาต จะเป็นสัตว์ที่เป็นอาหาร หรือ สัตว์ที่ไม่เป็นอาหาร เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ก็ตาม ล้วนเป็นบาปทั้งสิ้น เมื่อใกล้จะตายถ้าคิดถึงบาปที่เคยฆ่าสัตว์ไว้ บาปนั้นก็สามารถนำให้ไปเกิดใน อบายภูมิ ได้[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บาปมาก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ธันวาคม 2007
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_02.htm



    อกุศลกรรม

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD height=55><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=550 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การทำบาปทางวาจา [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปทางวาจา อกุศลกรรมที่เกิดทางวาจา ชื่อว่า วจีกรรม หรือ วจีทุจริต เป็นการกระทำความไม่ดีไม่งามทางวาจา ทำความเดือดเนื้อร้อนใจ ให้กับผู้อื่นและกับตนเอง ความทุกข์ก็จะติดตามมาเป็นเงาตามตัว การทำบาปทางวาจาทำได้ ๔ อย่าง คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การพูดเท็จ (มุสาวาท) [/FONT]



    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การพูดเท็จ ได้แก่ การพูดที่ไม่จริง มีเจตนาทำให้คนอื่นเข้าใจผิดคลาดเคลื่อน จากความจริง จะเป็นการพูดด้วยตนเอง หรือ ใช้ให้ผู้อื่นพูด เขียนเรื่องราว เขียนจดหมาย เขียนบัตรสนเท่ห์ หรือประกาศทางวิทยุ [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของการพูดเท็จ มี ๔ ประการ คือ [/FONT]



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สิ่งของหรือเรื่องราวที่ไม่จริง[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีจิตคิดจะพูดเรื่องไม่จริง[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. พยายามที่จะพูดไม่จริง[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. เมื่อพูดแล้วมีคนเชื่อคำพูดนั้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่ครบองค์ประกอบ ๔ ประการ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ ถ้าผลอสุรกายหรือเดรัจฉาน เรียกว่าบาปนั้นให้ผลใน ปฏิสนธิกาล (นำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าขณะที่กำลังจะสิ้นชีวิต นึกถึงบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญนั้นจะนำเกิดมาเป็นมนุษย์ แต่ผลของบาปที่ทำไว้นี้ก็จะตาม มาให้ผลอีก ทำให้ ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์และ พิจารณาอารมณ์ ที่ไม่ดีไม่งาม เกิดมาทำให้ พูดไม่ชัด ฟันไม่เรียบ ปากมี กลิ่นเหม็น ไอตัวร้อน ตาส่อน พูดไม่ชัดถ้อยชัดคำ ท่าทางไม่สง่างาม จิตใจรวนเร กลิ่นเหม็น ไอตัวร้อน ตาส่อน พูดไม่ชัดถ้อยชัดคำ ท่าทางไม่สง่างาม จิตใจรวนเร[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การพูดส่อเสียด (ปิสุณวาจา)[/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การพูดส่อเสียด ได้แก่ การพูดที่ทำให้เขาแตกแยกกัน เป็นการพูดทำลายความ สามัคคีในหมู่คณะ ทำให้คนที่รักกันต้องเลิกล้างจากกัน ทะเลาะเบาะแว้งกัน โดยหวัง ผลประโยชน์ของตน ถ้าผู้แตกแยกนั้นเป็นบุคคลที่มีศีลธรรมจะบาปมาก เช่น การพูดยุยงให้สงฆ์แตกแยกกันไม่ทำสังฆกรรมร่วมกัน เป็นต้น [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=252><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของการพูดส่อเสียดมี ๔ ประการ คือ[/FONT]



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=192><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD width="42%" rowSpan=4>[​IMG]</TD><TD width="58%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. มีผู้ทำให้ถูกแตกแยก[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีเจตนามุ่งให้แตกแยก[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เพียรพยายามให้เขาแตกแยก[/FONT]</TD></TR><TR><TD height=44>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. เขาได้แตกแยกกันสมใจคิด[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่ครบองค์ประกอบ ๔ ประการ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ ถ้าผลของการทำบาป คือพูดส่อเสียดนั้นส่งผล เมื่อสิ้นชีวิตลงจะไปเกิดใน อบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย หรือเดรัจฉาน เรียกว่า บาปให้ผลใน ปฏิสนธิกาล (นำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าขณะที่กำลังจะสิ้นชีวิต นึกถึงบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญนั้นจะนำเกิดมาเป็นมนุษย์ ผลของบาปที่ทำไว้นี้ก็จะตาม มาให้ผลอีกทำให้ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์ และพิจารณา อารมณ์ ที่ไม่ดีไม่งาม แตกแยกจากมิตรสหาย ถูกบัณฑิตติเตียน มักถูกกล่าวหาโดยที่ไม่เป็นจริง จะเป็นผู้ตำหนิตนเองอยู่เสมอ ๆ เรียกว่า บาปให้ผลใน ปวัตติกาล [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การพูดคำหยาบ (ผรุสวาจา) [/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การพูดคำหยาบ ได้แก่ การด่าทอและการสาปแช่งต่าง ๆ ทำให้ผู้ที่ถูกด่า เกิดความเศร้าใจเสียใจเดือดร้อนใจ เป็นการกระทำที่เกิดมาจากอำนาจของความโกรธความไม่พอใจ [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของการพูดคำหยาบ มี ๓ ประการ คือ[/FONT]



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. มีความโกรธ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีผู้ถูกด่า[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มีการพูดกล่าววาจาสาบแช่งหรือด่าทอ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่ครบองค์ประกอบทั้ง ๓ ประการนี้ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ ถ้าผลของการทำบาป คือ การพูดคำหยาบส่งผล เมื่อสิ้นชีวิตสามารถนำเกิดใน อบายภูมิคือ นรก เปรต อสุรกาย หรือ เดรัจฉาน เรียกว่า ให้ผลใน ปฏิสนธิกาล (นำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าบุญเก่านำเกิด เป็นมนุษย์ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทำให้ ได้เห็น ได้ยินได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์ และพิจารณาอารมณ์ ที่ไม่ดีไม่งาม จะได้ยินได้ฟังแต่คำพูดที่ไม่ไพเราะไม่น่าพอใจ มีกายวาจาหยาบตายด้วยการหลงลืมสติ แม้มีทรัพย์สินก็จะพินาศ เรียกว่า การให้ผลใน ปวัตติกาล(หลังนำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ในกรณีที่บิดามารดา ครูอาจารย์ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ดุด่าบุตรหลานหรือศิษย์ ก็เข้าในหลัก ๓ ประการเช่นเดียวกัน แต่ก็ถือว่ามีโทษน้อย เพราะไม่มีเจตนาร้ายแรงแต่อย่างใด แต่ถ้าบุคคลใดด่าว่าผู้มีอุปการะคุณ เช่น บิดามารดา ผู้มีอุปการะคุณอื่น ๆ หรือผู้มีศีล เช่น พระภิกษุสงฆ์ สามเณร หรือแม่ชี จะมีบาปมากมีโทษมาก[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. การพูดเพ้อเจ้อ (สัมผัปปลาปะ) [/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การพูดเพ้อเจ้อ ได้แก่ การพูดที่เหลวไหลไร้สาระถือว่าเป็นการพูดที่ทำลาย ประโยชน์ และความสุขของผู้ฟัง ที่จะต้องมาฟังคำพูด ที่ไม่มีสาระแก่นสารอะไร เช่นนี้ เช่น การพูดของนักร้อง นักแสดง นักประพันธ์ ที่ไม่มีคติธรรมอะไร สอดแทรกไว้[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=160><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของการพูดเพ้อเจ้อ มี ๒ ประการ คือ[/FONT]



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=100><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=650 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="97%" border=0><TBODY><TR><TD width="1%" rowSpan=2></TD><TD width="99%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เจตนากล่าววาจาที่ไม่เป็นประโยชน์ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. กล่าววาจาที่ไม่เป็นประโยชน์[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มาทำความเข้าใจในเรื่องราวของการกล่าวสัมผัปปลาปะ ซึ่งเป็นวาจาที่ไม่เป็นประโยชน์เรียกว่า การกล่าว เดรัจฉานกถา คือ คำกล่าวที่ขัดขวางต่อ มรรค ผล นิพพาน ท่านแสดงไว้ มี ๓๒ ประการ [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=519>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="97%" border=1><TBODY><TR bgColor=#ffece3><TD colSpan=2 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เดรัจฉานกถา ๓๒ ประการ[/FONT]​




