พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?p=875698#post875698

    <TABLE class=tborder id=post875698 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 08:15 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #77 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_875698", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 08:16 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 17,862 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 22,595 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 101,572 ครั้ง ใน 13,912 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 11973 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_875698 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมเองมีพระบรมรูปรัชกาลที่ 5 ทรงผนวช(พระบูชา) ซึ่งสร้างขึ้นในปี พ.ศ.2416 กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ พระองค์ท่านมีพระบัณฑูรให้จัดสร้างขึ้นที่วังหน้า เพื่อเป็นที่ระลึกในวาระที่รัชกาลที่ 5 พระองค์ท่านทรงผนวช

    เรื่องนี้เป็นเรื่องที่บ่งบอกได้ว่า ถ้าไม่มีวาสนาบารมี แม้แต่รูปก็ยังไม่มีโอกาสได้เห็น

    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    หึหึ ไม่มีวาสนาได้ชมแน่นอนสำหรับองค์นี้...ผมได้รับพระองค์นี้จากมหาดเล็กภายในราว ๒ ปีก่อน ต่างที่มา แต่กระแสเดียวกัน คุณคงไม่เข้าใจ และไม่คิดจะนำมาให้ชมด้วย คุณยังไม่คู่ควร คิดแต่จะส่องอย่างเดียว พุทโธ่...วาสนา...วาสนา...วาสนา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    แล้วพระบรมรูปรัชกาลที่ 5 ทรงผนวช ต้องมีหลักฐานด้วยหรือเปล่า
    ปุปุปุ เอ้ย หุหุหุ

    .
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?p=875715#post875715

    <TABLE class=tborder id=post875707 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 08:19 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #78 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_875707", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 08:21 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 17,865 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 22,595 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 101,572 ครั้ง ใน 13,912 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 11973 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_875707 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->11982
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder id=post875715 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 08:21 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #79 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_875715", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 08:21 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 17,865 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 22,595 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 101,572 ครั้ง ใน 13,912 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 11973 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_875715 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    11982
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ต้องต่างกรรม ต่างวาระเท่านั้น

    .
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/articles/view.php?No=125


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>บัวสี่เหล่า <HR width="100%" color=#dddddd SIZE=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>เรื่อง บัวสี่เหล่า

    บัวสี่เหล่า คือ บัวใต้น้ำเป็นหนึ่งในระดับของสติปัญญา จากเรื่องบัวสี่เหล่า นั้นแสดงให้เห็นถึงความสามารถของคนที่เรียนรู้เรื่องต่างๆ เป็น 4 ระดับ คือ...
    1.พวกมีสติปัญญา ฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงพระอาทิตย์ก็จะเบ่งบานทันที (อุคฆฏิตัญญู)
    2.พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจราณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม ก็จะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาไม่ช้า เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำ ซึ่งจะบานในวันถัดไป (วิปัจจิตัญญู)
    3.พวกที่มีสติปัญญาน้อย แต่ เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธาปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้า เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ซึ่งจะค่อยๆโผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่ง (เนยยะ)
    4.พวกที่ไร้สติปัญญาและยังเป็น มิจฉาทิฏฐิ แม้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซึ่งความเพียรเปรียบเสมือน ดอกบัวที่จมอยู่โคลนตม ยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลาอีกด้วย ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบานได้อีก (ปทปรมะ)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา : เณรพยอมจอมยุ่ง พระพยอม กัลยาโณ วัดสวนแก้ว <HR width="100%" color=#dddddd SIZE=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD align=right>มุกปัญญานันทะ [​IMG] [DT01449] [ วันจันทร์ ที่ 27 พฤศจิกายน 2549 เวลา 16:50 น. ]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- / message --><!-- sig -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?t=82509

    <TABLE class=tborder id=post603020 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">22-06-2007, 08:38 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>อธิมุตโต<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_603020", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 10:45 AM
    วันที่สมัคร: Aug 2006
    สถานที่: วัฏฏะสังสารวัฏ
    ข้อความ: 1,415 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 3,669 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 8,355 ครั้ง ใน 1,278 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 992 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_603020 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->[​IMG] บัวสี่เหล่า
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]

    บัวสี่เหล่า
    บัวสี่เหล่า คือ สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของคนที่เรียนรู้เรื่องต่างๆ เป็น 4 ระดับ คือ...

    1.พวกมีสติปัญญา ฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงพระอาทิตย์ก็จะเบ่งบานทันที (อุคฆฏิตัญญู)

    2.พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจราณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม ก็จะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาไม่ช้า เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำ ซึ่งจะบานในวันถัดไป (วิปัจจิตัญญู)

    3.พวกที่มีสติปัญญาน้อย แต่ เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธาปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้า เปรียบเสมือน ดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ซึ่งจะค่อยๆโผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่ง (เนยยะ)

    4.พวกที่ไร้สติปัญญาและยังเป็น มิจฉาทิฏฐิ แม้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซึ่งความเพียรเปรียบเสมือน ดอกบัวที่จมอยู่โคลนตม ยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลาอีกด้วย ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบานได้อีก (ปทปรมะ)


    บุคคลสี่จำพวก
    มืด............ หมกมุ่นหม่นไหม้.....อวิชชา
    มา............ อุปกิเลส มา.....ปิดไว้
    มืด............ จิตอัปภัสรา.....ขันธา ทุกโข
    ไป............ สู่ทุกข์คติไซร้.....เร่าร้อน รานตน...

    มืด............แบกทุกข์ท่วมท้น.....อาตมัน
    มา............ผ่านกี่กัปกัลป์.....ล่วงแล้ว
    สว่าง.......ณ ปัจจุปปัน.....สัมปชัญโญ
    ไป............สู่ที่ เพริศแพร้ว.....แจ่มแจ้ง ปัญญา....

    สว่าง.......จวนดีเลิศแล้ว.....มานมน
    มา............จ่อมจมธราดล.....โลกหล้า
    มืด...........มิอาจ ยินยล.....สำเนียง เสียงธรรม
    ไป...........ใฝ่ต่ำไขว่คว้า.....แทะทึ้ง โลกีย์...

    สว่าง.......เบิกบานจิตพร้อม.....วิชชา
    มา............พึ่งพระปัญญา.....แนบเกล้า
    สว่าง........ว่างเหตุปัจจยา....ใน-นอก พิสุทธิ์
    ไป............ปราศทุกข์รอนร้าว.....จบสิ้น สังสาร....
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    มืด............ หมกมุ่นหม่นไหม้.....อวิชชา
    มา............ อุปกิเลส มา.....ปิดไว้
    มืด............ จิตอัปภัสรา.....ขันธา ทุกโข
    ไป............ สู่ทุกข์คติไซร้.....เร่าร้อน รานตน...

    มืด............แบกทุกข์ท่วมท้น.....อาตมัน
    มา............ผ่านกี่กัปกัลป์.....ล่วงแล้ว
    สว่าง.......ณ ปัจจุปปัน.....สัมปชัญโญ
    ไป............สู่ที่ เพริศแพร้ว.....แจ่มแจ้ง ปัญญา....

    สว่าง.......จวนดีเลิศแล้ว.....มานมน
    มา............จ่อมจมธราดล.....โลกหล้า
    มืด...........มิอาจ ยินยล.....สำเนียง เสียงธรรม
    ไป...........ใฝ่ต่ำไขว่คว้า.....แทะทึ้ง โลกีย์...

    สว่าง.......เบิกบานจิตพร้อม.....วิชชา
    มา............พึ่งพระปัญญา.....แนบเกล้า
    สว่าง........ว่างเหตุปัจจยา....ใน-นอก พิสุทธิ์
    ไป............ปราศทุกข์รอนร้าว.....จบสิ้น สังสาร....
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สีมงคลกระเช้า..โดนใจปีใหม่
    http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=16/Dec/2550&news_id=152068&cat_id=220400

    สาระน่ารู้
    สีมงคลกระเช้า..โดนใจปีใหม่

    16 ธันวาคม 2550 กองบรรณาธิการ
    เริ่มเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่แล้ว หลายคนคงเริ่มเดินหาของขวัญเพื่อร่วมฉลองวันแห่งความสุขแล้ว


    <DD>

    <DD>กระเช้าปีใหม่..นับเป็นทางเลือกดั้งเดิมตามวัฒนธรรมและประเพณีที่สืบเนื่องมานาน เพราะนอกจากความหลากหลายเพื่อประโยชน์ใช้สอยแล้ว ความงดงามและการซื้อหาง่ายก็เป็นเสน่ห์ของกระเช้าของขวัญ <DD>

    <DD>สำหรับปีหนูที่จะถึงนี้ คุณอาจจะไม่ต้องจำเจกับกระเช้าแบบเก่าๆแล้ว เมื่อมีการถอดสัมมการความต้องการว่า หากกระเช้าปีใหม่มิได้ทำหน้าที่เพียงบรรจุของขวัญของกำนัลเพื่อมอบให้กันเท่านั้น แต่สีสันของกระเช้าที่แตกต่างกัน ยังใช้เป็นคำอวยพร หรือสื่อความหมายดีๆ ให้แก่กันแตกต่างกันไปด้วย ก็เท่ากับซื้อหนึ่งแถมหนึ่งเลยทีเดียว <DD>

    <DD>เทศกาลแห่งการให้ปีนี้ เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จึงได้จัดทำกระเช้าปีใหม่หลาก สีสัน เพื่อให้ลูกค้าได้มอบความรัก ความห่วงใยและคำขอบคุณ ในโอกาสวาระดิถีขึ้นปีใหม่พร้อมกับเป็นการส่งคำอวยพรจากสีอันเป็นสิริมงคลของกระเช้า โดยสามารถเลือกให้เข้ากับสีมงคลประจำตัว ผู้รับ เพื่อสื่อถึงความใส่ใจและปรารถนาดีเป็นพิเศษ แตกต่างจากกระเช้าของขวัญแบบเดิมๆ<DD>

    <DD>ตอนนี้เรามาดูกันว่า กระเช้าสีไหนที่ตรงใจคุณ<DD>

    <DD>สีชมพู หมายถึงความรักที่คงทนและไร้เงื่อนไข ในความหมายด้านสุขภาพพลานามัย สีชมพูจะช่วยสร้างสมดุลระหว่างสุขภาพกายและใจ นอกจากนั้น สีชมพู ยังเป็นสีประจำพระชนมายุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเชื่อมกันว่าการใช้สีชมพูจะเป็นการร่วมถวายพระพรให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระพลานามัยแข็งสมบูรณ์<DD>

    <DD>สีเหลือง หมายถึงความเจิดจ้า ความสว่างไสว ความเชื่อใจ สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตใหม่และชีวิตที่ดีขึ้น การมอบกระเช้าสีเหลืองจึงเปรียบเสมือนการนำชีวิตไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง<DD>

    <DD>สีน้ำเงิน เป็นสีที่แสดงถึงความสง่างาม มีศักดิ์ศรี มีความสงบและสุขุม การมอบกระเช้าสีน้ำเงินจึงเป็นการส่งคำอวยพรให้ผู้รรับมีความมั่นคง แข็งแรง และมีศักดิ์ศรี<DD>

    <DD>สีเขียว สีประจำวันพุธที่สื่อถึง ความเจริญงอกงามและโชคลาภ ความสดชื่นและความเจริญเติบโต การมอบกระเช้าสีเขียวจึงเป็นคำอวยพรที่ดีเพื่อความเจริญรุ่งเรือง<DD>

    <DD>สีแดง คือสีแห่งมงคล ความสุขและความเจริญ ความภาคภูมิใจ ความตื่นตัว ความกล้าหาญ ความโชคดี มั่งคั่งร่ำรวย เงินทอง<DD>

    <DD>ใครยังตัดสินใจไม่ถูก แล้วจะขอแบบสีรุ้งล่ะก็ คงต้องปรึกษาคนขายแล้วกระมัง

    </DD>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?t=103158&page=9

    <TABLE class=tborder id=post875774 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 08:48 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #162 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>Dej Amarin<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_875774", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 09:13 PM
    วันที่สมัคร: Feb 2007
    ข้อความ: 65 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 39 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 522 ครั้ง ใน 67 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 69 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_875774 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->เรียนผู้คิดดีทุกคนครับ
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->กราบเรียนผู้อนุโมทนาบุญครับที่ท่านจะโอนค่าส่งหรือค่าทำบุญพระนั้นท่านกรุณาโอนมาใช้ในงานบุญ สร้างพระถวายหลวงพ่อ สิริ สิริวัฒโน จำนวน 84,000 องค์ ครับพระต้องนำปัจจัยให้กับสถานที่ปั้มพระในวันที่ 28 ธ.ค. 50 อีกจำนวน 35,000 บาท ตอนนี้พระได้เสร็จแล้วจำนวน 30,000 องค์ ท่านที่จะทำบุญให้กับผมเรื่องค่าส่งนั้น กรุณาส่งมาทำบุญในงานดังกล่าครับที่เลขบัญชี ธนาคารกสิกรไทย สาขา บางกระบือ (อมทรัพย์ )
    ชื่อ กฤตพล เกิดผล เลขบัญชี 007 250 2248 ครับ ขออนุโมทนาเป็นอย่างสูงยิ่งและอวยพร ด้วยเดขแห่งบุญทานที่มีจริงแน่นั้น ขอให้ท่านทั้งหลาย จง สำเร็จสุข สำเร็จงาน สำเร็จทรัพย์ สำเร็จทานบารมีทุกท่านที่ได้ร่วมบุญกับเราชาว 108 งานบุญ ของอาศรมบ้านดวงธรรมนำชีวิต
    หมายเหตุ ผมต้องขอโทษกับคณะร่วมบุญอีกหลายรายที่ผมยังไม่ได้ส่งพระให้ตอนนี้ผมยุ่งมากเรื่องการเลือกตั้งและงานส่วนตัวไหนจะต้องไปกราบครูบาอาจารย์ขอพรในวันปีใหม่
    อันปีใหม่ พ.ศ. 2551 จะมาถึงอีกไม่กี่วันในข้างหน้า เป็นอันว่าข้าพเจ้าขอส่งพรส่งธรรมบารมี กับพวกพี่พวกน้อง ที่ร่วมบุญ ขอจงให้ ผลแห่งบุญจงหนุนส่ง ให้ดำรงความดีที่สดใส กำหนดให้ผู้ร่วมบุญท่านทั้งหลาย จงทำกายทำสติให้นิ่งเสีย ในเวลาที่ เจริญสติมั่น มิควรคิด เรื่องในจิตที่ไม่ดี กับขอให้จงได้คิดเรื่องดีดี เข้าสู่จิต เป็นนิมิต เข้าสู่จิต คิดนิพพาน ไปด้วยเทอญ
    ( ผลแห่งบุญของข้าพเจ้าขอมอบพระจำนวน 1,000 องค์ มอบให้หนุ่มพิษณุโลกเพื่อใช้ในงานบวชหมู่ จำนวน 13 องค์ในวันสงกรานต์ ผมขออนุโมทนาบุญอย่างสูงยิ่งกับหนุ่ม พิษณุโลกและหนุ่มอื่น ๆ ด้วย ขอให้ท่านทั้งหลายจงดวงตาเห็นธรรม ด้วยบุญที่ทานทำด้วยเทอญ )
    <!-- / message --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dmc.tv/forum/lofiversion/index.php/t5728.html

    เวอร์ชั่นเต็ม: ขายพระ บาปมากไหม

    28/7/2006 14:11
    อยากรู้ค่ะ พอดีมีเพื่อนนำพระมาขายให้ แล้วเขาก็บอกให้เราช่วยขายต่อให้ บอกเราว่าองค์ละ 250 แล้วให้เราไปขายเท่าไหร่ก็ได้ เพราะพระองค์นี้ที่ท่าพระจันทร์เขาขาย องค์ละ 599 บาท เราก็หวังดีเห็นว่าเป็นพระดี อยากให้เพื่อน อาจารย์ได้ด้วย ก็เลยไปขายให้เขา ขายไปองค์ละ 300 บาท เอากำไรนิดหน่อย แต่ตอนนี้มารู้ทีหลังว่า พระมีราคาแค่ 99 บาท เขามาหลอกเรา ทำให้เราเหมือนไปหลอกคนอื่นต่อทั้งที่เราก็ไม่รู้ ตอนนี้ก็ไม่ค่อยสบายใจ เพราะคนที่เราไปขายให้เขาก็เป็นคนรู้จักกันทั้งนั้น นี่ก็คิดอยู่ว่าไม่น่าเลย ไม่น่าไปขายให้เขาเลย ทำไมถึงไปเชื่อเขาเพราะก็ไม่ได้สนิทอะไรกันเท่าไหร่ คนที่บ้านก็ไม่ค่อยชอบ ไม่รู้ไปเชื่อคำพูดเขามาได้อย่างไร
    บุญโต
    28/7/2006 14:23

    เอากระทู้นี้ประกอบนะคะ (พลาดไปแล้วเหมือนกัน) ... อาจไม่ตรงประเด็นเท่าไหร่ค่ะ

    http://www.dmc.tv/forum/index.php?showtopic=5345

    Omena
    28/7/2006 14:26

    ไปขายต่อเอากำไร บาปนะคะ

    เพราะพระเครื่องไม่ควรเป็นไปเพื่อกำไรต่อย่างใด

    เอาเงินไปคืนเขาเถอะค่ะ
    ขายเท่าต้นทุนคืดราคาที่เกินพอแล้วล่ะค่ะ

    ปาราวตี
    28/7/2006 14:32

    คือ ว่าเงินที่ได้มาคือ องค์ละ 250 บาท ให้เขาไปหมดแล้วค่ะ ถ้าจะเอาเงินคืนก็เลยต้องคิดหนักเพราะ เราก็ไม่ค่อยมี ก็ต้องเอาเงินของเราเองคืนเขาไป แต่เจ้าของพระเขาเอาไป 250 บาท แต่ราคาจริงๆ ที่เรารู้มา คือ 99 บาท ดังนั้นเราก็ต้องคืนเงินให้คนที่เราไปขายต่อ 151 บาท ทั้งที่เราได้มา 50 บาท ก็เป็นเงินมากอยู่ คิดว่าชาตินี้จะไม่ทำอีกแล้ว ทำไปด้วยความไม่รู้