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. พูดเรื่อง พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. พูดเรื่อง โจร[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. พูดเรื่อง ราชการ การเมือง[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. พูดเรื่อง ทหาร ตำรวจ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. พูดถึง ภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. พูดเรื่อง อาวุธยุทโธปกรณ์[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. พูดเรื่อง อาหารการกิน[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. พูดเรื่อง เครื่องดื่ม สุราเมรัย[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๙. พูดเรื่อง การแต่งตัว เสื้อผ้าอาภรณ์[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๐. พูดถึงเรื่อง การหลับนอน[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๑. พูดเรื่อง ดอกไม้ การจัดประดับดอกไม้[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๒. พูดเรื่อง กลิ่นหอมต่าง ๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๓. พูดถึงเรื่อง วงศาคณาญาติ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๔. พูดเรื่อง รถ เรือ ยานพาหนะต่างๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๕. พูดถึงเรื่อง หมู่บ้าน ร้านค้าต่างๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๖. พูดเรื่อง นิคมต่าง ๆ (หมู่บ้านใหญ่,เมืองขนาดเล็ก)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๗. พูดถึงเรื่อง เมืองหลวง จังหวัด[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๘. พูดถึง ชนบท[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๙. พูดเรื่อง ผู้หญิง[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๐. พูดเรื่อง ผู้ชาย[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๑. พูดเรื่อง หญิงสาว[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๒. พูดเรื่อง ชายหนุ่ม[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๓. พูดเรื่อง วีรบุรุษ ความกล้าหาญ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๔. พูดเรื่อง ถนนหนทาง[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๕. พูดเรื่อง ท่าน้ำ แหล่งน้ำ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๖. พูดถึง ญาติ คนตายที่ล่วงลับไปแล้ว[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๗. พูดเรื่อง ต่าง ๆ นานา[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๘. พูดเรื่อง โลกและผู้สร้างโลก[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒๙. พูดเรื่อง มหาสมุทร และการสร้างมหาสมุทร[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓๐. พูดเรื่องความเจริญ และความเสื่อมต่างๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓๑. พูดเรื่อง ป่าต่าง ๆ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓๒. พูดเรื่อง ภูเขาต่าง ๆ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ท่านได้แสดงไว้ในสฬายตนสังยุตตพระบาลี ความว่า แม้พระภิกษุ ๒ รูปได้มาพบกัน การงานที่ควรประพฤติมีเพียง ๒ ประการเท่านั้น คือ [/FONT]
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. กล่าวคำเกี่ยวกับธรรมะ [/FONT]
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. นิ่งเสีย (ถ้าไม่กล่าวธรรมะ) นักศึกษาจะเห็นได้ว่าในการรักษาศีลข้อนี้ทำได้ยาก นอกจากในขณะที่เข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอยู่[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าได้กล่าวคำเพ้อเจ้อครบองค์ประกอบ ๒ ประการ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ เมื่อสิ้นชีวิตจะสามารถนำเกิดใน อบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย หรือ เดรัจฉาน ได้ เรียกว่า บาปให้ผลใน ปฏิสนธิกาล (นำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าตอนสิ้นชีวิตนึกถึงบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญนำเกิดมาเป็นมนุษย์ ผลของบาปที่ทำไว้นี้ก็จะตามมาให้ผลอีก ทำให้ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์ และพิจารณาอารมณ์ที่ไม่ดีไม่งาม จะได้ยินได้ฟังแต่คำพูดที่ไม่ไพเราะไม่น่าพอใจ จะเป็นบุคคลที่ไม่มีใครเชื่อถือในคำพูด ไม่มีอำนาจ หรือ วิกลจริต เรียกว่า บาปให้ผลใน ปวัตติกาล(ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] ผู้ใดพูดเพ้อเจ้อ เป็นเนืองนิตย์เป็นประจำ จะมีโทษมาก (บาปมาก)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] ผู้ใดพูดเพ้อเจ้อ เป็นครั้งคราว (น้อย) ก็จะมีโทษน้อย (บาปน้อย)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สรุปได้ว่า อกุศลวจีกรรม คือ การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดคำหยาบ และการพูดเพ้อเจ้อทั้ง ๔ ประการ นี้ จัดเป็น วจีกรรม[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วจีกรรม คือ อาการเป็นไปของปาก ได้แก่ การพูด หรือ การกล่าว วาจา คือ วจีวิญญัติรูป นั่นเอง[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วาจา มี ๔ ประการ[/FONT]​




    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="23%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สัททวาจา[/FONT]</TD><TD width="11%">
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ได้แก่ [/FONT]​




    </TD><TD width="66%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เสียงที่พูดออกมา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. วิรตีวาจา[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]​
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_02.htm




    อกุศลกรรม


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อได้ศึกษาทำความเข้าใจถึงการทำบาปทางกาย ทางวาจา แล้ว เหลืออีกทางหนึ่งคือทางใจ ซึ่งจะได้ศึกษาทำความเข้าใจในลำดับต่อไป
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD height=55>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=550 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การทำบาปทางใจ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [/FONT]



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อกุศลกรรมที่เกิดทางใจ ชื่อว่า มโนกรรม หรือ มโนทุจริต เป็นการทำที่ไม่ดีไม่งามทางใจ เพียงแต่คิดไว้ในใจ ยังไม่ได้กระทำบาปออกมาทางกาย วาจา ก็ได้ชื่อว่า เป็นทำบาปทางใจแล้ว เช่น การปรารถนาอยากได้หญิงอื่น ที่ไม่ใช่เป็นภรรยาของตน เรียกว่าเป็น ชู้ทางใจ เป็นต้น การทำบาปทางใจทำได้ ๓ ประการ คือ อภิชฌา พยาบาท และ มิจฉาทิฏฐิ [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การจ้องจะเอาทรัพย์ของคนอื่น มาเป็นของตน (อภิชฌา)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อภิชฌา หมายถึง ความเพ่งเล็งอยากได้ ในทรัพย์สินของผู้อื่น ต้องการที่จะเอามาเป็นสมบัติของตน องค์ธรรมได้แก่ โลภเจตสิก [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]โลภะ มี ๒ อย่าง คือ[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ความอยากได้โดยชอบธรรม [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="17%"></TD><TD width="83%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ เมื่อเกิดความอยากได้สิ่งของต่าง ๆ ขึ้นมาก็ต้องเสาะแสวงหามา โดยทางสุจริต ไม่ผิดศีลธรรม เช่น การซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือ การขอ[/FONT]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. ความอยากได้โดยไม่ชอบธรรม [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ เมื่อเกิดความอยากได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา ก็คิดหาทางที่จะขโมย ฉ้อโกง จี้ ปล้น หรือใช้กลวิธีต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งสิ่งของเหล่านั้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="74%" align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของอภิชฌา มี ๒ ประการ คือ[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=464 border=0><TBODY><TR><TD width=183>[​IMG]</TD><TD width=269><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="65%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ทรัพย์สมบัติของผู้อื่น[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีจิตคิดอยากจะได้มาเป็นของตน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่ครบองค์ประกอบทั้ง ๒ ประการนี้ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ถ้าผลของการทำบาป คือ การเพ่งเล็งอยากได้ของผู้อื่นส่งผล เมื่อสิ้นชีวิตลงจะไปเกิดใน อบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย หรือ เดรัจฉาน เรียกว่า บาปส่งผลใน ปฏิสนธิกาล [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าตอนสิ้นชีวิตนึกถึงบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญนำเกิดเป็นมนุษย์ ผลของบาปที่ทำไว้นี้ก็จะตามมาให้ผลอีก ทำให้ ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์ และ พิจารณาอารมณ์ ที่ไม่ดี ไม่งาม เมื่อมีทรัพย์และคุณความดี ก็จะทำให้ทรัพย์และคุณความดีนั้นตั้งอยู่ได้ไม่นาน ย่อมจะทำให้เกิดในตระกูลที่ต่ำ ขัดสนในลาภสักการะ มักจะได้รับการติเตียนอยู่เสมอ เรียกว่า บาปส่งผลใน ปวัตติกาล (หลังนำเกิด) [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การคิดแก้แค้น (พยาบาท)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พยาบาท คือการมุ่งร้ายต่อผู้อื่น คิดที่จะทำลายประโยชน์ และความสุขของผู้อื่น หาวิธีการที่ทำให้ผู้อื่น เกิดความพินาศเสียหาย หรือนึกสาบแช่งให้ได้รับอันตราย ต่าง ๆ ด้วยอำนาจของความโกรธแค้นที่เกิดขึ้นในใจ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="86%" align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของพยาบาท มี ๒ ประการ[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=535 border=0><TBODY><TR><TD width=199>[​IMG]</TD><TD width=324><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="98%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. มีผู้อื่น[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. คิดที่จะให้ความเสียหายเกิดกับผู้นั้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปที่ครบองค์ประกอบ ๒ ประการนี้ จัดว่าเป็นอกุศลกรรมที่สมบูรณ์ ถ้าผลของการทำบาป คือ การคิดพยาบาทส่งผล เมื่อสิ้นชีวิตลงจะไปเกิดใน อบายภูมิ คือ นรก เปรต อสุรกาย หรือ เดรัจฉาน เรียกว่า บาปให้ผลใน ปฎิสนธิกาล (นำเกิด)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าตอนสิ้นชีวิตนึกถึงบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญนำเกิดเป็นมนุษย์ ผลของบาปที่ทำไว้นี้ก็จะตามมาให้ผลอีก ทำให้ ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ได้รับอารมณ์ และพิจารณาอารมณ์ ที่ไม่ดีไม่งาม ทำให้อายุสั้น เกิดโรคภัยเบียดเบียน จะตายด้วยการถูกประหาร มีผิวพรรณที่หยาบกร้าน เรียกว่า บาปให้ผลใน ปวัตติกาล (ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_02.htm


    อกุศลกรรม




    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การเห็นผิดจากความเป็นจริง (มิจฉาทิฏฐิ) [/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มิจฉาทิฏฐิ คือ การเห็นผิดจากความเป็นจริง หรือความเห็นที่มีความวิปริตไปจากความเป็นจริง ซึ่งพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงไว้ อย่างกว้างขวาง เช่น สักกายทิฏฐิ มีความเห็นผิดว่าขันธ์ ๕ เป็นเรา เป็นต้น มิจฉาทิฏฐิ ๖๒ แสดงไว้ในพรหมชาลสูตร นิยตมิจฉาทิฏฐิ แสดงไว้ในสามัญผลสูตร เป็นต้น สำหรับความเห็นผิดในที่นี้ หมายเอาความเห็นผิดที่หยาบ ๆ ที่จะทำให้สำเร็จเป็นอกุศลกรรมบถได้ ความเห็นผิดที่ชื่อว่า มิจฉาทิฏฐิ ถือว่าเป็นหลักของความเห็นผิด เรียกว่า นิยตมิจฉาทิฏฐิ มี ๓ ประการ คือ[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑.นัตถิกทิฏฐิ (ไม่เชื่อเหตุ)[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]นัตถิกทิฏฐิ มีความเห็นว่า เมื่อได้ทำบาป ทำบุญไปแล้ว ไม่ต้องรับผล ของบาป ผลของบุญที่ได้กระทำไว้ ทำแล้วก็สูญเปล่าหายไป เช่น การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ไม่ต้องรับกรรมที่ทำ ความเห็นผิดเช่นนี้ตรงกับความเห็นผิดอีกชนิดหนึ่ง คือ[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อุจเฉททิฏฐิ ที่มีความเห็นว่า สัตว์ มนุษย์ เทวดา พรหม เมื่อตายแล้วก็สูญหมด ไม่เกิดอีก ถือว่าเป็นการเห็นผิด ที่มีโทษร้ายแรงกว่าอกุศลกรรมบถอื่น ๆ มีโทษหนักกว่าปัญจานันตริยกรรม ๕ เมื่อตายไปต้องไปเกิดเป็นสัตว์นรกขุม โลกันตนรก เป็นนรกที่แสนจะทุกข์ทรมาน ตั้งอยู่ที่ขอบจักรวาลทั้ง ๓ ที่มาบรรจบต่อเนื่องกัน มืดสนิท[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="84%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=80>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นผิด ๑๐ ประการ ที่จัดว่าเป็น นัตถิกทิฏฐิ[/FONT]





    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตามที่แสดงไว้ในสามัญผลสูตร มีดังนี้[/FONT]