    สิริปโภ
    28/7/2006 15:43

    พุทธพานิชย์แบบนี้ ถ้ากระทำโดยมีความโลภและมิจฉาอาชีวะเจือปน ย่อมมีอเวจีเป็นที่ไปครับ



    arraya
    28/7/2006 15:55

    ลองหาทางแก้ไขแบบซื้อคืนจากคนที่เราขายไปไหมคะ เพราะเท่าที่คิด มันมีวิบากกรรมเกิดขึ้น เราผ่อนหนักให้เป็นเบาตั้งแต่ชาตินี้ดีกว่าให้มันติดไปชาติหน้า คนที่มาฝากเราก็มีวิบากของเขาแล้วที่มีหลอกลวงเรา ก็อภัยให้เขาไปเถอะ
    และที่สำคัญ อดีตที่ผิดพลาดลืมให้หมด

    Tanay007
    28/7/2006 16:12

    อัปปมาโณ พุทโธ อัปปมาโณ ธัมโม อัปปมาโณ สังโฆ พระรัตนะทั้งสาม มีคุณที่จะประมาณมิได้เลย การเอารูปเปรียบพระพุทธเจ้ามาตีเป็นมูลค่าราคา ก็ถือว่าเป็นการไม่เคารพต่อพระบรมครูอยู่แล้ว ต่อให้ทำกุศลมากขนาดไหน แต่มันเจือด้วยโมหะ เต็มที่ก็ไปไม่เกินจาตุฯ หรอก
    ในกรณีนี้ครูไม่ใหญ่ เคยตอบปัญหาในเคสฯ ไปแล้วแล้ว ถ้าจำไม่ผิดจะอยู่ในเคสเดียวกับ ท่านเจ้าของเรื่องที่คู่รักของท่านเป็นแขกอิสลามมาบวชพระที่วัด และภายหลังถูกญาติลวงให้กลับบ้านแล้วจับสึกนั่นแหละ เคสนี้มี 2 ตอนติดกัน อยู่ในตอนแรกแหละครับ เจ้าของเคสก็คุ้นหน้าคุ้นตากันอยู่

    นักเรียนอนุบาลล้านนา
    28/7/2006 16:32

    อยากทราบว่า คนที่ค้าขายพระเพื่อเอากำไรมากๆ เช่น พระปากน้ำ รุ่น 1-3 ตอนนี้ราคาหลักหมื่น ถึงหลักแสน ไม่ยิ่งบาปหรือคะ
    แล้วคนที่ทำพระปลอมเลียนแบบ แต่เอามาหลอกว่าของจริง และปล่อยในราคาโหดๆ ยิ่งบาปหนักใช่ไหมคะ

    somchet
    28/7/2006 17:33

    ถ้าผู้ซื้อ ผู้ขายพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่ายคิดว่าไม่น่าจะผิดครับ อย่าคิดมากไปเลย ไม่งั้นคนมีอาชีพหล่อพระขาย ร้านสังฆภัณฑ์ ไม่ต้องเอากำไรกันเลยซิครับ

    แต่ถ้าทำแล้วไม่สบายใจ คราวหลังก็อย่าทำดีกว่าครับ

    ครูอุ๋ย
    28/7/2006 19:31

    ความเห็นของหลายท่าน ก็ดูมีเหตุผลกันนะคะ แต่เรื่องของวิบาก จริงๆแล้วเป็นอย่างไรแน่ สงสัยต้องถามครูไม่ใหญ่ เพราะหลายๆเรื่อง ที่เราคิดว่าไม่บาป แต่กลับเป็นบาปก็มีมากมาย แม้บาปเพียงเล็กน้อย เวลาส่งผล กลับน่ากลัวที่เดียวล่ะค่ะ หรือมีผู้รู้ท่านใด สามารถตอบแทนคุณครุไม่ใหญ่ได้บ้างคะ กรุณาให้ความกระจ่างด้วยเถอะค่ะ

    light...in...body
    28/7/2006 20:23

    อดีตที่ผิดพลาดลืมให้หมด
    กล่าวคำขอขมาต่อ พระรัตนตรัย ที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านนำกล่าว ทุกวันอาทิตย์ ใจก็น้อม ตั้งจิต ขอขมาในสิ่งที่ผิดพลาดล่วงเกินทั้งหมด
    แล้วหักดิบไม่คิดทำอีกเด็ดขาด แผ่เมตตาให้แก่ผู้ที่เราได้ไปล่วงเกินเค้ามา

    ...[​IMG]...
    __/i\__

    การขายพระเพื่อทำกำไร ไม่ควรอย่างยิ่ง
    แต่ถ้า มอบให้เพื่อการระลึกถึง พระรัตนตรัย ในการกระทำความดี อย่างนี้สิ OK...!!! [​IMG]



    ฟ้าร้าง
    28/7/2006 22:01

    โกงโดยเจตนา ก็บาปแน่ๆ ผิดศีลข้อ 2 ค่ะ ส่วนตัวเองที่ไปขายคนอื่นต่อ ก็ไปเอากำไรอีก อันนี้ก็ไม่ควรหรอกนะคะ ถ้าเป็นฟ้าร้าง ก็จะเอาเงินคืนเขาไปให้หมดทุกบาททุกสตางค์ ก็จะสบายใจที่สุดค่ะ ถือว่าเป็นวิบากกรรมของตัวเอง สบายใจ



    บาปหรือบุญ เขาวัดกันตรง ใจหมอง หรือใจใส นี่นา ทำให้ตัวเอง หรือคนอื่นใจหมอง ก็บาปทั้งนั้นแหล่ะค่ะ

    ซึ่งก็เห็นเขาทำกันเป็นล่ำเป็นสัน ขายพระเนี่ย เปิดโรงเรียนสอนดูพระ ผลิตหนังสือดูพระ ประกาศเช่าพระกันเต็มไปหมด จนกลายเป็นเรียกว่านักเลงพระมั่ง อะไรมั่ง เอาพระมาวางแบกับพื้นขาย แถวๆ ท่าพระจันทร์ ท่าช้าง เต็มเพียบ มีขายใน 7-11 ก็ยังมีเลย เขาค้า เขาขาย ก็ต้องหวังเอากำไรทั้งนั้นแหล่ะค่ะ

    แต่ขายพระเนี่ย ก็นะ ถ้าคนขาย คนซื้อคิดว่าเอาไปกราบไหว้บูชา เพื่อตรึกระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ก็ไม่บาป แต่ถ้าซื้อขายกันเหมือนวัตถุสิ่งของธรรมดา เพื่อเอาความขลังมั่ง อะไรมั่ง ก็ถือเป็นความหลงผิด

    ก็งี้แหล่ะ ความเสื่อมมีของธรรมดาคู่โลก ทำไปเพราะความไม่รู้ทั้งนั้น อกุศลเข้าสิงจิต ติดอบายไม่รู้ตัว

    WISH
    29/7/2006 12:07

    เดี๋ยวนี้ภาษาเปลี่ยนนะ ปกติพระเครื่องเขาใช้คำว่า"เช่า"

    จุดประสงค์ที่มาของพระเครื่องส่วนใหญ่ล้วนแต่ทำเพื่อเป็นของที่ระลึกตามเทศกาล

    แต่เนื่องจากค่านิยมในเรื่อง ความเก่าแก่ ความขลัง ความประสงค์ จึงเป็นที่มาของตลาด ยิ่งรุ่นที่ความต้องการสูง ราคาเช่าก็จะแพงมาก ของปลอมจึงเกิดตามมาตามภาษาคนทุศีล

    กรณีนี้ ดู จขกท.น่าจะมีอุปนิสัยเป็นคนใจดีชอบช่วยเหลือผู้อื่นนะ บริสุทธิ์ใจในการปล่อยเช่า แม้จะไม่ทราบราคาทุนก่อนหน้านี้ ดังนั้นถ้าผู้ซื้อเขาพอใจกับวัตถุแล้วเรามารู้ทีหลังว่าราคาต่ำกว่าก็ไม่ควรเสียใจครับ เรื่องของการเช่าพระคล้ายกับการขายพลอย คือไม่มีมาตราฐานกำหนดเรื่องราคา การซื้อขายเป็นเรื่องความพอใจระหว่างผู้ปล่อยเช่ากับผู้เช่าเป็นหลัก ปลอดภาษีอีกต่างหาก แต่เสี่ยงกับของเลียนแบบได้ ขายไปแล้วก็แล้วไป เพราะถ้ายิ่งกลับไปรู้ที่มาว่าเขาอาจได้มาฟรีหรือเขา..มา ก็จะยิ่งเป็นทุกข์ ใจหมอง วิบากกรรมได้ช่อง

    ถือเป็นกรณีศึกษา บทเรียนราคาถูก จะทรงคุณค่ามากกว่า สำคัญคือควรอยู่ห่างๆจากวงจรแบบนี้ก็ดีนะ

    lZephirothZl
    29/7/2006 21:57

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

    LiL' Faery
    29/7/2006 23:20

    The Statue or Images Of The Lord Buddha or monk should not be sell by normal people except the temple or the Shangapun store. Other than that you take away one of the " income source " for the temple to get money to build or fix the temple.

    chankitt
    10/8/2006 22:05

    Case study ทบทวนวันนี้ สามีของเจ้าของ เคส สะสมพระเครื่อง เพราะนิสัยสะสมของเก่าข้ามชาติมา
    คำอธิบายของคุณครูไม่ใหญ่
    - พระที่ทางวัดมอบให้นั้นเพื่อเป็นที่ระลึกนึกถึงบุญ(ทำแจกในงานบุญหรือที่ระลึกในการทำบุญเป็นต้น)
    - ถ้าสะสมเพื่อธุรกิจ ไม่ได้บุญ
    - สะสมแบบของเก่า ไม่ได้บุญ
    - การส่องพระเพื่อดูเนื้อมวลสาร ไม่ได้บุญ และอาจมีเชื้อความหลงด้วย
    - การมอบพระเป็นทานวัตถุ หากผู้รับนำไปเจริญพุทธานุสติได้บุญมาก
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dmc.tv/forum/index.php?showtopic=5345

    ทำไม...คนขายวัตถุมงคลมักเป็นเจ้าพ่อ...เป็นนักเลง







    <!--{IBF.POLL}--><SCRIPT type=text/javascript> </SCRIPT><!--Begin Msg Number 32264--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล บุญโต
    จำนวนความเห็น: 2,114


    ความคิดเห็น #1 |
    </TD></TR><TR><TD class=post2 id=post-main-32264 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32264 -->ก่อนอื่นต้องกราบขอโทษนะคะ...ถ้าในที่นี้มีใครทำธุระกิจเกี่ยวกับวัตถุมงคล... [​IMG]

    เนื่องจากว่าเราได้ของขวัญเป็นพระเลี่ยมทองหลวงพ่อดัง ๆ เก็บไว้จำนวนหนึ่ง แต่ด้วยความที่เรา 3 คนแม่ลูกมีแต่ผู้หญิง ไม่ได้ใช้และไม่ค่อยรู้วิธีเก็บรักษา ก็เลยรวบรวมพระเลี่ยมทองที่มีอยู่ทั้งหมดไปปล่อย(เห็นเค้าเรียกอย่างนี้)ที่แห่งหนึ่งพันธุ์ทิพย์(ที่เคยเป็นบางลำภูงามวงศ์วาน) แต่เห็นผู้ชายส่วนใหญ่ที่มาเปิดร้านขายวัตถุมงคล มักจะเป็นคนที่ดื่มจัด นักเที่ยว นักเล่น เจ้าพ่อ มาเฟีย ทั้งนั้นเลย อย่างร้านที่ไปนะคะ เค้าบอกว่า เค้าเป็นมือปืนรับจ้าง เป็นนักเลงมาก่อน แล้วเค้าก็บอกว่าส่วนมากคนที่ขายวัตถุมงคลมักจะเป็นนักเลงทั้งนั้น...เท่าที่ดู ๆ ก็น่าจะจริงนะคะ เพราะแต่ละร้านก็มีขวดเหล้า ขวดเบียร์ แก้วตั้งอยู่บนหลังตู้ที่ขายวัตถุมงคล ตั้งแต่กลางวันแสก ๆ...บางร้านก็เอาพระพุทธรูปตั้งวางบนพื้น

    แล้วอย่างนี้...มีผลกระทบกับพุทธศาสนาหรือปล่าวค่ะ เพราะในหลาย ๆ ร้านก็มีพระพุทธรูปขายด้วย...บางทีชาวต่างชาติที่เค้ามาซื้อ...เพราะอย่างนี้ด้วยหรือที่บางครั้งเป็นเหตุให้ชาวต่างชาติถึงเอาพระพุทธรูปไปทำเครื่องประดับบ้านประดับร้าน


    ขอถามนิดนึง...การเอาพระไปปล่อยอย่างนี้ ไม่ผิดใช่มั๊ยค่ะ เพราะเก็บไว้เฉย ๆ (เงินที่ได้มาจำนวนหนึ่งจะเอามาทำบุญค่ะ) [​IMG]
    [​IMG] 10/7/2006 12:57
    <!--IBF.ATTACHMENT_32264-->​
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32264', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 32333--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล เถลิงเกียรติ
    จำนวนความเห็น: 605


    ความคิดเห็น #2 |
    </TD></TR><TR><TD class=post1 id=post-main-32333 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32333 --><!--quoteo-->QUOTE
    <!--quotec-->เพราะแต่ละร้านก็มีขวดเหล้า ขวดเบียร์ แก้วตั้งอยู่บนหลังตู้ที่ขายวัตถุมงคล ตั้งแต่กลางวันแสก ๆ...บางร้านก็เอาพระพุทธรูปตั้งวางบนพื้น<!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    .........................................

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->ถ้าเป็นอย่างที่ท่านหนูชื่อสายน้ำทิพย์บอก ก็เป็นสถานที่อโคจร <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->ไม่ควรไปครับ เพราะเป็นที่อยู่ของ เดียรถีย์ สาวกของเดียรถีย์ ครับ

    <!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->พุทธานุภาพ ธรรมมานุภาพ และสังฆานุภาพ<!--colorc--><!--/colorc--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->ที่มีในพระเครื่องที่มีอยู่จะหายไปหมดถ้าผู้ถือครองขาดศิลขาดธรรม ครับ
    <!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--coloro:#993399--><!--/coloro-->ผมมีความเห็นว่า ถ้าไม่ถึงกับสิ้นไร้ไม้ตอก <!--colorc--><!--/colorc--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#993399--><!--/coloro-->ก็อย่าเอาไปให้กับคนพวกนี้เลยครับ ถึงเขาจะมีเงินมาให้เป็นพันล้าน
    ก็ได้ชื่อว่าเป็นทรัพย์ที่ได้มาโดยไม่บริสุทธิ์ครับ<!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->
    <!--sizeo:4--><!--/sizeo-->
    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->เป็นทรัพย์ที่เจือปนด้ว โลภะ โทสะ และโมหะ เป็น Pure กิเลส ที่มาก ครับ
    <!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->
    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#660000--><!--/coloro-->ถ้าอยากจะมีทรัพย์มาไว้ทำบุญ ก็อธิฐานจิต กับพระเครื่องที่ท่านมี <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#660000--><!--/coloro-->และอธิฐานกับพระรัตนตรัย ขอให้มีผู้มีศิล มีธรรม <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#660000--><!--/coloro-->มาบูชาพระที่มีอยู่นี้ไปเคารพสักการะ เพื่อเป็น<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#660000--><!--/coloro-->พุทธาสติ ธัมมาสติ และสังฆาสติ ด้วยเทอญ อธิฐานไปเรื่อยๆครับ<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->ก็จะสมปราถนา ซึ่งเป็นความปราถานาที่เป็นกุศลมูล อันนี้สำเร็จแน่ๆครับ<!--colorc--><!--/colorc-->


    <!--coloro:#ff0000--><!--/coloro-->พฤติกรรมของคนทุศิล ที่เอาพระเครื่องมาวางขายจำหน่ายตามทางเท้า<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#ff0000--><!--/coloro-->นี่ก็จัดอยู่ในกลุ่มของปัญหาทางสังคม
    ครับ เพราะเป็น พฤติกรรมที่ไม่ดีของ คนกลุ่มนี้ <!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro--><!--coloro:#ff0000--><!--/coloro-->เป็นพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหา ต่อพระพุทธศาสนา ครับ จัดอยู่ในกลุ่มของ
    <!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#009900--><!--/coloro-->กรรมลามก ๑๔ ประการครับ
    <!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->๑. กรรมกิเลส ๔ ประกอบด้วย
    <!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->๑.ฆ่าสัตว์(คนกลุ่มนี้มี ตามที่ท่านหนูชื่อสายน้ำทิพย์บอก เป็นมือปืนนักเลง )
    ๒.ลักขโมย (ไม่แน่ แต่อย่าเผลอ)
    ๓.ผิดในกาม (ไม่แน่ แต่อย่าเผลอ)
    ๔.มุสาวาท พูดเท็จ พวกนี้มีแน่นอนครับ <!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->เพราะโฟกัสเขาอยู่ที่กำไร ขาดทุน<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->เขาจะโกหกทุกอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไรครับ

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#ff0000--><!--/coloro-->๒. อคติ ๔ คนกลุ่มนี้มีครบครับ<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#993300--><!--/coloro-->๓.อบายมุข ๖. คนกลุ่มนี้มีครบครับ<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->ดื่มน้ำเมา แถมยังลบหลู่องค์พระปฎิมาด้วย การเอาเหล้าวางเหนือพระ<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->สถานที่ประกอบอาชีพก็ไม่เหมาะสมไม่เคารพต่อพระรัตนตรัย<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->ปล่อยใจหมกมุ่นแต่เรื่องกำไร ไม่สนใจคุณธรรม<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#000099--><!--/coloro-->เล่นการพนัน เต็มไปด้วยคนพาล คนชั่ว เกียจคร้าน