    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=right width="7%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑.[/FONT]</TD><TD align=middle width="13%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD width="68%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำทาน [/FONT]</TD><TD width="12%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มีผล[/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การบูชา[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มีผล[/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การต้อนรับเชื้อเชิญ[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มีผล[/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right height=30>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำดี ทำชั่ว [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มีผล[/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผู้มาเกิดในภพนี้ [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผู้จะไปเกิดในภพหน้า[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญคุณของมารดา[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญคุณของบิดา[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๙.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ว่า ผู้ที่เกิดและโตทันทีเป็น ผี เทวดา พรหม [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR><TR><TD align=right>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๐.[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เห็นว่า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ว่า ผู้รู้แจ้งโลก ฯลฯ คือ พระพุทธเจ้า [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่มี [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คนบางคน หรือ คนส่วนใหญ่ ยังมีความเห็นผิดอย่างนี้อยู่ นับว่า เป็นอันตรายมาก ความเห็นเช่นนี้ เมื่อตายไปจะต้องไปนรกแน่นอน (จะมีตัวอย่างเรื่องคำสารภาพผิดของสัตว์นรก ๔ ตน เกิดอยู่ใน โลหกุมภีนรกซึ่งจะอยู่ในเรื่องชนกกรรมชุดที่ ๗.๒) [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]นัตถิกทิฏฐิ นี้เป็นการปฏิเสธผลของบุญ ผลของบาป คือ ปฏิเสธกุศลกรรม และอกุศลกรรม นั่นเอง [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. อเหตุกทิฏฐิ (ไม่เชื่อเหตุ)[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นผิดในอเหตุกทิฏฐิ มีความเห็นว่าคนที่กำลังได้รับความทุกข์ ความสุข ความ ผิดหวัง ความสมหวัง ความโศกเศร้าเสียใจต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นนั้น ไม่ได้เกิดมาจากเหตุที่ตนได้เคยทำบาป (อกุศล) หรือทำบุญ (กุศล) มาก่อนในอดีต ที่จริงแล้ว ความสุขความทุกข์ในปัจจุบัน เกิดมาจากบุญและบาป ที่เราได้เคยทำไว้ในอดีตทั้งสิ้น แม้การอุบัติเกิดขึ้น ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ต้องสร้างบารมีมาแล้วถึง ๓๐ ทัศ หรือแม้แต่การได้เกิดมา เป็นพระราชามหากษัตริย์ ก็เนื่องจากได้เคยกระทำบุญกุศล อันเป็นเหตุปัจจัยมาแล้ว หรือคนที่เกิดมาเป็นคนสวย ร่ำรวย มีเสน่ห์ มียศฐาบรรดาศักดิ์นั้น ก็เกิดมาจากบุญเก่า ที่ได้เคยทำไว้แล้ว หรือพระอินทร์ แม้จะรู้ว่าทิพยสมบัติที่ตนมีอยู่นั้น มีมากกว่าเทพบุตรบางองค์ในชั้นเดียวกัน แต่ท่านก็ยังแปลงกายมาเป็นคนแก่ เพื่อต้องการที่จะทำทาน สร้างกุศลอันยิ่งใหญ่กับพระอนาคามี หรือพระอรหันต์ที่พึ่งออกจากนิโรธสมาบัติ ในทันทีที่กลับไป ทิพยสมบัติทั้งหลาย ต่างก็ปรากฏรัศมีเรืองรอง เปล่งปลั่งสว่างไสวเหนือกว่า เทพบุตรองค์อื่นๆ ยิ่งขึ้น ดังนั้นถ้าต้องการบุญ ก็ต้องมาสร้างบุญ (คือ ทำเหตุ เพื่อให้เกิดผลตามที่ตนปรารถนา) เมื่อบุคคลใดมีความเห็นตรงกันข้าม กับความจริงเช่นนี้ จึงได้ชื่อว่า อเหตุกทิฏฐิ[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​






    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. อกิริยทิฏฐิ (ไม่เชื่อทั้งเหตุและผล)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อกิริยทิฏฐิ ชื่อว่า เป็นความเห็นผิดที่รวมยอด คือ เป็นทั้ง นัตถิกทิฏฐิ และ อเหตุกทิฏฐิ มารวมกัน โดยมีความเห็นว่า การกระทำต่าง ๆ นั้นไม่สำเร็จเป็นบาปเป็นบุญแต่ประการใดเลย การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีความเห็นว่าการทำความชั่ว (ทุจริต) หรือ การทำความดี (สุจริต) ทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ นั้น ไม่สำเร็จผลเป็นบาปหรือเป็นบุญแต่อย่างใด ความเห็นของบุคคลนั้นชื่อว่า อกิริยทิฏฐิ ทั้งสิ้น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นที่จัดเป็นอกิริยทิฏฐิ[/FONT]






    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="47%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] การทำดี การทำชั่ว [/FONT]</TD><TD width="26%">
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จะทำด้วยตนเอง หรือใช้ผู้อื่นทำ[/FONT]​








    </TD><TD width="27%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่ชื่อว่า[/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เป็นบาปเป็นบุญ[/FONT]





    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] การตัดอวัยวะ เฆี่ยนตีผู้อื่น [/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] การทำให้ผู้อื่นเศร้าโศกเสียใจ [/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]​






    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] การทำให้ผู้อื่นได้รับความลำบาก [/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]​






    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]​






    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC][​IMG] อกุศลกรรมบถอื่น ๆ[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]​






    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]




    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นผิดชนิดอกิริยทิฏฐินี้ เป็นความเห็นที่ปฏิเสธ กรรม อันเป็นตัวเหตุ เสียแล้ว ก็เท่ากับว่าได้ ปฏิเสธผลของกรรม ไปด้วย [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบาป [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ที่เป็นมิจฉาทิฏฐิทั้ง ๓ ซึ่งเรียกว่า นิยตมิจฉาทิฏฐิ นี้ เมื่อตายไป จะต้องไปเกิดใน นรก แน่นอน ความเห็นผิดเช่นนี้ แม้พระพุทธองค์ ก็ไม่สามารถที่จะไปช่วยเหลือ แก้ไขความเห็นผิด ของบุคคลเหล่านั้นได้ ก็ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกรรม ของบุคคลเหล่านั้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​






    </TD></TR></TBODY></TABLE>






    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=708 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทิฏฐิ กับ ปัญญา[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทิฏฐิ กับ ปัญญา มีสภาพธรรมที่ตรงกันข้าม เหมือนความ มืดกับสว่าง เหมือนคนเดินหันหลังให้กัน ต่างก็จะห่างไกลกันออกไปทุกที[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ด้านปัญญา มีความเจริญขึ้น จะรู้แจ้งในอริยสัจ ๔ โดยได้รับอุปการะจากศรัทธา วิริยะ สติ และ สมาธิ ไม่มีสิ่งใดจะมาทำลายปัญญาของผู้นั้นได้ เขาย่อมมีความเลื่อมใสเป็นพิเศษในคุณพระรัตนตรัย เชื่อในกรรมและผลของกรรม เชื่อว่าตายแล้วต้องเกิดอีก[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ด้านทิฏฐิ มีความเจริญขึ้นในทางไม่ดี โดยได้รับการสนับสนุนจาก มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ ย่อมยึดในความเห็นผิดของตน ไว้อย่างเหนียวแน่น จนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโปรดไม่ได้ เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ย่อมต้องไปเสวยทุกขเวทนาใน อเวจีมหานรก โดยแน่นอน[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ประกอบของมิจฉาทิฏฐิ มี ๒ ประการ[/FONT]​








    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เนื้อความที่ได้ยึดไว้นั้นผิดจากความจริง[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีความเห็นว่าเนื้อความนั้นเป็นความจริง[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตารางสรุปอกุศลกรรมบถ ๑๐ สงเคราะห์เข้าในมโนกรรม ๓[/FONT]





    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อภิชฌา[/FONT]













    </TD></TR></TBODY></TABLE>​






    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. อทินนาทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. กาเมสุมิจฉาจาร[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มุสาวาท[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. ปิสุณวาจา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. สัมผัปปลาปะ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. มิจฉาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พยาบาท[/FONT]








    </TD></TR></TBODY></TABLE>






    </TD></TR><TR><TD>



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ปาณาติบาต[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. อทินนาทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มุสาวาท[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. ปิสุณวาจา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. ผรุสวาจา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. สัมผัปปลาปะ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มิจฉาทิฏฐิ[/FONT]








    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD height=33></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทุจริตกรรม[/FONT]






    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทั้ง ๑๐ ประการ[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำบาปทางใจ กับ การทำอกุศลกรรมบถ ๑๐ [/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC](ขยายความ)[/FONT]




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เมื่อเกิดความโลภ (อภิชฌา) ขึ้นภายในจิตใจ ด้วยอำนาจของความโลภ จะผลักดัน ให้ทำทุจริตกรรมตามมา ถึง ๖ อย่าง ใน ๑๐ อย่าง คือ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="24%"><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ความโลภ[/FONT]







    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="76%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อเกิดความโลภอยากได้ สิ่งที่จะทำบาปตามมาก็คือ ๑. การลักขโมย ๒. การประพฤติผิดในกาม ๓. การพูดเท็จ ๔. การพูดส่อเสียดทำให้คนแตกแยกกัน ๕. การพูดเพ้อเจ้อเหลวไหลไร้สาระ ๖. การยึดถือในสิ่งที่ผิดคิดว่าเป็นสิ่งที่ถูก [/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. ความพยาบาท[/FONT]​








    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อเกิดความคิดแก้แค้น (พยาบาท) สิ่งที่จะทำบาปตามมาก็คือ ๑. การฆ่าสัตว์ ๒. การลักขโมย ๓. การพูดเท็จ ๔. การพูดส่อเสียดทำให้คนแตกแยก ๕. การพูดคำหยาบ ๖. การพูดเพ้อเจ้อเหลวไหลไร้สาระ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. ความเห็นผิด[/FONT]​







    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความเห็นผิด (มิจฉาทิฏฐิ) เมื่อเกิดความเห็นผิดเสียอย่างเดียว สิ่งที่จะทำบาปตามมานั้นทำได้ครบทั้ง ๑๐ อย่าง คือ ๑. การฆ่าสัตว์ ๒. การลักขโมย ๓. การประพฤติ ผิดในกาม ๔. การพูดเท็จ ๕. การพูดส่อเสียดทำให้คนแตกแยกกัน ๖. การพูดคำหยาบ ๗. การพูดเพ้อเจ้อเหลวไหลไร้สาระ ๘. ความเพ่งเล็งใน ทรัพย์สินของผู้อื่น ๙. ความพยาบาทปองร้าย ๑๐. ความเห็นผิดจากความเป็นจริง [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จะเห็นได้ว่า การทำอกุศล มีผลต่อผู้ทำทั้งปัจจุบันและอนาคต ผลในปัจจุบันก็คือ ในขณะที่ผู้ทำอกุศลหรือความชั่วนั้น ย่อมทำให้เกิดความเดือดเนื้อร้อนใจอย่างที่สุด และยิ่งทุกข์มากกว่านั้นอีก เมื่ออกุศลทั้งหลายส่งผลนำเกิด ย่อมทำให้ไปสู่นรก ได้รับทุกข์โทษในนรกอย่างแสนสาหัส เป็นจำนวนหลายหมื่นหลายแสนปี นับจำนวนไม่ถ้วน เมื่อสิ้นกรรมตายจากนรก ถ้าได้มาเกิดเป็นมนุษย์เศษกรรมเหล่านั้น ก็ยังตามส่งผลให้ผู้นั้นได้รับผลกรรมอีกต่าง ๆ นานับประการดังที่กล่าวมาแล้ว[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อเราทราบว่าอกุศลทั้งหลายมีอะไรบ้าง และผลแห่งอกุศลนั้นจะนำพาให้เราได้รับทุกข์รับโทษอย่างไรแล้ว เราก็มารู้จักบุญที่เรียกว่ากุศลว่ามีอะไรบ้าง และจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะด้รับผลแห่งบุญ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ธันวาคม 2007
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_03.htm

    กามาวจรกุศลกรรม

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]กามาวจรกุศลกรรม ได้แก่เจตนาที่อยู่ในมหากุศลจิต ๘ หมายถึงการทำกรรมดี ๓ ทาง คือทางกาย (กายกรรม ๓) ทางวาจา (วจีกรรม ๔) และทางใจ (มโนกรรม ๓) เรียกว่า กุศลกรรมบท ๑๐ หรือ ความดีที่ควรทำอีก ๑๐ อย่าง จะให้ผลเป็นบุญกุศล เป็นความสุขความเจริญ เช่นเดียวกัน เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๑๐[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=1><TBODY><TR><TD height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]กุศลกรรมบถ ๑๐[/FONT]​




    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="70%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]กุศลกรรมบถ ๑๐ ประกอบด้วย[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การทำความดีทางกาย (กายกรรม ๓) [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การทำความดีทางวาจา (วจีกรรม ๔)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การทำความดีทางใจ (มโนกรรม ๓)[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การทำความดีทางกาย (กายกรรม ๓) มี ๓ อย่าง คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="65%" border=1><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff height=50>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ เบียดเบียนสัตว์[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="15%"></TD><TD width="85%">
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีความตั้งใจว่าจะไม่ฆ่าสัตว์ จะไม่ทำลาย สิ่งมีชีวิตทั้งปวง จะให้ความรักความเมตตาสงสาร ความโอบอ้อมอารี ถือว่าสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย เป็นเพื่อน เกิดแก่เจ็บตาย ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับเรา ผลของบุญที่จะได้รับ เมื่อสิ้นชีวิตลงจะได้ไปสู่สุคติภพ ได้เกิด เป็นมนุษย์ หรือเทวดา เสวยทิพยสมบัติ มีรูปงาม อายุยืนนาน ผิวพรรณผ่องใสปราศ จากโรคภัยมีข้าทาสบริวาร มีกำลังวังชาแข็งแรง[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="65%" border=1><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff height=55>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. เว้นจากการ ลักทรัพย์[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีความตั้งใจว่าจะไม่ขโมยทรัพย์สินใดๆ ของผู้อื่น ที่เขามิได้ให้ ผลของบุญที่จะได้รับ เมื่อตายลง จะได้ไปสู่สุคติภพ ได้เกิดเป็นมนุษย์หรือเทวดา ทำให้ทรัพย์มั่นคง ไม่ถูกทำลาย จากภัยดังกล่าวข้างต้น [/FONT]</TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="65%" border=1><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff height=55>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>
    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีความตั้งใจว่าจะไม่ประพฤติล่วงเกิน บุตรภรรยาสามีของผู้อื่น ผลของบุญที่จะได้รับ เมื่อสิ้นชีวิตลงจะได้ไปสู่สุคติภพ ได้เกิด เป็นมนุษย์ หรือเทวดาทำให้มีครอบครัวที่อบอุ่น บุตรธิดา สามี ภรรยา รักใคร่ปรองดอง กันดี ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกัน ซื่อตรงต่อกัน ไม่คิดนอกใจกัน [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การทำความดีทางวาจา (วจีกรรม ๔) มี ๔ อย่าง คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="63%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="82%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การไม่พูดเท็จ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การไม่พูดส่อเสียด[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การไม่พูดคำหยาบ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. การไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหลไร้สาระ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผู้ที่ปกติชอบพูดเท็จพูดไม่จริงอยู่เสมอ หรือชอบพูดส่อเสียด [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ยุยงด่าว่าผู้อื่นด้วยคำหยาบคายต่าง ๆ พูดเพ้อเจ้อ เหลวไหล ไร้สาระ ครั้นเมื่อได้ศึกษาธรรมะแล้ว มีสติรู้จักผิดชอบชั่วดี มีหิริโอตตัปปะ การกล่าวเท็จ การกล่าวยุยงส่อเสียด กล่าวคำหยาบคาย หรือพูดเพ้อเจ้อเหลวไหล ที่เคยกล่าวหรือพูดมาแต่ก่อน ๆ หากหยุดเสียได้ บุญกุศลย่อมจะเกิดขึ้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="68%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]องค์ธรรมของวจีกรรม หรือ วจีวิญญัติทั้ง ๔ คือ [/FONT]


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="89%" border=0><TBODY><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สัมมาวาจาเจตสิก [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. สัมมาอาชีวเจตสิก [/FONT]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]หรือเจตนาที่เกิดในมหากุศลจิต ๘ นั่นเอง[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบุญที่จะได้รับ จากการงดเว้นวจีทุจริตกรรมทั้ง ๔ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อตายลงจะได้ไปสู่สุคติภพ ได้เกิดเป็นมนุษย์ หรือ เทวดา ได้ยินได้ฟังสิ่งที่ดีงาม ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงเชื่อ ไม่ถูกติเตียน ได้รับการยกย่องนับถือจากบุคคลทั่วไป ทรัพย์สินมั่นคง ไม่พินาศจากภัยต่าง ๆ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การทำความดีทางใจ (มโนกรรม ๓) มี ๓ อย่าง คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การไม่คิดเพ่งเล็ง อยากได้ ในทรัพย์ของคนอื่น มาเป็นของตนเอง (อนภิชฌา)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การไม่อาฆาตพยาบาท จองเวรกับใคร (อพยาปาท)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มีความเห็นถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง (สัมมาทิฏฐิ) [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำความดีทางใจ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การสำรวมจิตใจ มิให้ใจของเรา ได้ตกไปในฝ่ายที่ไม่ดี เป็นอกุศล ตั้งใจว่าจะคิดแต่สิ่งที่ดีงาม สิ่งที่เป็นกุศล ไม่เป็นโทษ เป็นพิษภัยแก่ตนเองหรือผู้อื่น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของบุญที่จะได้รับ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อสิ้นชีวิตลงจะได้ไปเกิดในสุคติภพ ได้เกิดเป็นมนุษย์หรือ เทวดา มีรูปกายที่สวยงาม มีวรรณะผ่องใส อยู่ในตระกูลในฐานะที่สูง เป็นผู้มีปัญญา เป็นไปเพื่อมรรคผลในที่สุด[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การทำความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]นอกจาก จะให้ความสุขกาย สบายใจในภพนี้แล้ว ยังจะให้ผลในภพหน้า ชาติหน้า และภพชาติต่อไป และจะเป็นปัจจัย ให้เข้าถึง ซึ่งความหมดทุกข์ต่อไปอีกด้วย [/FONT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรามาศึกษา ทำความเข้าใจรายละเอียด ของการทำคุณงามความดี ที่เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งบุญกุศล กันต่อไป[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=1><TBODY><TR><TD height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ ๑๐[/FONT]




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ คือ ความดีที่ควรทำ เพราะเป็นเหตุ เป็นที่ตั้ง แห่งผลของความดี [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="88%" align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ แบ่งเป็น ๒ นัย คือ [/FONT]​



    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="98%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="29%"><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สุตตันตนัย [/FONT]



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width="71%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เป็นการแสดงบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ที่เกิดขึ้นทางทวารทั้ง ๓ คือ กายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร รวมได้เป็น ๓๐[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. อภิธรรมนัย [/FONT]​




    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เป็นการสงเคราะห์บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ เข้าใน กุศลกรรมบถ ๑๐[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​





    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตารางแสดงบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ที่เกิดทางทวารทั้ง ๓ โดยสุตตันตนัย[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ดังนั้น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="96%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การให้ทาน[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. การอุทิศส่วนกุศล[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การรักษาศีล[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. การอนุโมทนากุศล[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การเจริญภาวนา[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. การฟังธรรม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. การอ่อนน้อมถ่อมตน[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๙. การแสดงธรรม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. การช่วยงานกุศล [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๐. ความเห็นตรงกับความจริง[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ สามารถทำได้ทั้ง ๓ ทวาร คือ กายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตารางแสดงการสงเคราะห์บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ลงในกุศลกรรมบถ ๑๐[/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตามอภิธรรมนัย[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="98%" align=left border=0><TBODY><TR><TD width="42%" bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ ๑๐[/FONT]


    </TD><TD width="58%" bgColor=#ffece3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สงเคราะห์ลงในกุศลกรรมบถ ๑๐ ได้เป็น[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=661 bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD width="42%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. การให้ทาน (ทาน)[/FONT]</TD><TD width="58%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๑ คือ อนภิชฌา การไม่เพ่งเล็งอยากได้ [/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. การรักษาศีล (ศีล)[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]กายกรรมศีล ๓ และวจีกรรมศีล ๔[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การเจริญภาวนา (ภาวนา)[/FONT]</TD><TD rowSpan=3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๒ คือ อพยาบาท และ สัมมาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. การอ่อนน้อมถ่อมตน (อปจายนะ)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. การช่วยงานกุศล (เวยยาวัจจะ)[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. การอุทิศส่วนกุศล (ปัตติทานะ)[/FONT]</TD><TD rowSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๒ คือ อนภิชฌา และ สัมมาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. การอนุโมทนา (ปัตตานุโมทนา)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. การฟังธรรม (ธัมมัสสวนะ)[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๑ คือ สัมมาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๙. การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา)[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๓ คือ อนภิชฌา อพยาบาท และ สัมมาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR><TR><TD height=68>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑๐. การมีความเห็นตรงความจริง[/FONT]
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC](ทิฏฐุชุกรรม)[/FONT]