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->ถ้าท่านยังไม่ได้ปล่อยไปก็เก็บไว้เถิดครับ <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->แล้วอธิฐานขอให้ผู้มีศิลมีธรรม มาบูชาไปเคารพกราบไหว้<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย
    แล้วอย่าได้ย่างกราย หรือเข้าไปในสถานที่อย่างนั้นเลยครับ<!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->

    <!--sizeo:5--><!--/sizeo--><!--coloro:#cc0000--><!--/coloro-->[​IMG] มันเป็นภัยอย่างหนึ่งในสังสารวัฎ ครับ<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->


    [​IMG] 10/7/2006 17:18
    <!--IBF.ATTACHMENT_32333-->

    --------------------

    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ในฐานะที่ข้าพเจ้าเรียนมาทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ กระทู้ต่างๆ ที่ข้าพเจ้าแสดงความเห็นใน DMC.tv นี้<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->อาจเป็นเรื่องที่แตกต่างหรือเกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ หรือ วิศวกรรมศาสตร์ <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ดังนั้นเรื่องที่ข้าพเจ้าเขียนถ้าไม่ตรงกับความคิดเห็นของท่านใด ขออย่าได้มีอคติก่อน <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->แต่ถ้าตรงกับความคิดเห็นของท่านผู้ใด ขออย่าได้เชื่อไปก่อน <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าเรื่องที่แสดงความเห็นเป็นแนวคิดของข้าพเจ้า<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->และข้อมูลที่ค้นคว้าเพื่อเสริมสร้างศรัทธาในพระพุทธศาสนาให้มั่นคง <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ซึ่งอาจจะถูกบ้างผิดบ้างเป็นธรรมดา แต่ก็จะเป็นประโยชน์ เป็นข้อมูลหนึ่ง กับท่านที่ศึกษาทางพุทธศาสตร์ <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ข้าพเจ้ามีความเชื่อว่า <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc--><!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->แต่ละคนก็มีกรรมเป็นของตนเอง เราเป็นทายาทแห่งกรรม<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->ทำดีตามครูไม่ใหญ่ ต้องได้ดีแน่นอน <!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc-->
    <!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->และสรุปได้ว่า การเอาธรรมในพุทธศาสนา<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc--><!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->มาใช้ในการดำรงชีวิตไม่เคยล้าสมัย สามารถใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย<!--colorc--><!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc--><!--/fontc--><!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--coloro:#000066--><!--/coloro-->
    <!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--sizec--><!--/sizec--><!--fontc-->
    <!--/fontc--><!--sizeo:1--><!--/sizeo--><!--fonto:Lucida--><!--/fonto--><!--coloro:#ff6600--><!--/coloro-->ถึงจะเป็นตะเกียงดวงน้อยด้อยแสง แต่ไฟแรงจุดติดดวงอื่นได้
    ไม่เสียดายให้แสงสว่างกับผู้ใด ชักนำใจให้สว่างเพียงแต่ธรรม<!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--fontc-->
    <!--/fontc-->
    <!--sizec--><!--/sizec-->​


    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!--[​IMG]-->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32333', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 32358--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    นักเรียนอนุบาล ปุฉฉา13
    จำนวนความเห็น: 104


    ความคิดเห็น #3 |
    </TD></TR><TR><TD class=post2 id=post-main-32358 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32358 -->เพื่อนของผมก็ชอบเก็บสะสมพระเครื่องครับ
    แต่ตอนนี้โดนขโมยหายหมดเลยครับ..
    หลายแสนบาททีเดียว..เขาบอกว่าต้องโกหกหลายตลบ
    กว่าจะได้มา..คงได้มาไม่ชอบเลยหายหมดมั้งครับ
    [​IMG] 10/7/2006 19:01
    <!--IBF.ATTACHMENT_32358-->​
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32358', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 32424--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล MiraclE...DrEaM
    จำนวนความเห็น: 1,368


    ความคิดเห็น #4 |
    </TD></TR><TR><TD class=post1 id=post-main-32424 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32424 --><!--quoteo-->QUOTE
    <!--quotec-->แล้วอย่างนี้...มีผลกระทบกับพุทธศาสนาหรือปล่าวค่ะ เพราะในหลาย ๆ ร้านก็มีพระพุทธรูปขายด้วย...บางทีชาวต่างชาติที่เค้ามาซื้อ...เพราะอย่างนี้ด้วยหรือที่บางครั้งเป็นเหตุให้ชาวต่างชาติถึงเอาพระพุทธรูปไปทำเครื่องประดับบ้านประดับร้าน<!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    ก็เป็นอย่างที่ว่าแหละครับ ชาวต่างชาติเห็นเราๆ คนไทย ซึ่งเค้าคิดว่าเป็นคนพุทธ ไม่แสดงความเคารพในพระพุทธรูป เค้าก็เลยเอาเป็นแบบอย่างแล้วนำไปเป็นของประดับบ้านอย่างที่เป็นข่าวแหละครับ
    <!--quoteo-->QUOTE
    <!--quotec-->ขอถามนิดนึง...การเอาพระไปปล่อยอย่างนี้ ไม่ผิดใช่มั๊ยค่ะ เพราะเก็บไว้เฉย ๆ (เงินที่ได้มาจำนวนหนึ่งจะเอามาทำบุญค่ะ) <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    อืม น่าจะเอาไปปล่อยให้กับคนที่รู้คุณค่า และ ศรัทธาพระมากกว่านะครับ เพราะเรารู้ว่า คนเหล่านี้จะนำพระไปบูชาด้วยความเคารพ
    [​IMG] 10/7/2006 22:34
    <!--IBF.ATTACHMENT_32424-->

    --------------------
    <!--sizeo:5--><!--/sizeo-->
    <!--coloro:#3366FF--><!--/coloro-->สิ่งอัศจรรย์ ปรากฏ บนผืนหล้า
    มหาวิหาร จรัสฟ้า ค่ายิ่งใหญ่
    รูปทอง ผ่องผุด ดุจยองใย
    สะท้อนถึง ห้วงดวงใจ สุดบูชา
    <!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    *********************​
    <!--sizec--><!--/sizec-->
    <!--fonto:Century Gothic--><!--/fonto-->
    <!--sizeo:4--><!--/sizeo--><!--coloro:#6600CC--><!--/coloro-->รักษ์ร่างพอสร่างร้าย ..... รอดตน
    ยอดเยี่ยม "ธรรมกาย" ผล ..... ผ่องแผ้ว<!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--coloro:#FF6666--><!--/coloro-->เลอเลิศล่วงกุศล ..... ใดอื่น
    เชิญท่านถือเอาแก้ว ..... ก่องหล้าเรืองสกล<!--colorc-->
    <!--/colorc--><!--sizec--><!--/sizec-->​
    <!--fontc-->
    <!--/fontc-->

    <!--sizeo:3--><!--/sizeo-->คำสอนของเดชพระคุณหลวงพ่อ
    พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย<!--sizec--><!--/sizec-->​

    <!-- THE POST --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล SmilingCat
    จำนวนความเห็น: 1,207


    ความคิดเห็น #5 |
    </TD></TR><TR><TD class=post2 id=post-main-32461 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32461 -->ตามที่เล่าให้ฟัง คนพวกนี้เป็นพวก มิจฉาทิษฐิครับ เพราะไม่เชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม
    เพราะถ้าเชื่อกฏแห่งกรรม จะไม่จำเป็นต้องใช้พระเครื่อง เพื่อป้องกันศาสตราวุธเลย
    ควรจะรักษาศีลมากกว่า

    ควรนำพระไปปล่อยหรือไม่ ก็ตามคำตอบข้างบนครับ
    ๑. เป็นสถานที่อโคจรไม่ควรไป
    ๒. ถ้าเขาไม่ได้เคารพบูชาจริง ก็ไม่ควรนำไปปล่อย
    [​IMG] 11/7/2006 9:19
    <!--IBF.ATTACHMENT_32461-->

    --------------------
    หยุดคือตัวสำเร็จ
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32461', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 32718--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล มองอย่างแมว
    จำนวนความเห็น: 578


    ความคิดเห็น #6 |
    </TD></TR><TR><TD class=post1 id=post-main-32718 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32718 --><!--quoteo-->QUOTE
    <!--quotec-->ขอถามนิดนึง...การเอาพระไปปล่อยอย่างนี้ ไม่ผิดใช่มั๊ยค่ะ เพราะเก็บไว้เฉย ๆ (เงินที่ได้มาจำนวนหนึ่งจะเอามาทำบุญค่ะ)<!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ถามว่าผิดมั้ย ผมคิดว่าไม่ผิดครับ
    แต่ควรมั้ย ก็คงต้องตอบว่าไม่ควรเหมือนกัน

    สมมติว่าเราจะไม่อยู่บ้านหลายวัน ต้องการหาคนมาดูแลพ่อแม่ที่แก่มากแล้ว ดูแลตัวเองไม่ได้
    เราจะฝากท่านไว้กับผู้ที่ดื่มสุรา เล่นการพนัน ชอบมีเรื่องทะเลาะวิวาท รึเปล่าครับ

    ของที่ควรแก่การเคารพบูชา ก็เช่นกัน ไม่ควรให้ท่านต้องไปอยู่ในสภาพแบบนั้นเลย
    ไม่ผิดเพราะไม่มีกฏห้ามไว้ แต่ในความคิดผม ผมว่าไม่ควรครับ
    [​IMG] 12/7/2006 0:19
    <!--IBF.ATTACHMENT_32718-->

    --------------------
    "ฉุดมันเอาไว้ หยุดมันเอาไว้ ไม่ให้มันรวนเร ต้องหยุดนิ่งสุดใจ หยุดมันเอาไว้ ฉุดมันเอาไว้ ไม่ให้มันซวนเซ ต้องฉุดให้ใจหยุด"
    - ไมโคร (เพลง หยุดมันเอาไว้)
    "แค่หลับตา... (ลบเลือนทุกสิ่ง เหลือเพียงหนึ่งเดียว) เธอจะเห็นยามเธอหลับตา... (ใช้ใจสัมผัสและมองสิ่งนั้น) เธอจะเห็นตัวฉันเป็นอย่างที่เป็น"
    - อุ๊ หฤทัย (เพลง แค่หลับตา)
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32718', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 32754--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล บุญโต
    จำนวนความเห็น: 2,114


    ความคิดเห็น #7 |
    </TD></TR><TR><TD class=post2 id=post-main-32754 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 32754 -->[​IMG] ขอบคุณทุกท่านค่ะ...แย่เลย ตอนแรกน่าจะถามก่อน ไม่ได้ติดขัดอะไรเลย แต่เห็นไว้เฉย ๆ [​IMG]
    [​IMG] 12/7/2006 8:13
    <!--IBF.ATTACHMENT_32754-->​
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-32754', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 36869--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล Sareochris
    จำนวนความเห็น: 101


    ความคิดเห็น #8 |
    </TD></TR><TR><TD class=post1 id=post-main-36869 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 36869 -->[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] 31/7/2006 17:22
    <!--IBF.ATTACHMENT_36869-->​
    <!-- THE POST --></TD></TR><TR><TD class=formbuttonrow noWrap>
    <!---->​
    <!-- REPORT / UP -->
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if ( ajax_loaded && use_enhanced_js ){menu_build_menu( 'edit-but-36869', new Array( img_item + " แก้ไขเต็มรูปแบบ", img_item + " แก้ไขแบบเร็ว" ) );}//]]></SCRIPT><!--Begin Msg Number 74543--><TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #a0a0a0 1px solid; BORDER-TOP: #a0a0a0 1px solid; MARGIN: 20px auto; BORDER-LEFT: #a0a0a0 1px solid; WIDTH: 700px; BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=1><TBODY><TR><TD class=row2 style="BORDER-BOTTOM: #a0a0a0 1px solid" vAlign=top width="99%">
    [​IMG]
    นักเรียนอนุบาล ปัจเจกชน บนทางสายกลาง
    จำนวนความเห็น: 3,545


    ความคิดเห็น #9 |
    </TD></TR><TR><TD class=post2 id=post-main-74543 style="PADDING-RIGHT: 15px; PADDING-LEFT: 15px; PADDING-BOTTOM: 15px; PADDING-TOP: 15px; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top width=700><!-- THE POST 74543 -->[​IMG]
    [​IMG] 8/3/2007 12:42
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.dmc.tv/forum/index.php?showtopic=5345
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.konrakmeed.com/webboard/upload/lofiversion/index.php?t4377.html

    กระทู้นี้ ไม่กล้าไปตั้งที่ห้องพระเครื่อง

    ชุมชนคนรักมีด > ลานเสวนา > ลานอเนกประสงค์
    Dick
    25 November 2007, 01:57 AM

    เครื่องรางชุดนี้ เอาไปบูชาแล้วเป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี........ถ้าเป้นเช่นนี้จริง ไม่ต้องทำมาหากินดีกว่า โลกนี้ต้องไม่มีคนจนเพราะมากราบไหว้เจ้าลัทธินี้

    เครื่องรางปาฎิหาริย์ โคตรๆ .......ไม่ใช่ปาฎิหาริย์ธรรมดา ปาฎิหาริย์ธรรมดาก็คงแค่ยิงไม่ออก หรือออกแต่ไม่เข้า
    ปาฎิหาริย์โคตรๆ นี่แบบว่ายิงไม่ออก ออกก็ไม่เข้า จับไปเผา เอาระเบิดยัด รถบดถนนทับซ้ำ ยังออกมาเดินป๋อ แบบนี้สิ ปาฎิหาริย์โคตรๆ

    ก้อนประหลาดรุ่นรวยโคตร ใครเอาไปบูชาแล้วจะถูกหวย ผมเห็นว่ากองสลาก กับเจ้ามือหวยรวยเอา รวยเอา พระสงฆ์ที่เคยเป็นข่าวว่าถูกวางยาตาย พอตอนหลังข่าวบอกว่าเล่นหวยจนติดหนี้สินรุงรุง ไม่มีปัญญาใช้ แหม น่าจะเอาก้อนอะไรนี่ไปบูชาซะก็ดี

    ที่ว่ามานี้ ไม่ได้ต่อต้าน เพราะตัวเองก็ห้อยพระอยู่ และเชื่อในพุทธคุณ อภินิหาริย์ ........แต่ผมยอมรับที่เขาทำกัน พูดกันแค่พอหอมปาก หอมคอดีกว่า


    พูดถึงพระเครื่อง ดุเรื่องพุทธศิลป์ เรื่องวัตรปฎิบัติของพระอาจารย์ พิธีกรรมตามอุดมคติ .......อะไรทำนองนี้จะดีกว่าไหม ?

    RiT
    25 November 2007, 02:21 AM

    เห็นด้วยครับ เดี๋ยวนี้คนเชื่อโฆษณา
    เชื่อหนังสือ เขียนนิยายขายพระ

    หลวงพ่อท่านนั้นเคยไปเรียนกับหลวงพ่อชื่อดังในอดีต หนังสือก็สถาปนาให้เป็นศิษย์เอกไปซะหมด

    ศิษย์เอกหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง ศิษย์เอกหลวงพ่อจง ฯลฯ หลวงพ่อท่านก็ไม่ได้ประกาศตัว หรือแสดงตนขนาดนั้น หนังสือเขียนไว้ก็ยังไ่ม่ละอายปากกาเลย

    ตอนผมทำงาน เวลาจะเสนอข้อมูล ผมจะค่อนข้างระวังเรื่องข้อเท็จจริงมาก อะไรที่ไม่จริง หรือไม่มีเรื่องยืนยัน ก็จะไม่นำเสนอเป็นอันขาด ทำให้ผมค่อนข้างจะอคติกับหนังสือขายพระ

    เรื่องอะไรที่มีเนื้อความอยู่หน่อย เขียนถ่ายทอดใส่ บทสนทนาให้เรียบร้อย (เข้าข่ายนิยายไปเลย)

    ที่สำคัญคือ ไอ้เนื้อความเหล่านี้มันถูกนำมาอ้างอิงต่อ ๆ กันในภายหลังจนคนคิดว่าเป็นเรื่องต้นฉบับ แล้วเข้าใจผิดเพี้ยนไป จนบุคคลเหล่านั้นยกระดับกลายเป็นผู้วิเศษเหนือมนุษย์ไปหลายต่อหลายท่าน

    โดยส่วนตัวผมไม่ได้ปฏิเสธว่าปาฏิหารย์ อภิญญา ไม่มีจริง แต่ผมแทบจะไม่เชื่อข้อมูลที่มาจากหนังสือขายพระครับ

    Gearmour
    25 November 2007, 02:22 AM

    ด้วยความเคารพครับ
    คนมันจะขายของครับ
    พี่ดิ๊ก
    ในเวปเรายังดีนะครับ
    ถ้าเป็นเวปที่เค้าขายของกันจริงจังนี้
    สุดยอด
    ประสบการณ์เพียบ
    แต่เดี้ยวนี้เน้น เรื่องใต้สะดือ
    มีพระรุ่นนี้ เรื่องรางรุ่นนั้น
    อยากเอาใครก็ได้ ขอได้ทั้งนั้น
    ทั้งๆที่ทุกข์นะครับ ตามตีความตามคำสอนขององค์พระพุทธเจ้า

    อีกเรื่อง คนเราสมัยนี้พุทธคุณพึ่งไม่ได้ต้องพึ่งพราย พึ่งเทพ
    ถึงจะได้ผลเร็ว เค้าโฆษณาว่า อะไรที่ขอพระ ไม่ได้ ขอเทพ ขอพราย ขอผี ได้
    กรรม
    ขอแสดงความนับถือ
    Gearmour