    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มโนกรรม ๑ คือ สัมมาทิฏฐิ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_03.htm

    กามาวจรกุศลกรรม


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=1><TBODY><TR><TD height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุญกิริยาวัตถุ ๑๐[/FONT]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ทาน (การให้) [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทาน คือ การให้สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับ ลักษณะของทาน นั้นมี ๔ ประการ คือ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เป็นการให้แก่ผู้อื่น[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. เป็นการทำลายความโลภออกจากตัว[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. จะให้ความสมบูรณ์พูนสุข ในการเวียนเกิด เวียนตาย เกิดจนถึงนิพพาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. เกิดขึ้นจากศรัทธา เห็นประโยชน์ของทานก่อน การทำทานจึงเกิดขึ้น[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=55>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทาน มี ๒ อย่าง คือ[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เจตนาทาน [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. วัตถุทาน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=255 border=1><TBODY><TR><TD width=243 bgColor=#ffece3 height=55>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทาน มี ๔ อย่าง คือ[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เจตนาทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. วัตถุทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. อโลภทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. วิรตีทาน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เจตนาทาน เมื่อกล่าวโดยองค์ของทานแล้ว ได้แก่ เจตนาเจตสิก ที่ประกอบในมหากุศลจิต ๘ อันเป็นเหตุให้เกิดการทำทาน [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เมื่อจะกล่าวถึงเจตนาของการให้ทานแล้ว มี ๓ ประการ คือ[/FONT]​




    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="94%" border=0><TBODY><TR><TD width="44%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เจตนาก่อนให้ทาน[/FONT]</TD><TD width="18%">
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า[/FONT]​




    </TD><TD width="38%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปุพพเจตนาทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. เจตนาขณะให้ทาน[/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า[/FONT]​




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มุญจเจตนาทาน[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เจตนาหลังจากให้ทาน [/FONT]</TD><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เรียกว่า[/FONT]​




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อปรเจตนาทาน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]หลักของการทำทาน [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ ก่อนทำ ทาน ขณะทำ ทาน และ หลังทำ ทานแล้ว ถ้าไม่เป็นไปด้วยความโลภ ไม่เป็นไปด้วยความโกรธ ไม่เป็นไปด้วยความไม่เข้าใจ ย่อมจะได้อานิสงส์มาก [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าไม่เข้าใจในการทำบุญและผลของบุญ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]โดยสักแต่ว่าทำตาม ๆ กันไป ย่อมจะได้รับอานิสงส์น้อย [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ถ้าในกาลทั้ง ๓ มีความโลภ ความโกรธ และความไม่เข้าใจ เจือปนอยู่ด้วย [/FONT]​

    </TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ก็ย่อมจะได้ รับอานิสงส์น้อยลงตามลำดับ [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ผลของเจตนาทาน [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุคคลใดทำทานครบเจตนาทั้ง ๓ กาล คือ ก่อนทำ ขณะทำ และหลังทำ ถ้าบุญนั้น ได้โอกาสส่งผล ก็จะนำเกิดเป็นมนุษย์ และเทวดาได้ ทำให้ได้สกุล ฐานะ ทรัพย์สมบัติและบริวาร ต่างกันไป ตามกำลังของบุญที่ทำไว้ ในอปทานพระบาลี ท่านแสดงไว้ว่า การถวายดอกไม้เพียงดอกเดียว ไม่ต้องตกนรกถึง ๘๐ โกฏิชาติ เวียนเกิดเวียนตายในมนุษยโลก และเทวโลก ไม่ขาดสายตลอดเวลา ๘๐ โกฏิชาต[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]พระพุทธโฆษาจารย์ ได้กล่าวสรรเสริญการให้ทานว่า [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_03.htm


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ต่อไปเราจะมาศึกษา และทำความเข้าใจ ในเรื่องของศีล เพื่อให้เกิดความงดงามยิ่งขึ้น[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. ศีล (การงดเว้นทำบาป)[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีล คือ ธรรมชาติที่ทำให้กายกรรม วจีกรรม ตั้งไว้ด้วยดี ก็คือศีลนั้นมีหน้าที่ รักษากาย วาจา ไม่ให้เป็นไปในทางทุจริตนั่นเอง หรือ ศีล คือ ธรรมชาติที่ทรงไว้ซึ่งกุศลธรรม ได้แก่ สมาธิ ปัญญา และวิมุตติ เรื่องของศีลเน้นอยู่ที่ กาย วาจา มิให้กาย วาจา ไปกระทำบาปทุจริตกรรม คือ การงดเว้นจากการทำบาปทั้งปวง [/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 border=1><TBODY><TR><TD width=668 bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ประเภทของศีล[/FONT]



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=4>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีล มี ๔ ประเภท คือ[/FONT]</TD></TR><TR><TD width="2%" bgColor=#ffffff></TD><TD vAlign=top width="24%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ภิกขุศีล [/FONT]</TD><TD vAlign=top width="3%">
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]​




    </TD><TD width="71%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีลของพระภิกษุ มี ๒๒๗ ข้อ ที่ได้แสดงไว้ในปาติโมกข์[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. ภิกขุณีศีล [/FONT]</TD><TD vAlign=top>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]​




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีลของภิกษุณี มี ๓๑๑ ข้อ ที่ได้แสดงไว้ในปาติโมกข์ เช่นเดียวกัน[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. สามเณรศีล [/FONT]</TD><TD vAlign=top>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]​




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีลของสามเณร มี ๑๐ ข้อ[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. คฤหัสถศีล [/FONT]</TD><TD vAlign=top>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]​




    </TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ศีลของผู้ครองเรือน มี ๕ ข้อ ได้แก่ ศีล ๕ [/FONT]</TD></TR><TR><TD colSpan=4>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ภิกขุศีล ภิกขุณีศีล และ สามเณรศีล ไม่ต้องมีการสมาทาน ส่วนคฤหัสถศีล ต้องมีการสมาทาน [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=350 align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]นิจศีล และ อนิจศีล[/FONT]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="95%" align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="12%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]นิจศีล [/FONT]</TD><TD width="88%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วาริตตศีล คือ ศีลที่สมาทานครั้งเดียวแล้ว รักษาตลอดไปเป็นนิตย์[/FONT]


    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ไม่ต้องสมาทานอีก เมื่อสมาทานแล้วไม่รักษาย่อมจะมีโทษ (มีบทลงโทษ)[/FONT][FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] ได้แก่ ศีลของพระภิกษุ ๒๒๗ ศีลของภิกษุณี ๓๑๑ ศีลของสามเณร ๑๐ ศีลของอุบาสก อุบาสิกา ผู้นุ่งขาวห่มขาว (แม่ชี) อุโบสถศีล หรือ ศีล ๘ [/FONT]

    </TD></TR><TR><TD></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สำหรับศีล ๕ ถือว่าเป็นศีลของคฤหัสถ์ทั้งหลายด้วย[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อนิจศีล [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จาริตตศีล คือ ศีลที่ต้องสมาทาน ถ้าไม่รักษาก็ไม่มีโทษ เช่น การประพฤติธุดงค์ ๑๓ ข้อ ของพระภิกษุ สามเณร [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สำหรับ อุโบสถศีล หรือ ศีล ๑๐ ที่สามเณรรักษาอยู่ ถือว่าเป็น อนิจศีล ด้วย[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อนึ่ง ศีลอีกประเภทหนึ่ง ที่เราไม่ค่อยจะคุ้นเคยกัน คือ อาชีวัฏฐมกศีล เป็นศีล ๘ อีกประเภทหนึ่ง ที่ไม่ต้องอดอาหารมื้อเย็น เหมาะสำหรับผู้ที่ยังห่วงใย เกี่ยวกับสุขภาพของตน ซึ่งมีความแตกต่างกับศีล ๘ หรือ อุโบสถศีล เล็กน้อย คือ[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีล และ อาชีวัฏฐมกศีล[/FONT]



    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=680 border=1><TBODY><TR><TD width="48%" bgColor=#ffece3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อุโบสถศีล[/FONT]