    RiT
    25 November 2007, 02:27 AM

    จริงครับ
    เว็บขายของ บรรยายสรรพคุณ เรียกได้ว่า อ่านแล้วเคลิ้ม ต้องหามาเลย
    สุดยอดอย่างนั้น สุดยอดอย่างนี้

    พอไม่ได้ดังสรรพคุณ ก็พลอยด่า ครูบาอาจารย์เจ้าของพระชิ้นนั้น ๆ ก็หลายคน [​IMG]

    Gearmour
    25 November 2007, 02:33 AM

    <!--quoteo(post=74169:date=25 November 2007, 02:21 AM:name=RiT)-->QUOTE(RiT @ 25 November 2007, 02:21 AM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    เห็นด้วยครับ เดี๋ยวนี้คนเชื่อโฆษณา
    เชื่อหนังสือ เขียนนิยายขายพระ

    หลวงพ่อท่านนั้นเคยไปเรียนกับหลวงพ่อชื่อดังในอดีต หนังสือก็สถาปนาให้เป็นศิษย์เอกไปซะหมด

    <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro-->ศิษย์เอกหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง ศิษย์เอกหลวงพ่อจง ฯลฯ หลวงพ่อท่านก็ไม่ได้ประกาศตัว หรือแสดงตนขนาดนั้น หนังสือเขียนไว้ก็ยังไ่ม่ละอายปากกาเลย<!--colorc--><!--/colorc-->

    ตอนผมทำงาน เวลาจะเสนอข้อมูล ผมจะค่อนข้างระวังเรื่องข้อเท็จจริงมาก อะไรที่ไม่จริง หรือไม่มีเรื่องยืนยัน ก็จะไม่นำเสนอเป็นอันขาด ทำให้ผมค่อนข้างจะอคติกับหนังสือขายพระ

    เรื่องอะไรที่มีเนื้อความอยู่หน่อย เขียนถ่ายทอดใส่ บทสนทนาให้เรียบร้อย (เข้าข่ายนิยายไปเลย)
    โดยส่วนตัวผมไม่ได้ปฏิเสธว่าปาฏิหารย์ อภิญญา ไม่มีจริง แต่ผมแทบจะไม่เชื่อข้อมูลที่มาจากหนังสือขายพระครับ
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->


    ด้วยความเคารพครับ
    เห็นด้วยเช่นกันครับ
    หลวงปู่บางองค์ ไปเรียนทัน ครูบาอาจารย์เหล่านั้น ครอบวิชา
    โบราณเค้าครอบ ครอบกันจริงๆ เอาบาตรครอบหัวกันเลย
    มียกครูมีบายศรีครบ ทำกันปีละหน
    ไม่ใช่ให้เป่าหัว จับมือ ก็ถือว่าประสิทธิประสาทวิชาให้กันแล้ว
    หลวงปู่หลวงพ่อ ท่านรับครอบมาแบบนั้น ยังไม่กล้ายกตัวเป็นศิษย์เอกเลย
    บางองค์ไปเรียน ครูบาอาจารย์ให้คาถามาแค่ สองสามบท นี้นั้นเป็นศิษย์เอกหรือ
    พระที่พยายามเป็นเกจิบางองค์ ผมเห็นโฆษณาซะดี แต่พอไปพุทธธาภิเษกจริง
    นั่งหลับบ้าง นั่งไม่ทนบ้าง
    พระอายุเก้าขึ้นบางรูป ผมเห็นแล้วทึ่ง นั่งจนจบสี่ยก ไม่มีหลับ ไม่มีคอตก
    ไม่ไหวก็ขอตัวกลับ ไม่ทนนั่งหลับ หรือนั่งบิดไปบิดมา

    ขอแสดงความนับถือ
    Gearmour

    Sonny
    25 November 2007, 04:52 AM

    [​IMG] [​IMG]

    ไม่รู้จะเติมป๋า Dick ยังไง เอาตัวยิ้มไปก่อนครับ

    อืม เวลาพระท่านมอบพระ หรือสร้างพระ ท่านจะบอกว่าต้องทำตัวอยู่ในศีลในธรรมนะ
    ที่ห้อยพระก็ไว้เตือนตนเสมอ และให้มีความมั่นใจ อุ่นใจ มีกำลังใจ

    ผมเป็นชาวพุทธ เลยไม่บูชาเทพ บูชาผี
    บูชาพระ ยังควรบูชาด้วยสติเลย
    เช่าพระเผลอหน่อย นึกว่าแท้ อ้าว "โดน" ซะแล้ว

    สมัยก่อนที่คนนิยมไปให้หลวงพ่อคูณเคาะหัว นัยว่าเคาะแล้วโชคดี
    ถ้ามองเป็นปริศนาธรรม คือท่านเตือนให้ใช้สมองซะมั่ง
    ถ้าผมคิดว่าเคาะบ่อยๆเคาะแรงๆยิ่งดี สมองเสื่อมไปเลย

    การเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้ายังมี 2 แบบ
    คือบุคคลาธิษฐาน กับ ธรรมาธิษฐาน
    แล้วแต่ระดับความเข้าใจของผู้รับฟัง [​IMG]

    จอน
    25 November 2007, 07:04 AM

    ผมคิดว่าพระเครื่องเป็นภูมิปัญญาของคนไทยแต่โบราณ ให้คนสวมพระที่คอ ระลึกได้ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และมีสติอยู่ท่ามกลางอันตรายต่างๆ ทั้งตามธรรมชาติและจากมนุษย์ด้วยกันเอง ปาฏิหารย์เกิดขึ้นกับคนประพฤติธรรมเสมอ เช่นรอดพ้นจากคนพาล ไม่เป็นตับแข็งเพราะงดดืมสุรา ไม่ถูกฆ่าเพราะไปผิดลูกผิดเมียชาวบ้าน ฯลฯ

    ทุกวันนี้ ผมห้อยเหรียญพระมหาชนก ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเตือนตนเองว่า “ทุกคนควรจะมีความเพียร ไม่ควรท้อแท้ ถึงแม้ว่า จะไม่เห็นจุดหมายปลายทางของความเพียร แต่เราก็ควรจะดำเนินต่อไป”

    gong
    25 November 2007, 07:28 AM

    บูชาแล้วเป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี จริง ๆ ครับ เห็นมาแล้ว



    แต่เป็นแต่ผู้จัดสร้างนะครับ ได้เป็นเศรษฐีจริง ๆ


    ชมจันทร์
    25 November 2007, 10:38 AM

    แปลกนะครับ พระเครื่องซึ่งเป็นของสูง ของที่เราเคารพบูชา


    แต่คนขายพระมักจะตรงกันข้าม ส่วนใหญ่จะมาแต่ต่ำ แต่อบายภูมิ


    มีเพื่อนคนนึงอธิบายว่า ของสูงสุด คนขายกลับจิตใจเตี้ยที่สุดครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.konrakmeed.com/webboard/upload/lofiversion/index.php?t4377.html

    LEE
    25 November 2007, 10:59 AM
    ดีใจที่มีกระทู้นี้ขึ้นมา
    แต่ว่าเกือบทุกคนตอนเริ่มเล่นพระใหม่ๆคงติดอยู่ในความศักดิ์สิทธิ์ปฏิหาร และเชื่อในข่าวสารที่ได้รับ
    เมื่อเวลาผ่านไป สติและปัญญา จะนำทางกลับมาเองครับ [​IMG]
    แงซาย
    25 November 2007, 11:21 AM

    <!--quoteo(post=74197:date=25 November 2007, 10:59 AM:name=LEE)-->QUOTE(LEE @ 25 November 2007, 10:59 AM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    ดีใจที่มีกระทู้นี้ขึ้นมา
    แต่ว่าเกือบทุกคนตอนเริ่มเล่นพระใหม่ๆคงติดอยู่ในความศักดิ์สิทธิ์ปฏิหาร และเชื่อในข่าวสารที่ได้รับ
    เมื่อเวลาผ่านไป สติและปัญญา จะนำทางกลับมาเองครับ [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ผมชอบแนวคิดพี่ครับ

    พี่ lee ครับ
    ผมไม่ได้ลองภูมิหรืออะไรทั้งสิ้น
    แต่อยากขอข้อมูลจากพี่
    หรือใครก็ตามที่สามารถเอื้อเฟื้อข้อมูล

    คนไทย คนในประเทศไทยเราเนี่ยครับ
    เริ่มนำพระเครื่องมาคล้องคอ
    สมัยไหนหรือ พ.ศ. อะไร
    เรื่องของเหตุผล
    ผมคิดว่าถ้ารู้เรื่องเวลา
    คงสามารถวิเคราะห์ได้ครับ

    ด้วยความเคารพรักครับ
    [​IMG]

    LEE
    25 November 2007, 12:29 PM

    <!--quoteo(post=74199:date=25 November 2007, 11:21 AM:name=แงซาย)-->QUOTE(แงซาย @ 25 November 2007, 11:21 AM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    ผมชอบแนวคิดพี่ครับ

    พี่ lee ครับ
    ผมไม่ได้ลองภูมิหรืออะไรทั้งสิ้น
    แต่อยากขอข้อมูลจากพี่
    หรือใครก็ตามที่สามารถเอื้อเฟื้อข้อมูล

    คนไทย คนในประเทศไทยเราเนี่ยครับ
    เริ่มนำพระเครื่องมาคล้องคอ
    สมัยไหนหรือ พ.ศ. อะไร
    เรื่องของเหตุผล
    ผมคิดว่าถ้ารู้เรื่องเวลา
    คงสามารถวิเคราะห์ได้ครับ

    ด้วยความเคารพรักครับ
    [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    ผมก็อยากจะขอความรู้จากท่านผู้รู้ด้วยครับ
    เรื่องนำพระเครื่องมาห้อยคอ เนื่องในโอกาสต่างๆ เช่น ยามปกติ ยามเกิดศึกสงคราม ในความคิดส่วนตัวผม
    เมื่อก่อนคนเราไม่เฉพาะคนไทย และไม่เฉพาะเอเชีย คงห้อยพวกเครื่องรางธรรมชาติเช่น พวกหิน เขี้ยว งา
    มากกว่า ส่วนบ้านเรานอกจากพวกเครื่องรางธรรมชาติแล้วคงต่อเนื่องด้วยเครื่องรางที่สร้างขึ้น พวกผ้าประเจียด
    ตระกรุด และการสักยันต์เป็นต้น
    เรื่องพระเครื่องสำหรับผมยังไม่เจอการบันทึกที่เป็นที่น่าเชื่อถือได้ว่าคนไทยนำมาห้อยคอตั้งแต่เมื่อไร
    ส่วนพระเครื่องนั้นคงมีมานานแล้ว คาดว่ามีมาก่อนยุคสุโขทัยเสียอีก (ผมก็ไม่ทราบว่านักประวัติศาสตร์ถือว่า
    ประเทศไทยนับเริ่มแต่เมื่อไร) มีการค้นพบพระเครื่อง ยุค ทราวดี เชียงแสน ศรีวิชัย แต่คนยุคนั้นคงไม่นำมา
    ห้อยคอเพื่อคุ้มครองตัว
    ผมก็อยากจะทราบเกล็ดย่อยที่ว่า ที่พระมาลาเบี่ยงของท่านองค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชมีพระ
    เครื่องติดอยู่หรือไม่ เพราะมีการกล่าวอ้างหลายกระแส ทั้งพระหูยาน พระเม็ดข้าวเม่าพิจิตร วานผู้รู้กรุณา
    ช่วยวิเคราะห์ให้ด้วย ไม่ต้องฟันธง [​IMG]

    แงซาย
    25 November 2007, 01:01 PM

    <!--quoteo(post=74205:date=25 November 2007, 12:29 PM:name=LEE)-->QUOTE(LEE @ 25 November 2007, 12:29 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->

    ผมก็อยากจะทราบเกล็ดย่อยที่ว่า ที่พระมาลาเบี่ยงของท่านองค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชมีพระ
    เครื่องติดอยู่หรือไม่ เพราะมีการกล่าวอ้างหลายกระแส ทั้งพระหูยาน พระเม็ดข้าวเม่าพิจิตร วานผู้รู้กรุณา
    ช่วยวิเคราะห์ให้ด้วย ไม่ต้องฟันธง [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ไม่มีครับพี่ ฟันธง
    สมัยโบราณ ยุคพระนเรศวร
    พระเครื่องยังไม่กล้าเอาเข้าบ้านเลยครับ
    ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องราง ของขลังอย่างที่พี่ว่า
    การสร้างพระสมัยนั้น ถือเป็นการสืบอายุพระพุทธศาสนา
    ไม่ใช่เรื่องคนธรรมดา บ้าน ๆ จะนำมาไว้ แม้แต่พระมหากษัตริย์
    ซึ่งสมัยนั้น ก็เป็นเพียงเจ้าครองแคว้นเล็ก ๆ ครับ
    ส่วนใหญ่จะสร้าง 84,000 องค์ เท่าพระธรรมขรรธ์ครับ

    เรื่องเอาพระเครื่องเข้าบ้าน

    ผมว่า.....
    น่าจะกลาง ๆ สมัยรัตนโกสินทร์
    เอาให้กระชับเข้าอีก
    ก็สงครามปราบเงี้ยวแค่นี้เองครับ

    ไม่ชัวร์ ไม่ฟันธงครับ
    ใครมีข้อมูลชัดเจน
    ขอความกรุณาครับ
    [​IMG]

    (สงสัยพระธรรมขรรธ์เขียนผิด แต่ขี้เกียจเปิดพจนาณุกรมครับ)

    สีดอ
    25 November 2007, 01:26 PM

    <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro--><!--sizeo:5--><!--/sizeo-->อยากรวย...ต้อง...ขยัน

    อยากมีเมียดี....ต้อง.....เป็นคนดี<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    LEE
    25 November 2007, 01:35 PM

    <!--quoteo(post=74222:date=25 November 2007, 01:26 PM:name=สีดอ)-->QUOTE(สีดอ @ 25 November 2007, 01:26 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro--><!--sizeo:5--><!--/sizeo-->อยากรวย...ต้อง...ขยัน

    อยากมีเมียดี....ต้อง.....เป็นคนดี<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    ชอบครับพี่ [​IMG]

    ooTIMoo
    25 November 2007, 04:12 PM

    <!--quoteo(post=74170:date=25 November 2007, 02:22 AM:name=Gearmour)-->QUOTE(Gearmour @ 25 November 2007, 02:22 AM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    คนมันจะขายของครับ
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ตามนี้ครับท่านพี่

    สมัยนี้ เรียกกันว่า "ธุรกิจพระเครื่อง" .. มีเศรษฐีเกิดขึ้นเพราะการ "ขายพระเครื่อง" มากมาย .. ปั้นเรื่องราวขึ้นมาให้คนหลงเชื่อ .. บางครั้ง แม้แต่พิมพ์พระ ยังเปลี่ยนกันได้เลย เพราะของแท้หายาก ของเก๊หาง่ายกว่า พิมพ์นี้ทำเสริมขึ้นมา แต่เล่นหากันเป็นของแท้ เพราะการโฆษณาลงในหนังสือ ประกาศเลยว่า นี่แหละ ของแท้

    การสร้างพระเครื่อง พระบูชา ครูบาอาจารย์ท่านมีเจตนา บ้างเพื่อการศึกสงคราม บ้างเพื่อสืบต่อพุทธศาสนา บ้างเพื่อป้องกันคุณไสย เสนียดจัญไร .. แต่ภายหลัง มีผู้เอาไปใช้ในทางที่ผิดซะเยอะครับ .. โดยเฉพาะมุ่งมั่นแต่เรื่องใต้สะดือ กับเรื่องรวยล้นฟ้านี่ เจอบ่อยครับ

    เป็นการบูชาด้วยกิเลส บูชาอย่างหน้ามืดตามัว .. สุดท้าย คนที่ร่ำรวยเป็นเศรษฐี ก็คือเจ้าของธุรกิจพระเครื่องนั่นแหละครับ

    U10
    25 November 2007, 06:31 PM

    <!--quoteo(post=74222:date=25 November 2007, 01:26 PM:name=สีดอ)-->QUOTE(สีดอ @ 25 November 2007, 01:26 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro--><!--sizeo:5--><!--/sizeo-->อยากรวย...ต้อง...ขยัน

    อยากมีเมียดี....ต้อง.....เป็นคนดี<!--sizec--><!--/sizec--><!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    แ๋จ๋ว....เลยครับพี่

    แล้วที่ว่า ..."พี่เป็นคนดีเกินไป....." มันหมายความว่ายังไงครับ [​IMG]

    LEE
    25 November 2007, 06:34 PM

    <!--quoteo(post=74272:date=25 November 2007, 06:31 PM:name=U10)-->QUOTE(U10 @ 25 November 2007, 06:31 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    แ๋จ๋ว....เลยครับพี่

    แล้วที่ว่า ..."พี่เป็นคนดีเกินไป....." มันหมายความว่ายังไงครับ [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->
    อกหักซิครับ [​IMG]
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.konrakmeed.com/webboard/upload/lofiversion/index.php?t4377.html


    Dick
    25 November 2007, 08:11 PM
    เท่าที่ได้ยินมาจากแหล่งวงสนทนาทั่วไป


    1. คนสมัยก่อน สักยันต์ที่แผ่นหลัง เพื่อนให้ทหารคนที่ยืนอยู่ข้างหลังได้เห็นแผนผังการตั้งแถว ตั้งแนวรบ

    2. พระคงลำพูน อายุกว่าพันสองร้อยปี มีไว้เพื่อทหารทั่วไปพกติดตัวไปรบ ส่วนพระรอดลำพูนที่อยู่ในกรุเดียวกันมีน้อยกว่า เพราะเป็นพระประจำตัวของนายทหาร

    3. ตลาดพระ และการแลกเปลี่ยนพระ เริ่มขึ้นแถวคลองแสนแสบ หน้ากระทรวงยุติธรรม ช่าวงหลังสงคราโลกครั้งที่สอง
    Rick ฅนมหากาฬ
    25 November 2007, 08:16 PM

    ความเชื่อของคนเรามันต่างคนต่างเชื่อ เพราะมีพื้นฐานมาแตกต่างกัน
    ครั้งหนึ่งผมก็เคยเล่นพระและศัทธาในครูบาอาจารย์ยุคก่อนเก่าพยายาม
    ศึกษาและสะสมพระเก่าโดยอาศัยความรู้จากผู้รู้ที่มีชื่อเสียงน่านับถือมาก
    แต่ก็อยู่ในแวดวงที่มีแต่เล่ห์เหลี่ยมเขี้ยวลากดินจนสุดท้ายผมก็อยู่ในวงการ
    นั้นไม่ได้ สูญเสียเงินไปจำนวนมากพอสมควรกับการเช่าพระหลักแต่เก๊เกือบ
    100% มีแท้ไม่ถึง 10 องค์ จนผมหันหลังให้วงการนั้นแล้วมาศัทธา สะสม
    พระใหม่ที่มีพระอาจารย์ยังคงมีชีวิตอยู่ ได้มองเห็นได้รู้ถึงศีล ถึงธรรมของท่าน
    และคนจำนวนมากเกือบทั้งประเทศก็คงจะมีลักษณะเดียวกับผม จะหาทุนที่ไหน
    มาถมเพื่อลองผิด ลองถูกจนรู้ว่าพระแต่ละองค์เก๊ แท้อย่างไร เพราะผู้รู้อย่างเซียน
    เป็นอย่างไรก็คงรู้กันอยู่ ถ้าทุกคนรู้จักพระหมดแล้วเซียนจะเล่นพระอย่างไร ดังนั้น
    คนส่วนใหญ่จึงต้องเล่นพระใหม่ที่มีการตลาดนำหน้าลุ่มหลงในการเขียนยกย่อง
    ส่งเสริมกันเกินจริง คนเล่นพระใหม่เพราะไม่มีกุนซือคอยแนะนำจึงกลายเป็นเหยื่อ
    ต้องมีคนคอยแนะนำให้เล่นพระด้วยสติ วิจารณญาณ มากกว่าลมที่เป่าใส่หูและ
    ความโลภของค่าตัวพระที่ทวีสูงขึ้น พระใหม่วันนี้ก็จะเป็นพระเก่าในวันหน้า เช่น
    พระหลวงปู่ทิม วัดละหานไร่ ผมเคยไปกราบท่านขอลงน้ำมันกับท่านตอนวัยรุ่น
    ยังเห็นโฆษณาพระกริ่งชิญบัญชร ราคา 300 บาท แต่ไม่มีปัญญาเช่าเพราะมีเงิน
    เดือนๆละ 300 บาทเท่าราคาพระปัจจุบันนี้ไปถึงไหนแล้ว แต่นั่นไม่สำคัญเท่า
    จิตที่ท่านเสกมาให้ต่างหาก ทุกวันนี้คนห้อยพระเพื่อยึดเหนี่ยวผมคิดว่าน้อยมาก
    ส่วนใหญ่ก็หวังเล็กๆน้อยๆ ว่าจะมีเมตตา คงกระพัน แคล้วคลาด โชคลาภ บ้าง
    แต่อย่างน้อยก็เป็นกำลังใจ แหมจบไม่ลง เราต้องช่วยกันให้ความรู้ข้อเท็จจริงกับ
    คนที่พึ่งเล่นพระใหม่

    U10
    25 November 2007, 08:39 PM

    <!--quoteo(post=74274:date=25 November 2007, 06:34 PM:name=LEE)-->QUOTE(LEE @ 25 November 2007, 06:34 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    อกหักซิครับ [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    [​IMG] มีคนกระซิบ..บอกว่าไม่ใช่ครับพี่
    เค้าบอกว่า แสดงว่าเป็นคน <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro-->ชักช้า<!--colorc--><!--/colorc--> ไม่ทันใจ ไม่ได้ความ [​IMG] [​IMG]

    Werewolf
    25 November 2007, 10:40 PM

    <!--quoteo(post=74311:date=25 November 2007, 08:39 PM:name=U10)-->QUOTE(U10 @ 25 November 2007, 08:39 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    [​IMG] มีคนกระซิบ..บอกว่าไม่ใช่ครับพี่
    เค้าบอกว่า แสดงว่าเป็นคน <!--coloro:#FF0000--><!--/coloro-->ชักช้า<!--colorc--><!--/colorc--> ไม่ทันใจ ไม่ได้ความ [​IMG] [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->



    อันนี้ถูกใจจัง [​IMG] [​IMG]

    Werewolf
    25 November 2007, 10:44 PM

    <!--quoteo(post=74167:date=25 November 2007, 01:57 AM:name=Dick)-->QUOTE(Dick @ 25 November 2007, 01:57 AM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    เครื่องรางชุดนี้ เอาไปบูชาแล้วเป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี........ถ้าเป้นเช่นนี้จริง ไม่ต้องทำมาหากินดีกว่า โลกนี้ต้องไม่มีคนจนเพราะมากราบไหว้เจ้าลัทธินี้

    เครื่องรางปาฎิหาริย์ โคตรๆ .......ไม่ใช่ปาฎิหาริย์ธรรมดา ปาฎิหาริย์ธรรมดาก็คงแค่ยิงไม่ออก หรือออกแต่ไม่เข้า
    ปาฎิหาริย์โคตรๆ นี่แบบว่ายิงไม่ออก ออกก็ไม่เข้า จับไปเผา เอาระเบิดยัด รถบดถนนทับซ้ำ ยังออกมาเดินป๋อ แบบนี้สิ ปาฎิหาริย์โคตรๆ

    ก้อนประหลาดรุ่นรวยโคตร ใครเอาไปบูชาแล้วจะถูกหวย ผมเห็นว่ากองสลาก กับเจ้ามือหวยรวยเอา รวยเอา พระสงฆ์ที่เคยเป็นข่าวว่าถูกวางยาตาย พอตอนหลังข่าวบอกว่าเล่นหวยจนติดหนี้สินรุงรุง ไม่มีปัญญาใช้ แหม น่าจะเอาก้อนอะไรนี่ไปบูชาซะก็ดี

    ที่ว่ามานี้ ไม่ได้ต่อต้าน เพราะตัวเองก็ห้อยพระอยู่ และเชื่อในพุทธคุณ อภินิหาริย์ ........แต่ผมยอมรับที่เขาทำกัน พูดกันแค่พอหอมปาก หอมคอดีกว่า
    พูดถึงพระเครื่อง ดุเรื่องพุทธศิลป์ เรื่องวัตรปฎิบัติของพระอาจารย์ พิธีกรรมตามอุดมคติ .......อะไรทำนองนี้จะดีกว่าไหม ?
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ตราบใดที่บ้านเรายังมีความเชื่อเรื่องโชคเรื่องดวงอยู่ สิ่งเหล่านี้ก็จะไม่มีวันหายไปหรอกครับท่าน

    คนเก่ารู้ทัน คนใหม่ๆก็จะเข้ามาให้โดนหลอกกันอีก แม้คนมีความรู้มากๆก็ยังเชื่อเรื่องพวกนี้เลยครับท่าน [​IMG]

    ยักษ์
    26 November 2007, 09:06 AM

    เท่าที่เคยได้ยินมา พระกรุบ้านกร่างก็สร้างขึ้นเพื่อให้ทหารนำติดตัวออกรบ
    ใครรอดกลับมาก็เอาพระมาฝังไว้ในกรุด้วยกัน เมื่อจะออกรบใหม่ก็สร้างกันใหม่
    ซึ่งคนโบราณจะถือคติไม่เอาของวัดเข้าบ้าน [​IMG]

    Darika
    26 November 2007, 09:14 AM

    <!--quoteo(post=74298:date=25 November 2007, 08:16 PM:name=Rick ฅนมหากาฬ)-->QUOTE(Rick ฅนมหากาฬ @ 25 November 2007, 08:16 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    ความเชื่อของคนเรามันต่างคนต่างเชื่อ เพราะมีพื้นฐานมาแตกต่างกัน
    ครั้งหนึ่งผมก็เคยเล่นพระและศัทธาในครูบาอาจารย์ยุคก่อนเก่าพยายาม
    ศึกษาและสะสมพระเก่าโดยอาศัยความรู้จากผู้รู้ที่มีชื่อเสียงน่านับถือมาก
    แต่ก็อยู่ในแวดวงที่มีแต่เล่ห์เหลี่ยมเขี้ยวลากดินจนสุดท้ายผมก็อยู่ในวงการ
    นั้นไม่ได้ สูญเสียเงินไปจำนวนมากพอสมควรกับการเช่าพระหลักแต่เก๊เกือบ
    100% มีแท้ไม่ถึง 10 องค์ จนผมหันหลังให้วงการนั้นแล้วมาศัทธา สะสม
    พระใหม่ที่มีพระอาจารย์ยังคงมีชีวิตอยู่ ได้มองเห็นได้รู้ถึงศีล ถึงธรรมของท่าน
    และคนจำนวนมากเกือบทั้งประเทศก็คงจะมีลักษณะเดียวกับผม จะหาทุนที่ไหน
    มาถมเพื่อลองผิด ลองถูกจนรู้ว่าพระแต่ละองค์เก๊ แท้อย่างไร เพราะผู้รู้อย่างเซียน
    เป็นอย่างไรก็คงรู้กันอยู่ ถ้าทุกคนรู้จักพระหมดแล้วเซียนจะเล่นพระอย่างไร ดังนั้น
    คนส่วนใหญ่จึงต้องเล่นพระใหม่ที่มีการตลาดนำหน้าลุ่มหลงในการเขียนยกย่อง
    ส่งเสริมกันเกินจริง คนเล่นพระใหม่เพราะไม่มีกุนซือคอยแนะนำจึงกลายเป็นเหยื่อ
    ต้องมีคนคอยแนะนำให้เล่นพระด้วยสติ วิจารณญาณ มากกว่าลมที่เป่าใส่หูและ
    ความโลภของค่าตัวพระที่ทวีสูงขึ้น พระใหม่วันนี้ก็จะเป็นพระเก่าในวันหน้า เช่น
    พระหลวงปู่ทิม วัดละหานไร่ ผมเคยไปกราบท่านขอลงน้ำมันกับท่านตอนวัยรุ่น
    ยังเห็นโฆษณาพระกริ่งชิญบัญชร ราคา 300 บาท แต่ไม่มีปัญญาเช่าเพราะมีเงิน
    เดือนๆละ 300 บาทเท่าราคาพระปัจจุบันนี้ไปถึงไหนแล้ว แต่นั่นไม่สำคัญเท่า
    จิตที่ท่านเสกมาให้ต่างหาก


    <!--coloro:#CC0000--><!--/coloro-->ทุกวันนี้คนห้อยพระเพื่อยึดเหนี่ยวผมคิดว่าน้อยมาก
    ส่วนใหญ่ก็หวังเล็กๆน้อยๆ ว่าจะมีเมตตา คงกระพัน แคล้วคลาด โชคลาภ บ้าง
    แต่อย่างน้อยก็เป็นกำลังใจ แหมจบไม่ลง เราต้องช่วยกันให้ความรู้ข้อเท็จจริงกับ
    คนที่พึ่งเล่นพระใหม่<!--colorc-->
    <!--/colorc-->
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->


    ในท่ามกลาง ความรู้สึกที่ต้องการ การยึดเหนี่ยว จิตใจ
    การพึ่งพา อาศัย กับ การดลบันดาล แรงอธิาฐาน และ ปาฏิหารย์
    เป็น สิ่งที่เกิดได้ ง่ายที่สุด

    เข้าข่าย

    การ ทำงาน น้อย หวังผลมาก ...
    ไม่ ลงแรง ลงแต่ใจ หวังได้กำไร ประมาณนั้น

    อันที่จริง ดาริกา ไม่เห็นด้วยกับการโฆษณา พุทธพาณิชย์ ทุกรูปแบบค่ะ
    ความสนใจ บูชา พระเครื่องของหนู คล้ายๆ พี่ Rick
    หนูเริ่มจาก ศรัทธา ในครูบาอาจารย์ท่านนั้น
    เพิ่มเติมด้วย พุทธศิลป ...เป้นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจ
    เป็นเครื่องเตือนตน ...

    ยังจำ คำหลวงพ่อพุธ ฐานิโย
    เมื่อดาริกาไปกราบได้ ขึ้นใจ
    อ้าวนี่สนใจพระเครื่อง หรือ สนใจพระธรรม
    ตอนนั้นหนูยังเด็ก ก็ตอบไป อายๆ ว่า หนูสนใจทั้งสอง เจ้าค่ะ


    U10
    26 November 2007, 01:33 PM

    ขออนุญาติครับ........

    เกิดอาการ...ตาสว่าง.....สำหรับข้อคิดเตือนสติของพี่ๆทุกท่าน....ให้รู้-คิด-ทำ

    ผมมีป้ายโฆษณาแผ่นนึงมาฝากไว้ให้ชมเล่นๆ...ขออนุญาติทำเบรอในรายละเอียดครับ

    [​IMG]


    [​IMG]

    ooTIMoo
    27 November 2007, 06:23 PM

    ^
    ^
    ป้ายแบบนี้ เจอเป็นประจำครับ .. รุ่นไหนไม่รวย รุ่นนั้นไม่เป็นที่ดึงดูด ไม่นิยม [​IMG]

    U10
    27 November 2007, 07:06 PM

    <!--quoteo(post=74754:date=27 November 2007, 06:23 PM:name=ooTIMoo)-->QUOTE(ooTIMoo @ 27 November 2007, 06:23 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    ^
    ^
    ป้ายแบบนี้ เจอเป็นประจำครับ .. รุ่นไหนไม่รวย รุ่นนั้นไม่เป็นที่ดึงดูด ไม่นิยม [​IMG]
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ขออนุญาตครับ.....

    อันที่จริงผมตั้งใจว่าจะถ่ายอีกภาพนึงด้วยครับ แต่หยิบกล้องไม่ทันรถได้รับสัณญาณไฟเขียวซะก่อน..

    แต่พอจะจำชื่อได้ว่า "รุ่น อนาคตสดใส..รวมพลังสามเสือ" ...ก็ตามกระแสไป..ดูให้เพลินครับท่าน

    .................................................................................ขอแสดงความนับถือครับ... [​IMG]

    thaiput
    27 November 2007, 09:16 PM

    [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    ทัดมาลา
    27 November 2007, 11:32 PM

    พูดตรงๆว่ารับไม่ได้กับหลวงพี่บางรูป ที่นำหลวงพ่อที่น่าเคารพซึ่งมรณภาพแล้วมาเป็นจุดขาย...

    เห็นโฆษณาพุทธพาณิชย์แบบนี้ทีไร ก็หดหู่สังเวช........


    แนวทางแห่งพระพุทธองค์ เป็นไป เพื่อ ลด ละ เลิก........

    อะไรที่ออกนอกแนวนี้ ............. ผมไม่ศรัทธา

    Gearmour
    27 November 2007, 11:57 PM

    <!--quoteo(post=74799:date=27 November 2007, 11:32 PM:name=ทัดมาลา)-->QUOTE(ทัดมาลา @ 27 November 2007, 11:32 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    พูดตรงๆว่ารับไม่ได้กับหลวงพี่บางรูป ที่นำหลวงพ่อที่น่าเคารพซึ่งมรณภาพแล้วมาเป็นจุดขาย...

    เห็นโฆษณาพุทธพาณิชย์แบบนี้ทีไร ก็หดหู่สังเวช........
    แนวทางแห่งพระพุทธองค์ เป็นไป เพื่อ ลด ละ เลิก........

    อะไรที่ออกนอกแนวนี้ ............. ผมไม่ศรัทธา
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ด้วยความเคารพครับ
    อย่าคิดมากครับ มันมีอะไรที่มากกว่าที่เห็น
    ถ้าทราบ ถ้ารับรู้จะเกินคำว่ารับไม่ได้ ครับ
    ขอแสดงความนับถือ
    Gearmour


    ทัดมาลา
    3 December 2007, 11:15 AM

    <!--quoteo(post=74803:date=27 November 2007, 11:57 PM:name=Gearmour)-->QUOTE(Gearmour @ 27 November 2007, 11:57 PM) [​IMG]
    <!--quotec-->
    ด้วยความเคารพครับ
    อย่าคิดมากครับ มันมีอะไรที่มากกว่าที่เห็น
    ถ้าทราบ ถ้ารับรู้จะเกินคำว่ารับไม่ได้ ครับ
    ขอแสดงความนับถือ
    Gearmour
    <!--QuoteEnd-->
    <!--QuoteEEnd-->

    ครับป๋า....