    </TD><TD width="52%" bgColor=#ffece3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อาชีวัฏฐมกศีล[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=310 border=0><TBODY><TR><TD width=331>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. เว้นจากการลักทรัพย์ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เว้นจากการก้าวล่วงในพรหมจรรย์[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. เว้นจากการพูดเท็จ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. เว้นจากการรับประทานอาหาร ในยามวิกาล[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. เว้นจากการตบแต่งเครื่องหอม เครื่องย้อม เครื่องทา [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. เว้นจากการนอนเหนือที่นอนอันสูงใหญ่[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=341 border=0><TBODY><TR><TD width=339>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. เว้นจากการลักทรัพย์[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. เว้นจากการพูดเท็จ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. เว้นจากการพูดส่อเสียด [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. เว้นจากการพูดคำหยาบ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๘. เว้นจากการประกอบอาชีพ ที่พระพุทธองค์ ทรงห้าม [/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ ค้าสัตว์เพื่อเอาไปฆ่า ค้ามนุษย์ ค้าอาวุธ ค้ายาพิษ ค้าสุราและเมรัย [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=450 align=left border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การงดเว้นจากการทำบาป ๓ (วิรัติ ๓)[/FONT]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การงดเว้นทำบาป (วิรัติ) ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ มี ๓ ประการ คือ[/FONT]​
    </TD></TR><TR><TD>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. งดเว้นด้วยการสมาทาน หรือ สัมปัตตวิรัต[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เป็นการงดเว้นเฉพาะหน้าเมื่อมีอารมณ์สิ่งยั่วยุให้ กระทำบาป[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิธีทำใจ ให้นึกถึงชาติกำเนิดของเรา ไม่เคยมีประวัติ ในการทำความชั่ว ความเสียหายมาก่อน อายุก็ปานนี้แล้ว ใกล้ตายเข้าไปทุกวัน ๆ ถ้าไปทำชั่ว ก็ไม่มีเวลาที่จะแก้ตัวทำความดีอีกแล้ว ทั้งก็เป็นผู้ที่ผ่านการศึกษามามาก น่าละอายแก่ใจที่จะทำความชั่วลงไป การงดเว้นไม่ทำชั่ว โดยคิดได้อย่างนี้ชื่อว่า สัมปัตตวิรัติ ได้แก่ วิรตีเจตสิกที่ประกอบในมหากุศลจิต ๘[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. งดเว้นด้วยการสมาทาน หรือ สมาทานวิรัติ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ได้แก่ การกล่าวงดเว้นในขณะที่สมาทานศีลของ อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่ เจตนาเจตสิกในมหากุศลจิต ๘ เช่นเดียวกัน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. การงดเว้นจากการทำบาปโดยเด็ดขาด หรือ สมุจเฉทวิรัติ [/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การงดเว้นของพระอริยบุคคล มี พระโสดาบัน เป็นต้น อันได้แก่ เจตนาเจตสิกในมรรคจิต ๔[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD height=46>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=384 align=left border=1><TBODY><TR><TD width=374 bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คุณลักษณะและประโยชน์ ของศีล[/FONT]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. เป็นที่ตั้งแห่งกุศลธรรมทั้งปวง [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อุปมาเสมือนแผ่นดิน ย่อมเป็นที่ตั้ง ของสรรพสิ่งทั้งหลาย ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีการไม่กระทำในสิ่งที่ผิดศีล [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เหมือนกับคนไข้[/FONT] [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ย่อมไม่รับประทานของ ที่แสลงกับโรค[/FONT] </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มีกาย วาจา ที่บริสุทธิ์[/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ ไม่ทำบาป (สิ่งไม่บริสุทธิ์) ด้วยกาย วาจา [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป (หิริโอตตัปปะ) [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เป็นต้นเหตุทำให้เกิดศีล[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. ความไม่โกรธ (อโทสะ) [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ความไม่ประทุษร้าย จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการรักษาศีล[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. ย่อมเป็นอุปนิสัยให้ได้มรรคเบื้องต่ำ ๓ [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค เมื่อเป็นมหากุศลที่มีทาน ศีล รองรับแล้ว จะเป็นอุปนิสัยต่ออรหัตตมรรค อรหัตตผล เมื่อมีมหากุศลภาวนา รองรับ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ธันวาคม 2007
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_03.htm

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. ภาวนา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ภาวนา คือ การทำกุศลอันประเสริฐให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ชื่อว่า ภาวนา หรือ ธรรมชาติใดที่ทำให้กุศลที่ประเสริฐ เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก แล้วทำให้เจริญขึ้น ชื่อว่า ภาวนาในปริจเฉทที่ ๙ แบ่งคำว่า ภาวนา ออกเป็น ๒ คือ สมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา อันได้แก่ โลกียกุศลและโลกุตตรกุศล[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สำหรับคำว่า ภาวนา ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ หมายถึงมหากุศลจิตอย่างเดียว อันได้แก่ การที่ทำให้ปัญญาเกิดขึ้น เช่น การเรียนการสอนธรรมะ ตลอดจนการพิจารณาใคร่ครวญธรรมะต่าง ๆ จัดเข้าเป็นภาวนา ในบุญกิริยาวัตถุทั้งสิ้น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=65><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=430 border=1><TBODY><TR><TD width=420 bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คุณลักษณะและประโยชน์ของภาวนา[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ทำให้กุศลธรรมทั้งหลายเจริญขึ้น [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จนถึงอรหัตตมรรคและอรหัตตผล เหมือนน้ำย่อมทำให้พืชพันธุ์ ธัญญาหาร เจริญงอกงามจนกระทั่งผลิดอกออกผล[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีการประหาณทำลายบาปอกุศลที่เกิดขึ้น [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เหมือนเครื่องตัดหรือเครื่องประหาร[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. เป็นสื่อนำเข้าสู่การเจริญสติปัฏฐานรูปนาม [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ให้ถึงซึ่งโลกุตตรธรรม[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. มีการใส่ใจในอารมณ์ที่ถูกที่ควรไว้ก่อน [/FONT]</TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ภาวนากุศลจึงจะเกิดขึ้นได้[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. อปจายนะ (การเคารพนอบน้อม)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อปจายนะ คือ การเคารพนอบน้อม ต่อบุคคลที่ควรเคารพนอบน้อม โดยมิได้หวัง ลาภ ยศ สักการะแต่อย่างใด ถ้าการเคารพนอบน้อม โดยหวังสิ่งตอบแทนดังกล่าว ไม่ชื่อว่าเป็นอปจายน แต่เป็นมารยาสาไถยไป [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=250 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อปจายนะ มี ๒ อย่าง คือ [/FONT]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="25%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. สามัญอปจายนะ [/FONT]</TD><TD width="80%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การแสดงความเคารพนอบน้อมต่อ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ ซึ่งเรามีหน้าที่ ที่จะต้องให้ความเคารพนอบน้อมต่อท่าน เพราะท่านเป็นผู้ใหญ่ เป็นครูอาจารย์ของเรา[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. วิเสสอปจายนะ [/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การแสดงความเคารพนอบน้อมในพระรัตนตรัย ด้วยการระลึกถึงพระคุณต่าง ๆ เช่น พระพุทธเจ้าเป็นผู้ห่างไกลจากกิเลส เป็นต้น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="25%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. คุณวุฒิบุคคล [/FONT]</TD><TD vAlign=top width="4%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]</TD><TD width="76%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่ง ศีลคุณ สมาธิคุณ และปัญญาคุณ[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. วัยวุฒิบุคคล [/FONT]</TD><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่งอายุ ได้แก่ ผู้ที่เกิดมานานมีอายุมาก[/FONT]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. ชาติวุฒิบุคคล [/FONT]</TD><TD vAlign=top>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ[/FONT]</TD><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่ง ชาติตระกูล หรือวงศ์สกุล[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วุฒิทั้ง ๓ ประเภทดังกล่าวนั้น บางท่านก็เป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิครบทั้ง ๓ ประเภท คือ คุณวุฒิ วัยวุฒิ และชาติวุติ เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางท่านก็มี ๒ ประเภท คือ คุณวุฒิ กับ วัยวุฒิ เช่น พระอริยสงฆ์ที่มาจากตระกูลสามัญ หรือ คุณวุฒิ กับ ชาติวุฒิ เช่น พระราหุล หรือวัยวุฒิ กับ ชาติวุฒิ เช่น พระเจ้าสุปปพุทธ บางท่านก็เป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิได้เพียงอย่างเดียว [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ในการแสดงความนอบน้อม ผู้มีคุณวุฒิไม่ต้องแสดงความเคารพ ด้วยการกราบต่อผู้มีวุฒิบุคคลอื่น ๆ เพราะเป็นผู้เพรียบพร้อมด้วย ศีล สมาธิ และปัญญา อยู่แล้ว ถ้าผู้มีคุณวุฒิไปแสดงความเคารพด้วยการกราบแล้ว ผู้ได้รับการเคารพ จะมีโทษทั้งภพนี้ และภพหน้า กระทำเพียงอัญชลี (ไหว้) เท่านั้น เช่นในเรื่องจันทกุมาร ในขณะที่พระโพธิสัตว์ ทรงพบกับพระราชบิดานอกเมือง ซึ่งถูกประชาชนเนรเทศให้ออกไป พระโพธิสัตว์ก็มิได้ทรงกราบแต่อย่างใด เพียงแต่ทรงกระทำอัญชลี เท่านั้น[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อานิสงส์ของอปจายนะ (การเคารพนอบน้อม) [/FONT]

    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๑. ทำให้เป็นผู้มีความรู้ ความฉลาดในธรรม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๒. มีอายุยืน และมีผิวพรรณงดงาม[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๓. มีความสุขกายสุขใจ[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๔. มีเกียรติยศชื่อเสียง[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. มีกำลังกายและกำลังปัญญา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. เมื่อจากโลกนี้ย่อมไปสู่สุคติ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๕. เวยยาวัจจะ (การช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เวยยาวัจจะ ได้แก่ การช่วยเหลือในกิจการงาน ที่เกี่ยวกับกุศลต่าง ๆ หรือ การช่วยเหลือทำการงานต่าง ๆ ที่ไม่มีโทษ งานที่เกี่ยวกับกุศล เช่น ปริยัติ ปฏิบัติ การบริจาคทาน การปฏิสังขรณ์ การทำความสะอาดวัดวาอาราม ปูชนียสถานงานอื่น ๆ ที่เป็นงานทางโลก ที่ไม่มีโทษ เช่น เป็นงานของ บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง บุตร ธิดา จัดเข้าเป็นเวยยาวัจจะทั้งหมด[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๖. ปัตติทาน (การอุทิศส่วนกุศล)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปัตติทาน คือ การอุทิศส่วนบุญกุศลไปให้ บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติ พี่น้อง และ สรรพสัตว์ทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้ว อันได้แก่เจตนาที่อยู่ในมหากุศลจิต ที่เกิดขึ้น ในขณะที่ตั้งใจอุทิศส่วนบุญกุศล ที่เราได้กระทำมาแล้ว มีการบริจาคทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา เมื่อได้อุทิศให้แล้ว มิใช่จะลดน้อยถอยลงหรือหมดไป มีแต่จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นลำดับ อุปมาเหมือนการต่อแสงเทียนไปเรื่อย ๆ เป็นร้อยเป็นพันเล่ม แสงเทียนที่เทียนเล่มแรก ก็ยังไม่ดับหรือหมดไปแต่อย่างใด แต่แสงเทียนที่เกิดจากการต่อเทียนไปเป็นจำนวนมาก กลับจะทำให้เกิดความสว่างไสวยิ่งขึ้น [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ธันวาคม 2007
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.buddhism-online.org/Section07A_03.htm