    สมาธิ
    16 December 2007, 09:17 PM

    ครับไปร่ำไปเรียน ณที่นี่มานาน ก็ได้รู้ได้เห็นมาบ้าง อลังการงานสร้างของพี่เขาจริงๆ
    แล้วสักวันวสันต์ก็จะหมดลงครับ
     
  14. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เปล่าครับไม่ได้มีเจตนาเช่นนั้นแต่ต้องการให้เพื่อนๆและผู้ที่ใฝ่รู้ได้เห็นกัน ส่วนท่านอื่นที่ว่าอย่างโน้นอย่างนี้โชว์ก็เพื่อประเทืองปัญญาเขาครับ แต่ท่านเพชรท้วงมาก็ดีครับ ปล่อยให้ท่านเหล่านั้นรู้เฉพาะที่ตัวเองคิดว่ารู้รึกันครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2510

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=9 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt1 width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD>[​IMG]</TD><TD> </TD><TD width="100%">บอร์ด อกาลิโก ริมระเบียง &raquo; หนอนหนังสือ &raquo; ธรรมะ &raquo; </TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG] "ย้อนรอยกรรม ตำนานพระสุพรรณกัลยา" โดย หลวงปู่โง่น โสรโย </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    คัดมาจากหนังสือ .. " ย้อนรอยกรรม ตำนานพระสุพรรณกัลยา " .. เขียนโดย หลวงปู่โง่น โสรโย (หน้า 1-6)

    ผู้โพส
    แดดส่อง<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_8341", true); </SCRIPT>


    <HR><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD align=middle>พระตำนานของพระนางสุพรรณกัลยา

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER></CENTER>


    [​IMG]



    <DD>
    อัน<WBR>เรื่อง<WBR>ราว<WBR>ที่<WBR>กล่าว<WBR>ถึง พระ<WBR>ประวัติ<WBR>ของ พระ<WBR>นาง<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา ที่<WBR>จะ<WBR>บรรยาย<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>นี้ เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ได้<WBR>สัมผัส มา<WBR>จาก<WBR>ทาง<WBR>ฝัน<WBR>โดย<WBR>บังเอิญ และ<WBR>จาก<WBR>เกร็ด<WBR>พงศาวดาร<WBR>ที่<WBR>คน<WBR>ต่าง<WBR>ชาติ คือ พม่า<WBR>เขา<WBR>เขียน<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>มาก<WBR>นัก น้ำ<WBR>หนัก<WBR>ก็<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>เรื่อง พระ<WBR>นาง<WBR>เลี้ยง<WBR>น้อง และ<WBR>ปก<WBR>ครอง<WBR>คน<WBR>ไทย เอา<WBR>ใจ<WBR>ใส่<WBR>พวก<WBR>ชาติ<WBR>เดียว<WBR>กัน<WBR>เท่า<WBR>นั้น ท่าน<WBR>ผู้<WBR>อ่าน ท่าน<WBR>ผู้<WBR>ฟัง ถ้า<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>ทำ<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>เปิด<WBR>กว้าง<WBR>พอ พอ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>รับ<WBR>ฟัง<WBR>เหตุ<WBR>ผล ก็<WBR>คง<WBR>จะ<WBR>นึก<WBR>ว่า<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>มัน<WBR>เป็น impossible หรือ unbelievable นี่<WBR>หว่า แต่<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>แล้ว และ<WBR>ก็<WBR>น่า<WBR>เชื่อ<WBR>ถือ เพราะ<WBR>หลัก<WBR>ฐาน<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>รูป<WBR>ธรรม และ<WBR>นาม<WBR>ธรรม ก็<WBR>ได้<WBR>มา<WBR>ปรากฏ ดัง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>กล่าว<WBR>ต่อ<WBR>ไป



    <DD>เมื่อ<WBR>ปี พ.ศ. 2490 ประเทศ<WBR>สหภาพ<WBR>พม่า ได้<WBR>รับ<WBR>การ<WBR>ปลด<WBR>ปล่อย จาก<WBR>การ<WBR>เป็น<WBR>เมือง<WBR>ขึ้น ของ<WBR>มหา<WBR>อำนาจ<WBR>ตะวัน<WBR>ตก เขา<WBR>ยก<WBR>พม่า<WBR>ให้<WBR>ปก<WBR>ครอง<WBR>ตัว<WBR>เอง เป็น<WBR>เอกราช ข้าพเจ้า<WBR>ได้<WBR>ถูก<WBR>เชิญ (ถูก<WBR>นิมนต์) จาก ท่าน<WBR>มหา<WBR>ปี<WBR>ตะโก ภิกษุ ท่าน<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>เถระ ที่<WBR>คง<WBR>แก่<WBR>เรียน<WBR>ทาง<WBR>ธรรม ท่าน<WBR>เรียน<WBR>จบ<WBR>พระ<WBR>ไตรปิฏก ทาง<WBR>โลก ท่าน<WBR>จบ<WBR>มหา<WBR>บัณฑิต สาขา Philosophy จากอ๊<WBR>อกฟอร์ด ลอน<WBR>ดอน ใน<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>ร่วม<WBR>กัน ที่<WBR>ประเทศ<WBR>อังกฤษ บ้าน<WBR>เกิด<WBR>เมือง<WBR>นอน<WBR>ของ<WBR>ท่าน อยู่<WBR>ที่<WBR>เมือง<WBR>หง<WBR>สาว<WBR>ดี<WBR>คือ เมือง<WBR>พะ<WBR>โค อยู่<WBR>ทาง<WBR>ทิศ<WBR>เหนือ<WBR>ของ<WBR>กรุง<WBR>แรง<WBR>กุน (เมือง<WBR>ย่าง<WBR>กุ้ง) <DD><DD>ท่าน<WBR>ได้<WBR>นิมนต์ ให้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>งาน ด้านป<WBR>ติ<WBR>มา<WBR>กรรม คือ<WBR>เป็น<WBR>ช่าง<WBR>เขียน<WBR>ฝา<WBR>ผนัง ซ่อม<WBR>แซม<WBR>รูป<WBR>ลาย<WBR>ฝา<WBR>ผนัง<WBR>ที่<WBR>ชำรุด<WBR>ให้<WBR>ดี<WBR>ขึ้น อัน<WBR>การ<WBR>ปรารภ<WBR>เรื่อง<WBR>ติด<WBR>ต่อ<WBR>กัน<WBR>ใน<WBR>ต่าง<WBR>ประเทศ ข้าพเจ้า<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>แบ่ง<WBR>รับ<WBR>แบ่ง<WBR>สู้ อย่าง<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>กลับ<WBR>เมือง<WBR>ไทย<WBR>ก่อน พอ<WBR>มา<WBR>ถึง<WBR>เมือง<WBR>ไทย ได้<WBR>รับ<WBR>ความ<WBR>ดล<WBR>ใจ ใน<WBR>คำ<WBR>สั่ง<WBR>ของ<WBR>ตุ๊<WBR>เจ้า<WBR>ครู<WBR>บาศ<WBR>รีวิ<WBR>ชัย<WBR>ใน<WBR>ทาง<WBR>ฝัน จึง<WBR>ได้<WBR>ออก<WBR>เดิน<WBR>ทาง<WBR>ไป ดัง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>กล่าว<WBR>ไว้<WBR>ใน<WBR>ตอน<WBR>ตาม<WBR>รอย<WBR>กรรม ใน<WBR>ระยะ<WBR>ที่<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไป<WBR>อยู่<WBR>นั้น ก็<WBR>เกิด<WBR>เรื่อง ที่<WBR>พระ<WBR>ภิกษุ<WBR>สงฆ์<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>พม่า ซึ่ง<WBR>ประกาศ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ใจ ใน<WBR>นโยบาย<WBR>ของ<WBR>รัฐบาล เกี่ยว<WBR>เรื่อง<WBR>สม<WBR>ณ<WBR>ศักดิ์ คือ<WBR>เขา<WBR>จะ<WBR>ยก<WBR>ฐานะ<WBR>ให้<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>พม่า มี<WBR>สม<WBR>ณ<WBR>ศักดิ์<WBR>เหมือน<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ทั่ว<WBR>ประเทศ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ใจ ใน<WBR>เรื่อง<WBR>ลาภ<WBR>ยศ จึง<WBR>ก่อ<WBR>เหตุ<WBR>เดิน<WBR>ขบวน<WBR>ต่อ<WBR>ต้าน

    <DD>รัฐ<WBR>จึง<WBR>จำ<WBR>เป็น<WBR>ต้อง<WBR>ยก<WBR>ธง<WBR>ขาว<WBR>ยอม<WBR>แพ้ อนุโลม<WBR>ตาม<WBR>ความ<WBR>ต้อง<WBR>การ ของ<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>เรื่อง<WBR>ก็<WBR>จบ เท่า<WBR>ที่<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ได้<WBR>เคย<WBR>เห็น<WBR>มา ก็<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>อยู่<WBR>สอง<WBR>ประเทศ คือ พระ<WBR>สงฆ์<WBR>พม่า และ<WBR>ศรี<WBR>ลัง<WBR>กา พระ<WBR>คุณ<WBR>ท่าน<WBR>มี<WBR>อำนาจ<WBR>ใน<WBR>ทาง<WBR>การ<WBR>เมือง เล่น<WBR>การ<WBR>เมือง<WBR>ได้ สมัคร<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>แทน<WBR>ได้ เข้า<WBR>ไป<WBR>นั่ง<WBR>ประชุม<WBR>ใน<WBR>สภา<WBR>ได้ เพราะ<WBR>พระ<WBR>คุณ<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>ยี่หระ ที่<WBR>จะ<WBR>ยอม<WBR>รับ<WBR>เงิน<WBR>รับ<WBR>สิน<WBR>บน ค่า<WBR>เงิน<WBR>เดือน เป็น<WBR>ค่า<WBR>จ้าง เป็น<WBR>พระ<WBR>ลูก<WBR>จ้าง อัน<WBR>เป็น<WBR>ค่า<WBR>นิยพัต ค่า<WBR>ตาลปัต<WBR>พัด<WBR>ยศ<WBR>จาก<WBR>รัฐ ซึ่ง<WBR>ถือ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>ลูก<WBR>จ้าง<WBR>จาก<WBR>ทาง<WBR>รัฐ เขา<WBR>ไม่<WBR>ยี่หระ<WBR>เหมือน<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย อัน<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>พระ<WBR>หม่อง<WBR>เดิน<WBR>ขบวน ก็<WBR>จบ<WBR>ลง<WBR>ไป<WBR>แล้ว แต่<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>สิ โดน<WBR>ข้อ<WBR>กล่าว<WBR>หา<WBR>อย่าง<WBR>หนัก<WBR>ว่า ความ<WBR>วุ่น<WBR>วาย ของ<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>เมียนม่า<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>มา<WBR>นั้น มี<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>อยู่<WBR>เบื้อง<WBR>หลัง เพราะ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไป<WBR>เดิน<WBR>กับ<WBR>เขา<WBR>ด้วย และ<WBR>เป็น<WBR>นาย<WBR>ทุน<WBR>สนับสนุน ใน<WBR>เรื่อง<WBR>ค่า<WBR>อาหาร ค่า<WBR>ใช้<WBR>จ่าย<WBR>ทุก<WBR>อย่าง เรา<WBR>ใช้<WBR>ทรัพย์<WBR>ส่วน<WBR>ตัว<WBR>ไป<WBR>ราว<WBR>ห้า<WBR>หมื่น

    <DD><DD>แต่<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>โชค<WBR>ดี<WBR>ที่<WBR>ระยะ<WBR>นั้น มหา<WBR>อำนาจ<WBR>ตะวัน<WBR>ตก ผู้<WBR>ปก<WBR>ครอง<WBR>เขา<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ว่า อัน<WBR>เรื่อง<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>องค์<WBR>เจ้า อังกฤษ<WBR>เขา<WBR>ไม่<WBR>เอา<WBR>มา<WBR>ยุ่ง<WBR>ด้วย และ<WBR>ผู้<WBR>หลัก<WBR>ผู้<WBR>ใหญ่<WBR>ของ<WBR>อังกฤษ ก็<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>กับ<WBR>เรา<WBR>ดี เขา<WBR>จึง<WBR>เพียง<WBR>กัก<WBR>สถาน<WBR>ที่ ให้<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>บริเวณ ของ<WBR>กระท่อม<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>นั้น<WBR>เอง ซึ่ง<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>เพื่อน<WBR>รัก<WBR>คือ อ้าย<WBR>เจ้า<WBR>เก่ง ภาษา<WBR>พม่า<WBR>เขา<WBR>เรียก<WBR>สุนัข<WBR>ว่า คย คย ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ถูก<WBR>เรียก<WBR>เป็น พ๊ง<WBR>จีคย คำ<WBR>ว่า<WBR>พระ<WBR>ภิกษุ<WBR>ภาษา<WBR>พม่า<WBR>เขา<WBR>เรียก<WBR>ว่า พ๊ง<WBR>จี จึง<WBR>เป็นพ๊ง<WBR>จีค<WBR>ยมา<WBR>ตลอด เพราะ<WBR>มี<WBR>สุนัข<WBR>เป็น<WBR>เพื่อน เขา<WBR>กัก<WBR>ขัง<WBR>บริเวณ ไว้<WBR>สอบ<WBR>สวน 15 วัน และ<WBR>อาศัย<WBR>พระ<WBR>สงฆ์ คือพ๊ง<WBR>จี<WBR>ของ<WBR>พม่า<WBR>ช่วย<WBR>ไว้ ชีวิต<WBR>หนอ<WBR>ชีวิต



    <DD>อัน<WBR>การ<WBR>ตก<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ต้อง<WBR>หา<WBR>ทาง<WBR>การ<WBR>เมือง<WBR>นั้น ใน<WBR>ชีวิต<WBR>การ<WBR>บวช<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า ได้<WBR>ประสบ<WBR>มา<WBR>แล้ว<WBR>หลาย<WBR>ครั้ง และ<WBR>ครั้ง<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>ครั้ง<WBR>ที่<WBR>สี่<WBR>แล้ว จึง<WBR>ไม่<WBR>วิตก<WBR>กังวล<WBR>อะไร<WBR>เป็น<WBR>ไร<WBR>เป็น<WBR>กัน ครั้ง<WBR>แรก<WBR>เมื่อ พ.ศ.2482 ถูก<WBR>ทหาร<WBR>ลาว<WBR>จับ อยู่<WBR>เวียง<WBR>จันทร์<WBR>เมือง<WBR>หลวง<WBR>ของ<WBR>ลาว เขา<WBR>จับ<WBR>ใน<WBR>ข้อ<WBR>หา<WBR>ว่า ข้าพเจ้า<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย เข้า<WBR>ไป<WBR>สืบ<WBR>ความ<WBR>ลับ<WBR>ทาง<WBR>ราช<WBR>การ เป็น<WBR>แนว<WBR>ที่<WBR>ห้า<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>เมือง<WBR>ไทย มัน<WBR>ถาม<WBR>เป็น<WBR>ภาษา<WBR>ไทย<WBR>ว่า ท่าน<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ไทย<WBR>หรือ ตอบ<WBR>มัน<WBR>ว่า<WBR>ใช่ อาตมา<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย เกิด<WBR>เมือง<WBR>ไทย เป็น<WBR>คน<WBR>ไทย เพราะ<WBR>ระยะ<WBR>นั้น สมัย<WBR>นั้น<WBR>สงคราม<WBR>มหา<WBR>เอเซีย<WBR>บูรพา<WBR>กำลัง<WBR>ก่อ<WBR>ตัว<WBR>ขึ้น อ้าย<WBR>ลาว<WBR>ไม่<WBR>ไว้<WBR>ใจ<WBR>ใคร<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น มัน<WBR>จับ<WBR>ขัง<WBR>ใส่<WBR>คุก<WBR>ขี้<WBR>ไก่<WBR>ไว้<WBR>สิบ<WBR>ห้า<WBR>วัน (มัน<WBR>แท้ๆ) คุก<WBR>ขี้<WBR>ไก่<WBR>คือ<WBR>ไก่<WBR>อยู่<WBR>ข้าง<WBR>บน คน<WBR>อยู่<WBR>ข้าง<WBR>ล่าง แต่<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>โชค<WBR>ดี<WBR>ที่<WBR>ระยะ<WBR>นั้น รัฐบาล<WBR>ไทย ได้<WBR>ประกาศ<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>กลาง ไม่<WBR>ขึ้น<WBR>กับ<WBR>ฝ่าย<WBR>ใด ไม่<WBR>เป็น<WBR>ศัตรู<WBR>กับ<WBR>ใคร เขา<WBR>จึง<WBR>ปล่อย<WBR>ออก<WBR>มา เมื่อ<WBR>ข้าม<WBR>มา<WBR>ฝั่ง<WBR>ไทย ตำรวจ<WBR>ไทย<WBR>เห็น<WBR>เข้า ถาม<WBR>เป็น<WBR>ภาษา<WBR>ลาว<WBR>ว่า (เจ้า<WBR>หัว<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>ไส) ตอบ<WBR>มัน<WBR>ว่า อาตมา<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>ฝั่ง<WBR>ซ้าย สำเนียง<WBR>ลาว<WBR>แท้ๆ เขา<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>ลาว มา<WBR>สืบ<WBR>ความ<WBR>ลับ<WBR>จับ<WBR>เข้า<WBR>อีก ขัง<WBR>ไว้<WBR>โรง<WBR>พัก<WBR>สอง<WBR>วัน แก้<WBR>ตัว<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ได้ เพราะ<WBR>เรา<WBR>มี<WBR>หลัก<WBR>ฐาน ทาง<WBR>หนังสือ<WBR>สุทธิ <DD>
    </DD>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2004931911151.jpg
      2004931911151.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.4 KB
      เปิดดู:
      50
    • kruba4.jpg
      kruba4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      15.5 KB
      เปิดดู:
      53
    • monk3-1.jpg
      monk3-1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.3 KB
      เปิดดู:
      50
    • monk3-2.jpg
      monk3-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      40.9 KB
      เปิดดู:
      33
    • monk3-4.jpg
      monk3-4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      29.9 KB
      เปิดดู:
      54
    • monk3-5.jpg
      monk3-5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      19.8 KB
      เปิดดู:
      52
    • monk3-6.jpg
      monk3-6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      29.4 KB
      เปิดดู:
      49
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <DD>และ<WBR>ต่อ<WBR>มา<WBR>เมื่อ<WBR>ปี พ.ศ. 2486 สงคราม<WBR>เอเซีย<WBR>บูรพา<WBR>สงบ ทหาร<WBR>ไทย<WBR>ได้<WBR>ตี<WBR>เมือง<WBR>พระ<WBR>ตะบอง เสียม<WBR>ราช ศรี<WBR>โสภณ กำปง<WBR>โสม ของ<WBR>เขมร คณะ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย จะ<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>เผย<WBR>แผ่<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา ใน<WBR>ประเทศ<WBR>เขมร สมเด็จ<WBR>พระ<WBR>มหาวีร<WBR>วงศ์ ติสโส (อ้วน) ท่าน<WBR>เป็น<WBR>มหา<WBR>สังฆนายก<WBR>องค์<WBR>แรก ใน<WBR>สมัย<WBR>นั้น ท่าน<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไป<WBR>ด้วย เพราะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>พูด<WBR>ภาษา<WBR>เขมร และ<WBR>ภาษา<WBR>ฝรั่งเศส<WBR>ได้ เพราะ เขมร<WBR>เคย<WBR>เป็น<WBR>เมือง<WBR>ขึ้น ของ<WBR>ฝรั่งเศส<WBR>มา<WBR>ก่อน เมื่อ<WBR>ขบวน<WBR>ท่าน<WBR>เสด็จ<WBR>กลับ ข้าพเจ้า<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>กลับ เพราะ<WBR>มี<WBR>ธุระ<WBR>หลาย<WBR>อย่าง คือ ต้อง<WBR>การ<WBR>เรียน<WBR>ภาษา<WBR>เขมร<WBR>ให้<WBR>แตก<WBR>ฉาน จึง<WBR>เดิน<WBR>ทาง เข้า<WBR>ไป<WBR>เมือง<WBR>พนมเปญ โดน<WBR>ทหาร<WBR>เขมร<WBR>จับ<WBR>เข้า<WBR>อีก ตั้ง<WBR>ข้อ<WBR>หา<WBR>ว่า ข้าพเจ้า<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>การ ที่<WBR>นำ<WBR>ทหาร<WBR>ไทย<WBR>ไป<WBR>ตี<WBR>เอา<WBR>บ้าน<WBR>เอา<WBR>เมือง<WBR>ของ<WBR>มัน แก้<WBR>ตัว<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ได้<WBR>เพราะ อาศัย<WBR>บารมี<WBR>ของ เจ้า<WBR>พระ<WBR>คุณ<WBR>สมเด็จ<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>วีร<WBR>วงศ์ และ<WBR>หลัง<WBR>จาก<WBR>นั้น<WBR>มา<WBR>อีก<WBR>หก<WBR>ปี คือ<WBR>ปี พ.ศ. 2490 โดน<WBR>อ้าย<WBR>หม่อง<WBR>พม่า<WBR>จับ<WBR>เข้า<WBR>อีก ครั้ง<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>ครั้ง<WBR>ที่<WBR>สี่<WBR>แล้ว จึง<WBR>ไม่<WBR>วิตก<WBR>กังวล ไม่<WBR>สะ<WBR>ทก<WBR>สะท้าน ใน<WBR>เหตุ<WBR>การณ์<WBR>แม้<WBR>แต่<WBR>น้อย เพราะ<WBR>เรื่อง<WBR>อย่าง<WBR>นี้ เคย<WBR>โดน<WBR>มา<WBR>ครั้ง<WBR>แล้ว<WBR>ครั้ง<WBR>เล่า <DD><DD><DD><DD><DD><DD>อัน<WBR>การ<WBR>ติด<WBR>คุก<WBR>ขี้<WBR>ไก่<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>ลาว<WBR>นั้น เท่า<WBR>ที่<WBR>สืบ<WBR>ดู<WBR>ใน<WBR>จำนวน พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>สอง<WBR>ท่าน คือ<WBR>ตัว<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>เอง<WBR>ติด<WBR>ก่อน ติด<WBR>อยู่<WBR>ถึง 15 วัน ท่าน<WBR>ที่<WBR>สอง<WBR>คือ พระ<WBR>อาจารย์<WBR>สม<WBR>ชาย วัด<WBR>เขาสุกิม แต่<WBR>ท่าน<WBR>สม<WBR>ชาย<WBR>ติด<WBR>ที<WBR>หลัง ติด<WBR>กี่<WBR>วัน<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ถาม<WBR>ท่าน ติด<WBR>เรื่อง<WBR>เดียว<WBR>กัน ที่<WBR>เขา<WBR>ถือ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>แนว<WBR>ที่<WBR>ห้า แต่<WBR>คน<WBR>ละ<WBR>วา<WBR>ระคน<WBR>ละ<WBR>แห่ง ทุก<WBR>ครั้ง<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>จับ<WBR>กุม<WBR>คุม<WBR>ขัง<WBR>นั้น เรา<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>เขา เรา<WBR>ไป<WBR>ทำ<WBR>ประ<WBR>โยชน์<WBR>ให้<WBR>เขา เรา<WBR>ขน<WBR>เอา<WBR>เงิน<WBR>ทอง<WBR>ของ<WBR>ส่วน<WBR>ตัว<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น ไป<WBR>ช่วย<WBR>เขา<WBR>ไป<WBR>ให้<WBR>เขา พอ<WBR>เรา<WBR>มี<WBR>เรื่อง<WBR>ขึ้น<WBR>มา<WBR>จะ<WBR>หา<WBR>ใครๆ ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>เลย <DD><DD><DD><DD><DD><DD>นี้<WBR>แหละ<WBR>หนา สัจจะ<WBR>ธรรม<WBR>กรรม<WBR>แท้ๆ จึง<WBR>ได้<WBR>คิด<WBR>เป็น<WBR>โคลง<WBR>กลอน<WBR>สอน<WBR>ใจ<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า (เมื่อ<WBR>มั่ง<WBR>มี ผี<WBR>ผอม<WBR>ตอม<WBR>กัน<WBR>แดก เมื่อ<WBR>โลง<WBR>แตก ผี<WBR>อ้วน<WBR>ชวน<WBR>กัน<WBR>หนี เมื่อ<WBR>มั่ง<WBR>มี<WBR>มาก<WBR>มาย มิตร<WBR>หมาย<WBR>มอง เมื่อ<WBR>มัว<WBR>หมอง มิตร<WBR>มอง<WBR>เหมือน<WBR>หมู<WBR>หมา เมื่อ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>มวล<WBR>มิตร<WBR>ไม่<WBR>มอง<WBR>มา เมื่อ<WBR>มอด<WBR>ม้วย แม้<WBR>หมู<WBR>หมา<WBR>ไม่<WBR>มา<WBR>มอง) จะ<WBR>มี<WBR>ก็<WBR>แต่<WBR>เจ้า<WBR>เก่ง<WBR>ที่<WBR>แสน<WBR>รู้<WBR>คู่<WBR>บุญ ที่<WBR>ติด<WBR>ตาม<WBR>มา<WBR>เท่า<WBR>นั้น<WBR>เอง ที่<WBR>ไม่<WBR>ยอม<WBR>ห่าง มัน<WBR>นอน<WBR>ขวาง<WBR>ทาง ทำ<WBR>ท่า<WBR>ตา<WBR>เขม็ง<WBR>เบ่ง<WBR>ใส่ คน<WBR>ที่<WBR>มัน<WBR>ไม่ใว้<WBR>ใจ<WBR>ทุก<WBR>คน จน<WBR>พวก<WBR>พม่า<WBR>มัน<WBR>เรียก<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ว่า พ๊ง<WBR>จีคย (พระ<WBR>หมา) จึง<WBR>ได้<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ติด<WBR>ใจ<WBR>มา<WBR>ตลอด<WBR>ว่า<WBR>เลี้ยง<WBR>หมา<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>เลี้ยง<WBR>คน <DD><DD>


    [​IMG]



    <DD>อัน<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>ให้<WBR>อยู่ และ<WBR>กัก<WBR>บริเวณ เขา<WBR>ก็<WBR>ให้<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>เดิม คือ<WBR>กระท่อม<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>จัด<WBR>สร้าง<WBR>ให้<WBR>เอง แต่<WBR>ก็<WBR>อากาศ<WBR>ดี มี<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>อยู่<WBR>กว้าง<WBR>ขวาง ไม่<WBR>ได้<WBR>ถูก<WBR>ผูก<WBR>มัด<WBR>พันธนาการ<WBR>อะไร มัน<WBR>ให้<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>บริเวณ<WBR>ขอบ<WBR>เขต ที่<WBR>มัน<WBR>กำหนด<WBR>ให้ เรา<WBR>ก็<WBR>สบาย ทุกๆ วัน<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>ให้ เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>บ้าน<WBR>เมือง<WBR>มาส<WBR>อบ สอบ<WBR>แล้ว<WBR>สอบ<WBR>อีก เรา<WBR>ทำ<WBR>เป็น<WBR>ไม่<WBR>ยอม<WBR>พูด<WBR>กับ<WBR>มัน เพราะ<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>บีบ<WBR>คั้น<WBR>เอา<WBR>แต่<WBR>เงิน เงิน<WBR>ลูก<WBR>เดียว ถ้า<WBR>เรา<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>มัน มัน<WBR>จะ<WBR>ปล่อย<WBR>ให้<WBR>อด<WBR>ข้าว<WBR>ตาย ก็<WBR>จะ<WBR>เอา<WBR>อะไร<WBR>มา<WBR>ให้ มัน<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>ไป<WBR>หมด<WBR>แล้ว และ<WBR>ยัง<WBR>จะ<WBR>มา<WBR>บีบ<WBR>เอา<WBR>อะไร<WBR>อีก บ้า<WBR>จริงๆ เสร็จ<WBR>แล้ว<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>หาย<WBR>ไป วัน<WBR>หลัง<WBR>ก็<WBR>เปลี่ยน<WBR>คน<WBR>ใหม่<WBR>มา<WBR>เฝ้า มาสัง<WBR>เกตุ<WBR>การณ์ ตอน<WBR>นี้<WBR>เอง ข้าพเจ้า<WBR>จึง<WBR>มา<WBR>ถาม<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า เอา<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>กัน<WBR>ดี เรา<WBR>จะ<WBR>หัน<WBR>หน้า<WBR>ไป<WBR>พึ่ง<WBR>ใคร<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>อีก<WBR>แล้ว (คน<WBR>หนอ<WBR>คน) ยาม<WBR>อับ<WBR>จน<WBR>คน<WBR>เคียด<WBR>แค้น<WBR>ชิง<WBR>ชัง ยาม<WBR>มั่ง<WBR>คั่ง คน<WBR>ประดัง<WBR>นอบ<WBR>น้อม ชีวิต<WBR>หนอ<WBR>ชีวิต<WBR>คิด<WBR>ดู<WBR>เถิด ตั้ง<WBR>แต่<WBR>เกิด<WBR>ถึง<WBR>ตาย<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>ผี จะ<WBR>ประสบ<WBR>ทั้ง<WBR>ซวย<WBR>โชค<WBR>โศก<WBR>โศกี ตาม<WBR>วิถี<WBR>ของ<WBR>บุญ<WBR>กรรม<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>มา <DD><DD><DD><DD>จึง<WBR>ได้<WBR>ปรัชญา<WBR>ของ<WBR>ชีวิต<WBR>ว่า (อัน<WBR>ชีวิต<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>เคย<WBR>เจอ<WBR>กับ<WBR>ความ<WBR>ทุกข์ เป็น<WBR>ชีวิต<WBR>ที่<WBR>โง่) ความ<WBR>โง่<WBR>คือ ความ<WBR>ที่<WBR>จิต<WBR>ติด<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>สุข ที่<WBR>ติด<WBR>ยึด<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>สุข ที่<WBR>เป็นโลกี<WBR>ยะ ผู้<WBR>ฉลาด<WBR>ย่อม<WBR>นำ<WBR>เอา<WBR>ความ<WBR>ทุกข์ ที่<WBR>ประสบ<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>บท<WBR>เรียน ใน<WBR>บท<WBR>ปฐมเทศนา ของ<WBR>พระสัม<WBR>มาสัม<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>สอน<WBR>ให้<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>ทุกข์ ทุกข์<WBR>มัน<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>ของ<WBR>สมุทัย คือ<WBR>ความ<WBR>สมมุติ<WBR>ของ<WBR>คน ความ<WBR>สมมุติ<WBR>สังคม<WBR>ของ<WBR>โลก จึง<WBR>มา<WBR>พบ<WBR>กับ<WBR>หลัก<WBR>สัจจะ<WBR>ธรรม<WBR>ข้อ<WBR>หนึ่ง<WBR>ว่า ใน<WBR>ขณะ<WBR>ที่<WBR>ชีวิต<WBR>ประสบ กับ<WBR>ภาวะ<WBR>ที่<WBR>วิกฤต<WBR>อย่าง<WBR>รุน<WBR>แรง<WBR>นั้น ชีวิต<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง<WBR>ขึ้น อีก<WBR>หลาย<WBR>เท่า<WBR>ตัว <DD><DD><DD><DD>ดัง<WBR>นั้น<WBR>ข้าพเจ้า จึง<WBR>ได้<WBR>สอน<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า เรา<WBR>จง<WBR>สร้าง<WBR>จิต<WBR>ตานุ<WBR>ภาพ<WBR>ไว้<WBR>ให้<WBR>มากๆ เพราะ<WBR>จิต<WBR>ตานุ<WBR>ภาพ<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>สร้าง<WBR>ไว้<WBR>นั้น จะ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>เรา<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ยาม<WBR>ยาก ชีวิต<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>การ<WBR>ต่อ<WBR>สู้ เป็น<WBR>ชีวิต<WBR>ที่<WBR>อ่อน<WBR>แอ บุคคล<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>เคย<WBR>มี<WBR>ศัตรู จะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง<WBR>ได้<WBR>ยาก เหล็ก<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>การ<WBR>ตี การ<WBR>ทุบ ทุบ<WBR>จน<WBR>แท่ง<WBR>เหล็ก<WBR>เป็น<WBR>มีด<WBR>เป็น<WBR>พร้า<WBR>ขึ้น<WBR>มา แล้ว<WBR>ผ่าน<WBR>น้ำ<WBR>ผ่าน<WBR>ไฟ<WBR>มา<WBR>แล้ว จึง<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>เหล็ก<WBR>แข็ง และ<WBR>เหนียว<WBR>ใช้<WBR>การ<WBR>ได้<WBR>ดี ชีวิต<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>เหมือน<WBR>กัน ถ้า<WBR>ชีวิต<WBR>ใด<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>ความ<WBR>สม<WBR>บุก สัม<WBR>บัน ผ่าน<WBR>ความ<WBR>ทุกข์<WBR>ความ<WBR>ลำเค็ญ ผ่าน<WBR>เย็น<WBR>ร้อน<WBR>อ่อน<WBR>แข็ง<WBR>มา<WBR>แล้ว เป็น<WBR>ชีวิต<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>มา<WBR>มาก มี<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>มาก <DD><DD><DD><DD>อัน<WBR>ความ<WBR>รู้ มัน<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>สอง<WBR>อย่าง<WBR>คือ ความ<WBR>รู้<WBR>จำ กับ<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จริง อัน<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จำ<WBR>นั้น เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>เรียน เรียน<WBR>จาก<WBR>ครู จาก<WBR>ตำรา รู้<WBR>มา<WBR>เรียน<WBR>มา<WBR>ไม่<WBR>ถึง<WBR>ใจ เพราะ<WBR>ไม่<WBR>รู้<WBR>ว่า รส<WBR>ชาติ<WBR>ธาตุ<WBR>แท้<WBR>ของ<WBR>ชีวิต<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร แต่<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จริง<WBR>นั้น คือ<WBR>รู้<WBR>จาก<WBR>ประสบการณ์ ที่<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>ชีวิต<WBR>จริง<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>เอง มัน<WBR>มี<WBR>รส<WBR>ชาติ<WBR>ธาตุ<WBR>แท้<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>ทรง<WBR>จำ ไป<WBR>อีก<WBR>นาน<WBR>เท่า นาน<WBR>เชียว<WBR>ล่ะ และ<WBR>เป็น<WBR>ราก<WBR>ฐาน ใน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ปรับ<WBR>ปรุง<WBR>วิถี<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>เอง ให้<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง<WBR>ขึ้น<WBR>อีก <DD>



    <DD><DD>
    [​IMG]