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]๗. ปัตตานุโมทนา (การอนุโมทนาบุญ)[/FONT]</TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ การน้อมรับส่วนบุญที่อุทิศให้ อันได้แก่ บุญกุศลที่คนทั้งหลายได้ทำแล้ว มีทาน ศีล ภาวนา เป็นต้นแล้วอุทิศให้แก่คนอื่น ๆ จะโดยกล่าวให้ด้วยวาจา หรือเขียนเป็นตัวอักษรก็ตาม จิตของบุคคลผู้รับเกิดความโสมนัสขึ้น แล้วกล่าวคำว่า สาธุ ย่อมสำเร็จเป็นกุศลปัตตานุโมทนาแล้ว หรือ การยินดีในบุญที่ บุคคลอื่นได้ทำสำเร็จแล้ว เช่น การเห็นบุคคลอื่นเขากำลังทำบุญกุศลอยู่ หรือเห็นปูชนียสถาน ที่เป็นวัตถุก่อสร้างจารึกชื่อผู้สร้างอุทิศถวายแล้ว เกิดปีติโสมนัส ขึ้นมาได้เปล่งวาจาสาธุ อนุโมทนาบุญกับเขา ก็ได้ชื่อว่า เป็นปัตตานุโมทนา [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ในสมัยพุทธกาล เปรตซึ่งเป็นญาติของพระเจ้าพิมพิสาร ได้พากันส่งเสียงร้องโหยหวน เพราะพระเจ้าพิมพิสาร ไม่ได้แผ่ส่วนบุญไปให้ ในสมัยที่ได้สร้างวัดเวฬุวันถวาย แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์จึงบอกให้อุทิศส่วนบุญกุศล ไปยังญาติทั้งหลายเหล่านั้น เปรตซึ่งอดีตเคยเป็นญาติ กับพระเจ้าพิมพิสาร เมื่อได้รับบุญกุศลแล้ว ก็พ้นจากความเป็นเปรต [/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]การกล่าวคำแผ่บุญกุศล ชนิดเจาะจงให้ผู้รับ คือ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ธันวาคม 2007
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.geocities.com/dokgaewthailand/p5/070.htm

    เฉพาะอกุสลกรรมบถข้อ ๑๐ มิจฉาทิฏฐิ นั้น มีความหมายดังนี้
    <?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    มิจฺฉา ปสฺสตีติ มิจฺฉาทิฏฺฐิฯ ธรรมชาติใดที่มีความเห็นวิปริตอันผิดไปจาก ความเป็นจริง นั่นแหละชื่อว่า มิจฉาทิฏฐิ องค์ธรรมได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก<O:p></O:p>
    มิจฉาทิฏฐิ มีอยู่หลายประเภท เช่น
    <O:p></O:p>
    สักกายทิฏฐิ ๒๐ มีความยึดมั่นในขันธ์ ๕ อย่างใดอย่างหนึ่งว่าเป็นตัว เป็นตน เป็นเขา เป็นเรา
    <O:p></O:p>
    มิจฉาทิฏฐิ ๖๒ ที่แสดงไว้ในพรหมชาลสูตรแห่งสีลขันธวัคค
    <O:p></O:p>
    นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ ที่แสดงไว้ใน สามัญญผลสูตร แห่งสีลขันธวัคค
    <O:p></O:p>
    สำหรับมิจฉาทิฏฐิ ที่กล่าวในมโนทุจริตกรรมนี้ มุ่งหมายเฉพาะนิยตมิจฉาทิฏฐิ ทั้ง ๓ ที่สำเร็จเป็นกรรมบถ
    <O:p></O:p>
    นิยตมิจฉาทิฏฐิ มีชื่อเรียกอีกนัยหนึ่งว่า มิจฉัตตนิยตะนั้น มี ๓ คือ<O:p></O:p>
    ๑. อเหตุกทิฏฐิ มีความเห็นว่า สัตว์ทั้งหลายที่กำลังเป็นไปอยู่นั้น ไม่ได้อาศัย เนื่องมาจากเหตุแต่อย่างใด (ไม่เชื่อเหตุ อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ ๒)<O:p></O:p>
    ๒. นัตถิกทิฏฐิ มีความเห็นว่า การทำอะไร ๆ ก็ตาม ผลที่จะได้รับนั้นย่อม ไม่มี (ไม่เชื่อผล อุจเฉททิฏฐิ ๗)<O:p></O:p>
    ๓. อกริยทิฏฐิ มีความเห็นว่า การที่สัตว์ทั้งหลายกระทำกิจการต่าง ๆ นั้น ไม่ สำเร็จเป็นบุญ หรือเป็นบาปแต่อย่างใดเลย (ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล สัสสตทิฏฐิ ๔)
    <O:p></O:p>
    มิจฉาทิฏฐิ ๖๒ จำแนกเป็นสาขาใหญ่ ๒ สาขา
    คือ ปุพพันตกัปปิกทิฏฐิ ๑ และ อปรันตกัปปิกทิฏฐิ ๑<O:p>

    ปุพพันตกัปปิกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุในอดีต มี ๑๘ คือ<O:p></O:p>
    ๑. สัสสตทิฏฐิ ๔ เห็นว่า อัตตาและโลกเที่ยง (อกริยทิฏฐิ)<O:p></O:p>
    ๒. เอกัจจสัสสตเอกัจจอสัสสตทิฏฐิ ๔ เห็นว่า อัตตา และโลกบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง<O:p></O:p>
    ๓. อันตานันติกทิฏฐิ ๔ เห็นว่าโลกมีที่สุด และไม่มีที่สุด<O:p></O:p>
    ๔. อมราวิกเขปิกทิฏฐิ ๔ ความเห็นซัดส่าย ไม่ตายตัว จะว่าใช่ก็ไม่เชิง จะว่าไม่ใช่ก็ไม่เชิง<O:p></O:p>
    ๕. อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ ๒ เห็นว่า อัตตา และโลกเกิดขึ้นลอย ๆ ไม่มีเหตุ (อเหตุกทิฏฐิ)
    <O:p></O:p>
    อปรันตกัปปิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผลในอนาคต มี ๔๔ คือ<O:p></O:p>
    ๑. สัญญีวาททิฏฐิ ๑๖ เห็นว่า อัตตาไม่เสื่อมสลาย ตายแล้วมีสัญญา<O:p></O:p>
    ๒. อสัญญีวาททิฏฐิ ๘ เห็นว่า อัตตาไม่เสื่อมสลาย ตายแล้วไม่มีสัญญา<O:p></O:p>
    ๓. เนวสัญญีนาสัญญีวาททิฏฐิ ๘ เห็นว่า อัตตาไม่เสื่อมสลาย เมื่อตายแล้ว มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่เชิง<O:p></O:p>
    ๔. อุจเฉททิฏฐิ ๗ เห็นว่า ตายแล้วสูญ (นัตถิกทิฏฐิ)<O:p></O:p>
    ๕. ทิฏฐธัมมนิพพานวาททิฏฐิ ๕ เห็นว่า พระนิพพานมีในปัจจุบัน (คือ ๑.ว่ากามคุณ ๕ เป็นพระนิพพาน, ๒.ว่าปฐมฌาน, ๓.ว่าทุติยฌาน, ๔.ว่าตติยฌาน, ๕.ว่าจตุตถฌาน เป็นพระนิพพาน)<O:p></O:p>
    <BIG>
    </BIG>
    [​IMG]<SMALL><SMALL>
    </SMALL>จัดทำโดย มูลนิธิอภิธรรมมูลนิธิ<SMALL>
    </SMALL></SMALL>
    </O:p>
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/มิจฉาทิฐิ

    มิจฉาทิฐิ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    มิจฉาทิฐิ หรือ มิจฉาทิฏฐิ หมายถึง เห็นผิด ความเห็นที่ผิดจากคลองธรรม เช่น
    • ทานที่ให้แล้วไม่มีผล
    • ยัญที่บูชาแล้วไม่มีผล
    • การบวงสรวงไม่มีผล
    • ผลวิบากแห่งกรรมดี กรรมชั่วไม่มี
    • โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี
    • มารดาไม่มี บิดาไม่มี
    • สัตว์ทั้งหลายที่ผุดเกิดขึ้นไม่มี
    • สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ กระทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกหน้าด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้ว สั่งสอนประชุมชนให้รู้ตาม ไม่มีในโลก
    [แก้] ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ

    ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อย่าง ได้แก่
    • ปรโตโฆสะ คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
    • อโยนิโสมนสิการ คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้ปัญญาพิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้อวิชาครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า โยนิโสมนสิการ
    [แก้] อ้างอิง

    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>มิจฉาทิฐิ เป็นบทความเกี่ยวกับ ศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ มิจฉาทิฐิ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 6987/2048000 bytesPost-expand include size: 6546/2048000 bytesTemplate argument size: 109/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:40002-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071222022751 -->
    ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%90%E0%B8%B4".
    หมวดหมู่: หลักธรรมในพุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | บทความเกี่ยวกับ ศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/สัมมาทิฐิ

    สัมมาทิฐิ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    สัมมาทิฐิ แปลว่า ความเห็นถูกต้อง หมายถึงความเห็นที่ถูกคลองธรรม เห็นตามความเป็นจริงเป็นความเห็นที่เกิดจากโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยปัญญา คำนี้ในวงวัดส่วนใหญ่เขียนตามของเดิมว่า สัมมาทิฏฐิ
    สัมมาทิฐิ ที่เป็นอริยมรรคมีองค์ 8 หมายถึง ความเห็นในอริยสัจ คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทัย เห็นนิโรธ เห็นมรรค
    สัมมาทิฐิ ที่เป็นมโนสุจริตหมายถึง ความเห็นถูกต้อง 10 อย่าง คือเห็นว่าการให้ทานมีผลจริง การบูชามีผลจริง การเคารพบูชามีผลจริง ผลวิบากของกรรมดีกรรมชั่วมีจริง คุณของมารดามีจริง คุณของบิดามีจริง พวดโอปปาติกะ (พวกเกิดทันทีเช่นเทวดา) มีจริง สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน รู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเองแล้วสอนให้ผู้รู้ตามด้วยมีจริง

    [แก้] ข้อความอ้างอิง

    • <SMALL>จาก มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐</SMALL>
    ก็สัมมาทิฏฐิเป็นไฉน ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อันนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ

    [แก้] ดูเพิ่ม

    สัมมาทิฏฐิสูตร - วิกิซอร์ซ

    [แก้] อ้างอิง

    <!-- Pre-expand include size: 3411/2048000 bytesPost-expand include size: 3409/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:43567-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071222003951 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%90%E0%B8%B4".
    หมวดหมู่: พุทธศาสนา | อภิธานศัพท์พุทธศาสนา | อริยสัจ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikisource.org/wiki/สัมมาทิฏฐิสูตร

    สัมมาทิฏฐิสูตร

    จาก วิกิซอร์ซ


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->ด้วยเหตุเพียงเท่าไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้
    1. รู้ชัดซึ่งอกุศลและรากเง่าอกุศล รู้ชัดซึ่งกุศลและรากเง่าของกุศล
    2. รู้ชัดซึ่งอาหารเหตุเกิดแห่งอาหาร ความดับอาหาร และทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร
    3. รู้ชัดซึ่งทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
    4. รู้ชัดซึ่งชราและมรณะ เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ความดับชราและมรณะ และทางที่จะให้ถึงความดับชรา และมรณะ
    5. รู้ชัดซึ่งชาติ เหตุเกิดแห่งชาติ ความดับชาติ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ
    6. รู้ชัดซึ่งภพ เหตุเกิดแห่งภพ ความดับภพ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ
    7. รู้ชัดซึ่งตัณหา เหตุเกิดแห่งตัณหา ความดับแห่งตัณหา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา
    8. รู้ชัดซึ่งเวทนา เหตุเกิดแห่งเวทนา ความดับเวทนา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา
    9. รู้ชัดซึ่งผัสสะ เหตุเกิดแห่งผัสสะ ความดับผัสสะ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ
    10. รู้ชัดซึ่งอายตนะ ๖ เหตุเกิดแห่งอายตนะ ๖ ความดับแห่งอายตนะ ๖ และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะ ๖
    11. รู้ชัดซึ่งนามรูป เหตุเกิดแห่งนามรูป ความดับนามรูป และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูป
    12. รู้ชัดซึ่งวิญญาณ เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ความดับวิญญาณ และทางที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ
    13. รู้ชัดซึ่งสังขาร เหตุเกิดแห่งสังขาร ความดับสังขาร และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับสังขาร
    14. รู้ชัดซึ่งอวิชชา เหตุเกิดแห่งอวิชชา ความดับอวิชชา และปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา
    15. รู้ชัดซึ่งอาสวะ อาสวสมุทัย อาสวนิโรธ อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา
    เมื่อใด อริยสาวกรู้ชัดอย่างนี้ เมื่อนั้น ท่านละราคานุสัย บรรเทาปฏิฆานุสัย ถอนทิฏฐานุสัย และมานานุสัยว่า เรามีอยู่โดยประการทั้งปวงละอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ ในปัจจุบันนี้เทียว แม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นดำเนินไปตรงแล้ว ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้
    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้ไข] อกุศล

    อกุศล ได้แก่
    1. ฆ่าสัตว์
    2. ลักทรัพย์
    3. ประพฤติผิดในกาม
    4. พูดเท็จ
    5. พูดส่อเสียด
    6. พูดคำหยาบ
    7. พูดเพ้อเจ้อ
    8. อยากได้ของผู้อื่น
    9. ปองร้ายเขา
    10. เห็นผิด
    รากเง่าของอกุศล ได้แก่
    1. โลภะ
    2. โทสะ
    3. โมหะ
    [แก้ไข] กุศล

    กุศล ได้แก่
    1. ความเว้นจากฆ่าสัตว์
    2. ความเว้นจากลักทรัพย์
    3. ความเว้นจากประพฤติผิดในกาม
    4. ความเว้นจากพูดเท็จ
    5. ความเว้นจากพูดส่อเสียด
    6. ความเว้นจากพูดคำหยาบ
    7. ความเว้นจากพูดเพ้อเจ้อ
    8. ความเว้นจากไม่อยากได้ของผู้อื่น
    9. ความเว้นจากไม่ปองร้ายเขา
    10. เห็นชอบ
    รากเง่าของกุศล ได้แก่
    1. อโลภะ
    2. อโทสะ
    3. อโมหะ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8...B8%95%E0%B8%A3

    สัมมาทิฏฐิสูตร

    จาก วิกิซอร์ซ

    อาหาร
    อาหาร เพื่อความดำรงอยู่ของหมู่สัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์เหล่าสัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด อาหารสี่อย่าง คือ
    1. อาหาร คือ คำข้าว หยาบหรือละเอียด
    2. อาหาร คือ ผัสสะ
    3. อาหาร คือ ความคิดอ่าน (เจตนา จงใจ)
    4. อาหาร คือ วิญญาณ (ความรู้แจ้งทางทวารหก)
    เหตุเกิดแห่งอาหารย่อมมีเพราะตัณหาเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับอาหารย่อมมีเพราะตัณหาดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับอาหาร

    [แก้ไข] ทุกข์

    ทุกข์ ได้แก่
    1. ความเกิด
    2. ความแก่
    3. ความตาย
    4. ความแห้งใจ
    5. ความพิไรรำพัน
    6. ความไม่สบายกาย
    7. ความเสียใจ
    8. ความคับแค้นใจ
    9. ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก
    10. ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก
    11. ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สมหวัง
    แต่ละอย่างๆ ล้วนเป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นทุกข์
    ทุกขสมุทัย ได้แก่ ตัณหาอันทำให้เกิดในภพใหม่ ประกอบด้วยความกำหนัด ด้วยสามารถ แห่งความเพลินเพลิดเพลินยิ่ง ในอารมณ์นั้นๆ คือ
    1. กามตัณหา
    2. ภวตัณหา
    3. วิภวตัณหา
    ทุกขนิโรธ ได้แก่ความดับด้วยสามารถแห่งความสำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความวาง ความปล่อย ความไม่พัวพัน แห่งตัณหา
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด เรียกว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา

    [แก้ไข] ชราและมรณะ

    ชรา ได้แก่ ความแก่ ความคร่ำคร่า ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่น ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
    มรณะ ได้แก่ ความเคลื่อนไป ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความแตกแห่งขันธ์ ความทิ้งซากศพไว้ ความขาดไปแห่งชีวิตินทรีย์จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
    ดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า ชราและมรณะ
    เหตุเกิดแห่งชราและมรณะ ย่อมมีเพราะชาติเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับชราและมรณะ ย่อมมีเพราะชาติดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชราและมรณะ

    [แก้ไข] ชาติ

    ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลง เกิด เกิดเฉพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่า ชาติ
    เหตุเกิดแห่งชาติย่อมมีเพราะภพเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับชาติย่อมมี เพราะภพดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับชาติ

    [แก้ไข] ภพ

    ภพ ได้แก่ ภพสาม เหล่านี้ คือ
    1. กามภพ
    2. รูปภพ
    3. อรูปภพ
    เหตุเกิดแห่งภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับภพ ย่อมมีเพราะอุปาทานดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับภพ

    [แก้ไข] ตัณหา

    ตัณหา ได้แก่ ตัณหาหกหมวดเหล่านี้ คือ
    1. ตัณหาในรูป
    2. ตัณหาในเสียง
    3. ตัณหาในกลิ่น
    4. ตัณหาในรส
    5. ตัณหาในโผฏฐัพพะ
    6. ตัณหาในธรรม(ธรรมารมณ์ ความนึกคิด)
    เหตุเกิดแห่งตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับตัณหา ย่อมมีเพราะเวทนาดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับตัณหา

    [แก้ไข] เวทนา

    เวทนา ได้แก่ เวทนาหกหมวดเหล่านี้ คือ
    1. เวทนาที่เกิดแต่จักขุสัมผัส
    2. เวทนาที่เกิดแต่โสตสัมผัส
    3. เวทนาที่เกิดแต่ฆานสัมผัส
    4. เวทนาที่เกิดแต่ชิวหาสัมผัส
    5. เวทนาที่เกิดแต่กายสัมผัส
    6. เวทนาที่เกิดแต่มโนสัมผัส
    เหตุเกิดเวทนา ย่อมมีเพราะผัสสะเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับเวทนา ย่อมมีเพราะผัสสะดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับเวทนา

    [แก้ไข] ผัสสะ

    ผัสสะ ได้แก่ ผัสสะหกหมวด คือ
    1. จักขุสัมผัส
    2. โสตสัมผัส
    3. ฆานสัมผัส
    4. ชิวหาสัมผัส
    5. กายสัมผัส
    6. มโนสัมผัส
    เหตุเกิดแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะอายนะหก เป็นเหตุให้เกิด
    ความดับผัสสะย่อมมีเพราะผัสสะดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับผัสสะ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8...B8%95%E0%B8%A3

    สัมมาทิฏฐิสูตร

    จาก วิกิซอร์ซ

    [แก้ไข] อายนะหก

    อายนะหก ได้แก่ อายตนะหกเหล่านี้ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    เหตุเกิดแห่งอายตนหก ย่อมมีเพราะนามรูปเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับอายตนหก ย่อมมีเพราะนามรูปดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองคแปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอายตนะหก

    [แก้ไข] นามรูป

    เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ อันนี้เรียกว่า นาม
    มหาภูตรูปสี่ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูปสี่ อันนี้เรียกว่ารูป
    นามและรูปดังพรรณนามาฉะนี้ เรียกว่า นามรูป
    เหตุเกิดแห่งนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับนามรูป ย่อมมีเพราะวิญญาณดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับนามรูป

    [แก้ไข] วิญญาณ

    วิญญาณ ได้แก่ วิญญาณหกหมวดเหล่านี้ คือ
    1. จักขุวิญญาณ
    2. โสตวิญญาณ
    3. ฆานวิญญาณ
    4. ชิวหาวิญญาณ
    5. กายวิญญาณ
    6. มโนวิญญาณ
    เหตุเกิดแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับวิญญาณ ย่อมมีเพราะสังขารดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับวิญญาณ

    [แก้ไข] สังขาร

    สังขาร ได้แก่ สังขารสามเหล่านี้ คือ
    1. กายสังขาร
    2. วจีสังขาร
    3. จิตตสังขาร
    เหตุเกิดแห่งสังขารย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับสังขาร ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าทางที่จะให้ถึงความดับสังขาร

    [แก้ไข] อวิชชา

    ความไม่รู้ในทุกข์ ในเหตุเกิดแห่งทุกข์ ในความดับทุกข์ ในปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับทุกข์ อันนี้เรียกว่าอวิชชา
    เหตุเกิดแห่งอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับอวิชชา ย่อมมีเพราะอาสวะดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอวิชชา

    [แก้ไข] อาสวะ

    อาสวะ ได้แก่ อาสวะสามเหล่านี้ คือ
    1. กามาสวะ
    2. ภวาสวะ
    3. อวิชชาสวะ
    เหตุเกิดแห่งอาสวะย่อมมีเพราะอวิชชาเป็นเหตุให้เกิด
    ความดับอาสวะ ย่อมมีเพราะอวิชชาดับ
    อริยมรรคประกอบด้วยองค์แปด ชื่อว่าปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับอาสวะ

    [แก้ไข] อ้างอิง

    เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนและครบถ้วน กรุณาอ่านเพิ่มเติมที่
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwikisource:pcache:idhash:4404-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071222022950 -->รับข้อมูลจาก "http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%8F%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3"
    <!-- end content -->
     

แชร์หน้านี้

Loading...