    <DD>อัน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ข้าพเจ้า ถูก<WBR>อ้าย<WBR>หม่อง<WBR>เล่น<WBR>งาน<WBR>คราว<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>ดี<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า ได้<WBR>เข้า<WBR>ถึง<WBR>และ<WBR>เข้า<WBR>ใจ ใน<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>อย่าง<WBR>ถ่อง<WBR>แท้ วิธี<WBR>แก้<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>คือ สอน<WBR>และ<WBR>เตือน<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า ผู้<WBR>ฉลาด มี<WBR>ปัญญา ย่อม<WBR>ไม่<WBR>สร้าง<WBR>ความ<WBR>ทุกข์<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>ใจ ใน<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ทาง<WBR>แก้ จึง<WBR>ตั้ง<WBR>อธิษฐาน<WBR>จิต ทำ<WBR>ความ<WBR>เพียร<WBR>ทาง<WBR>จิต แบบ<WBR>เอา<WBR>ชีวิต<WBR>เป็น<WBR>เดิม<WBR>พัน ตาย<WBR>เป็น<WBR>ตาย จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>หลัง<WBR>ตาย สบาย<WBR>กว่า<WBR>มี<WBR>ชีวิต<WBR>อยู่ จะ<WBR>อยู่<WBR>ไป<WBR>ทำไม ตาย<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>สบาย จึง<WBR>ค้น<WBR>คิด<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>คือ<WBR>อะไร แล้ว<WBR>ตอบ<WBR>เอง<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>คือ การ<WBR>หมด<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>นึก<WBR>คิด ชีวิต<WBR>อินทรีย์<WBR>ขาด<WBR>จาก<WBR>กัน หัว<WBR>ใจ<WBR>หยุด<WBR>เต้น มัน<WBR>สมอง<WBR>หยุด<WBR>สั่ง<WBR>งาน จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>ออก<WBR>จาก<WBR>ร่าง อยู่<WBR>ที่<WBR>ความ<WBR>ว่าง<WBR>เปล่า สัก<WBR>ครู่<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>ก็<WBR>ลอย<WBR>ละ<WBR>ล่อง<WBR>ไป<WBR>สู่<WBR>ภพ<WBR>ใหม่ นั่น<WBR>แหละ<WBR>คือ<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>ที่<WBR>รู้<WBR>กัน<WBR>ทั่ว<WBR>ไป จึง<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>ขึ้น<WBR>มา<WBR>ว่า อัน<WBR>ภาวะ<WBR>เช่น<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>กัน<WBR>แน่ จึง<WBR>อยาก<WBR>ตั้ง<WBR>หน้า<WBR>ฝึก<WBR>จิต ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>วิธี<WBR>ตาย<WBR>ก่อน<WBR>ตาย <DD><DD><DD><DD><DD><DD>อัน<WBR>ภาวะ<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>นั้น ตาม<WBR>หลัก<WBR>ของ<WBR>กายวิภาค<WBR>วิทยา<WBR>ว่า หัว<WBR>ใจ<WBR>หยุด<WBR>เต้น ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>คือ<WBR>ตาย แต่<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ตาย<WBR>อย่าง<WBR>นั้น เรา<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ยุ่ง<WBR>กับ<WBR>มัน มัน<WBR>จะ<WBR>เต้น<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>เต้น ก็<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>มัน เรา<WBR>มา<WBR>จับ<WBR>จด<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>ดี<WBR>กว่า เที่ยวทัวร์<WBR>ทาง<WBR>ลม เอา<WBR>ลม<WBR>เป็น<WBR>ไกด์ ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า หาย<WBR>ใจ<WBR>ออก<WBR>นี้<WBR>เอง เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>จูง<WBR>จิต เอา<WBR>ความ<WBR>วิกฤต<WBR>ของ<WBR>ชีวิต ที่<WBR>กำลัง<WBR>ประสบ<WBR>อยู่ มา<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>สอน สอน<WBR>ว่า ตาย ตาย ตาย ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า<WBR>ก็<WBR>ว่า<WBR>ตาย ลม<WBR>ออก<WBR>ก็<WBR>ว่า<WBR>ตาย เป็น<WBR>อุบาย<WBR>สกด<WBR>จิต<WBR>ตัว<WBR>เอง ให้<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>สภาวะ<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>หลับ (หลับ<WBR>ทาง<WBR>จิต) จับ<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>นิมิต คือ<WBR>ตัว<WBR>ฝัน<WBR>นั่น<WBR>เอง มาส<WBR>ร้าง<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>แฝง พลัง<WBR>แฝง<WBR>ขึ้น<WBR>ตาม<WBR>คำ<WBR>แนะ<WBR>นำ ของ<WBR>พระ<WBR>ผู้<WBR>เฒ่า<WBR>หลวง<WBR>ปู่<WBR>โลก<WBR>อุดร สอน<WBR>ให้<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>ฝัง<WBR>ตัว<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>หิมะ เพราะ<WBR>มัน<WBR>ถล่ม<WBR>มา<WBR>ทับ ที่<WBR>ภู<WBR>เขา<WBR>หิมาลัย<WBR>โน้น <DD><DD><DD><DD><DD><DD>ท่าน<WBR>สอน<WBR>เตือน<WBR>ว่า ตัว<WBR>เรา<WBR>มัน<WBR>มี<WBR>อยู่ 3 ตัว<WBR>คือ ตัว<WBR>จริง ตัว<WBR>เป็น และตัว<WBR>แฝง ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ตัว<WBR>แรก<WBR>นั้น อย่า<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ใน<WBR>มัน รีบ<WBR>สละ<WBR>ละ<WBR>ทิ้ง<WBR>ให้<WBR>หมด กำหนด<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>แฝง คือ<WBR>ตัว<WBR>พลัง<WBR>ภาย<WBR>ใน<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ตัว<WBR>จริง<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>โทรม ส่วน<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>ยุ่ง<WBR>ยิ่ง<WBR>ทุกข์ แต่<WBR>ตัว<WBR>แฝง พลัง<WBR>แฝง<WBR>นั้น<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>ดี มี<WBR>พลัง<WBR>จะ<WBR>กำบัง<WBR>ความ<WBR>ทุกข์ ให้<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>ปิติ<WBR>สุข<WBR>ที่<WBR>ใจ เรา<WBR>จำ<WBR>คำ<WBR>สอน<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>คำ<WBR>นี้<WBR>ไว้<WBR>แล้ว เอา<WBR>สติ<WBR>เป็น<WBR>นาย<WBR>เวร คอย<WBR>จ้อง<WBR>ดู<WBR>ลม<WBR>เข้า<WBR>ลม<WBR>ออก อย่าง<WBR>ไม่<WBR>ลด<WBR>ละ ที<WBR>แรก<WBR>จะ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า อัน<WBR>เจ้า<WBR>ลม<WBR>ที่<WBR>เข้าๆ ออกๆ นั้น<WBR>มัน<WBR>หยาบ แล้ว<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ค่อย<WBR>ละเอียด<WBR>ลงๆ แผ่ว<WBR>เบา<WBR>ลง ละเอียด<WBR>ลงๆ จน<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>อะไร ไม่<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>อะไร<WBR>อีก<WBR>แล้ว ดวง<WBR>จิต<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ผ่อง<WBR>แผ้ว<WBR>สงบ<WBR>เย็น ใน<WBR>ดวง<WBR>จิต<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>มิติ<WBR>หนึ่ง อีก<WBR>โลกห<WBR>นี่ง<WBR>เป็น<WBR>สภาวะ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สงบ<WBR>ที่<WBR>สุด ที่<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>ปิติ ความ<WBR>สุข<WBR>ทาง<WBR>ใจ<WBR>ละเอียด<WBR>ที่<WBR>สุด <DD><DD><DD><DD><DD><DD>อัน<WBR>สภาวะ<WBR>อย่าง<WBR>นี้ ไม่<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>สรร<WBR>หา<WBR>ภาษา<WBR>มนุษย์ มา<WBR>อธิบาย<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>อื่น<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ได้<WBR>เลย มัน<WBR>เป็น<WBR>ภาษา<WBR>ของ<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ ภาษา<WBR>ของ<WBR>โลก<WBR>ทิพย์ แบบ<WBR>รู้<WBR>เอง<WBR>เห็น<WBR>เอง เป็นปัจจัต<WBR>ตัง รู้<WBR>เฉพาะ<WBR>ตน<WBR>เท่า<WBR>นั้น อัน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>เจ้า<WBR>หม่อง<WBR>เล่น<WBR>งาน อย่าง<WBR>สาหัส<WBR>สากรรจ์ แบบ<WBR>ข้าว<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>ฉัน น้ำ<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>ดื่ม ใน<WBR>ครั้ง<WBR>กระ<WBR>นั้น<WBR>เอง ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า ต้อง<WBR>ตัด<WBR>สิน<WBR>ใจ<WBR>อย่าง<WBR>เด็ด<WBR>เดี่ยว ก็<WBR>จะ<WBR>สมัคร<WBR>เข้า<WBR>สำมะโนครัว ร่วม<WBR>เป็น<WBR>สมาชิก<WBR>ของ<WBR>ยม<WBR>บาล โดย<WBR>ไม่<WBR>คาด<WBR>ฝัน นึก<WBR>ภาวนา<WBR>เสมอ ทุก<WBR>ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า<WBR>ออก<WBR>ว่า ตาย ตาย

    <DD>
    [​IMG]



    <DD>อัน<WBR>กล<WBR>อุบาย<WBR>นี้<WBR>เอง ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ได้<WBR>ไต่<WBR>เต้า เข้า<WBR>ถึง<WBR>กระแส<WBR>วิญญาณ ของ<WBR>พวก<WBR>โอ<WBR>ปา<WBR>ติ<WBR>กะ<WBR>ตลอด<WBR>ลอด<WBR>ได้ ลอด<WBR>เข้า<WBR>ถึง<WBR>ด่าน<WBR>ของ<WBR>ทวย<WBR>เทพ<WBR>เท<WBR>วา คือ พระ<WBR>วิญญาณ<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา ตลอด<WBR>ได้<WBR>สัมผัส<WBR>กับ<WBR>สรรพ<WBR>วิญญาณ<WBR>ต่างๆ ดัง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>พรรณา<WBR>ต่อ<WBR>ไป การ<WBR>ทำ<WBR>ความ<WBR>เพียร<WBR>ทาง<WBR>ใจ<WBR>คราว<WBR>นี้ เรา<WBR>เอา<WBR>ชีวิต<WBR>เป็น<WBR>เดิม<WBR>พัน ตาย<WBR>เป็น<WBR>ตาย ข้าว<WBR>ไม่<WBR>กิน น้ำ<WBR>ไม่<WBR>ดื่ม ก็<WBR>จะ<WBR>ฉัน<WBR>จะ<WBR>ดื่ม<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ไร เพราะ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>จะ<WBR>ดื่ม<WBR>จะ<WBR>ฉัน อัน<WBR>หน<WBR>ทาง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ<WBR>นั้น เรา<WBR>กรุย<WBR>ไว้<WBR>แล้ว รู้<WBR>แล้ว<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ทาง<WBR>ไหน ที่<WBR>รู้<WBR>ทาง<WBR>ใจ ดัง<WBR>ใน<WBR>ระยะ<WBR>ที่<WBR>กล่าว<WBR>ไว้<WBR>นั่น<WBR>เอง ก็<WBR>คือ<WBR>ไป<WBR>กับ<WBR>ลม เที่ยว<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ<WBR>ด้วย<WBR>ลม หาย<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>สติ<WBR>คือ<WBR>ผู้<WBR>รู้ รู้<WBR>ตัว จ้อง<WBR>ลม<WBR>ที่<WBR>เข้าๆ ออกๆ เมื่อ<WBR>มัน<WBR>ละเอียด<WBR>เข้า<WBR>จริงๆ มัน<WBR>ก็<WBR>หลุด<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>สู่<WBR>สภาวะ<WBR>อัน<WBR>โล่ง<WBR>แจ้ง เห็น<WBR>เป็น<WBR>แสง<WBR>สว่าง เหมือน<WBR>แก้ว<WBR>ลูก<WBR>โต โต<WBR>เอา<WBR>มากๆ แล้ว<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>เล็ก<WBR>ลงๆ เล็ก<WBR>ลง แล้ว<WBR>โต<WBR>ขึ้นๆ อีก เห็น<WBR>เป็น<WBR>แสง<WBR>สว่าง<WBR>จ้า เหมือน<WBR>แก้ว<WBR>ลูก<WBR>โตๆ โต<WBR>เอา<WBR>มากๆ แล้ว<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>เล็ก<WBR>ลงๆ เล็ก<WBR>ลง<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>โต<WBR>ขึ้นๆ อีก เป็น<WBR>อย่าง<WBR>นี้<WBR>อยู่<WBR>หลาย<WBR>ครั้ง แล้ว<WBR>เจ้า<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>ลอย<WBR>เข้า<WBR>มา ลอย<WBR>เข้า<WBR>มา มา<WBR>อยู่<WBR>ใกล้ๆ เฉพาะ<WBR>หน้า แล้ว<WBR>ก็<WBR>มา<WBR>ห่อ<WBR>หุ้ม<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>เรา<WBR>ไว้


    <DD>อัน<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>นั้น<WBR>เรา<WBR>มี<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>แล้ว ถือ<WBR>ติด<WBR>ตัว<WBR>ไป<WBR>เพื่อ<WBR>เพ่ง<WBR>กสิณ เพื่อ<WBR>จูง<WBR>ใจ<WBR>ไป<WBR>ไหน<WBR>เอา<WBR>ไป<WBR>ด้วย เดี๋ยว<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>ใช้<WBR>มัน<WBR>อยู่ ลูก<WBR>แก้ว<WBR>ลูก<WBR>นี้ เรา<WBR>ได้<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>ประเทศ<WBR>ยูโกสลาเวีย ขอ<WBR>ซื้อ<WBR>จาก<WBR>หมอ<WBR>ดู<WBR>ทาง<WBR>ลูก<WBR>แก้ว และ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>เห็น<WBR>อะไรๆ หลายๆ เรื่อง<WBR>กับ<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>ลูก<WBR>นี้<WBR>เอง ใน<WBR>ขณะ<WBR>ที่<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ลูก<WBR>แก้ว เป็น<WBR>เกราะ<WBR>หุ้ม<WBR>ไว้ ตัว<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>ข้าง<WBR>ใน แล้ว<WBR>มอง<WBR>ออก<WBR>ไป<WBR>ข้าง<WBR>นอก จะ<WBR>เห็น<WBR>ฉาก<WBR>ต่างๆ อะไร<WBR>สลับ<WBR>ซับ<WBR>ซ้อน และ<WBR>เห็น<WBR>ทิวทัศน์<WBR>ที่<WBR>สวย<WBR>งาม บาง<WBR>ฉาก<WBR>ก็<WBR>เห็น<WBR>ปราสาท<WBR>ราช<WBR>มณเฑียร<WBR>มี<WBR>วัด<WBR>เวียง<WBR>วัง เจดีย์<WBR>วิหาร<WBR>ดู<WBR>ตระ<WBR>การ<WBR>ตา<WBR>น่า<WBR>ชม และ<WBR>บาง<WBR>ฉาก ก็<WBR>เห็น<WBR>ฝูง<WBR>ชน<WBR>จำนวน<WBR>มาก เดิน<WBR>ไป<WBR>มา<WBR>ขวักไขว่ ใน<WBR>จำนวน<WBR>ผู้<WBR>คน<WBR>เหล่า<WBR>นั้น ทุก<WBR>คน<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า เขา<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>แต่<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>สันต์<WBR>กัน เพราะ<WBR>แต่<WBR>ละ<WBR>คน มี<WBR>แต่<WBR>ความ<WBR>ยิ้ม<WBR>ความ<WBR>แย้ม หรรษา<WBR>ร่า<WBR>เริง<WBR>เบิก<WBR>บาน มี<WBR>หน้า<WBR>ตา<WBR>สวย<WBR>งาม ผิว<WBR>พรรณ<WBR>ผุด<WBR>ผ่อง<WBR>ยิ้ม<WBR>ย่อง ประดับ<WBR>ประดา<WBR>ด้วย<WBR>เสื้อ<WBR>ผ้า<WBR>อาภรณ์<WBR>หลาก<WBR>สี สวย<WBR>สด<WBR>งด<WBR>งาม<WBR>มาก ...



    </DD>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD align=middle>สัมผัสทางวิญญาณกับพระสุพรรณกัลยา

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    ใน<WBR>ทัน<WBR>ใด<WBR>นั้น<WBR>เอง สาย<WBR>ตา<WBR>ทาง<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>ของ<WBR>เรา ก็<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>หญิง<WBR>สาว<WBR>พราว<WBR>เสน่ห์ ท่าน<WBR>หนึ่ง<WBR>เดิน<WBR>เข้า<WBR>มา<WBR>ใกล้ๆ ท่าน<WBR>ยิ้ม<WBR>ให้ ยิ้ม<WBR>แล้ว<WBR>ยิ้ม<WBR>อีก แล้ว<WBR>เอ่ย<WBR>ปาก<WBR>ว่า ท่าน<WBR>ขา<WBR>ท่าน<WBR>ชื่อโสร<WBR>โย ที่<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์ หลง<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>เมือง<WBR>สยาม<WBR>ไทย<WBR>ใช่<WBR>ไหม ถ้า<WBR>ใช่<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ร้อน<WBR>ใจ ฉัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ไทย เช่น<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ท่าน ฉัน<WBR>จะ<WBR>หา<WBR>ทาง<WBR>ช่วย<WBR>ท่าน<WBR>ให้<WBR>พ้น<WBR>ภัย เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>เคย<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>ฉัน<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>ก่อน เรา<WBR>เคย<WBR>มี<WBR>บุญ<WBR>คุณ<WBR>ต่อ<WBR>กัน<WBR>มา<WBR>นาน<WBR>แล้ว ท่าน<WBR>เคย<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ ดู<WBR>แล<WBR>ฉัน<WBR>มา<WBR>ตลอด เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ใหญ่<WBR>ใน<WBR>คณะ<WBR>เรา เรา<WBR>ได้<WBR>พึ่ง<WBR>พา<WBR>อาศัย<WBR>ท่าน เวลา<WBR>จะ<WBR>ถูก<WBR>เขา<WBR>รัง<WBR>แก ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>มา<WBR>ขัด<WBR>ขวาง<WBR>เอา<WBR>ไว้ ท่าน<WBR>หาย<WBR>ไป<WBR>ไหน<WBR>มา รีบ<WBR>มา<WBR>กับ<WBR>ฉันเดี๋ยว<WBR>นี้




    <DD>
    ทัน<WBR>ใด<WBR>นั้น<WBR>เอง ท่าน<WBR>ก็<WBR>นำ<WBR>พา<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>สู่<WBR>อีก<WBR>มิติ<WBR>หนึ่ง ซึ่ง<WBR>มี<WBR>สภาวะ<WBR>ที่<WBR>สูง<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>กว่า ละเอียด<WBR>กว่า ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>มิติ<WBR>สถาน<WBR>เก่า ที่<WBR>ซึ่ง<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>จำนวน<WBR>มาก ถูก<WBR>พม่า<WBR>กวาด<WBR>ต้อน<WBR>ไป<WBR>เป็น<WBR>เชลย เมื่อ<WBR>สมัย กรุง<WBR>ศรี<WBR>อยุธยา<WBR>แตก<WBR>ครั้ง<WBR>แรก แล้ว<WBR>สุภาพ<WBR>สตรี<WBR>ท่าน<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>บอก<WBR>ว่า ฉัน<WBR>เอง<WBR>ชื่อ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา จำ<WBR>ได้<WBR>ไหม พวก<WBR>เรา<WBR>มา<WBR>ด้วย<WBR>กัน<WBR>จำนวน<WBR>มาก ท่าน<WBR>ก็<WBR>ถูก<WBR>เขา<WBR>กวาด<WBR>ต้อน<WBR>มา<WBR>ด้วย เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>เก่ง<WBR>มี<WBR>ฝี<WBR>มือ<WBR>เป็น<WBR>นาย<WBR>ช่าง เก่ง<WBR>ทาง<WBR>สร้าง<WBR>อาคาร<WBR>บ้าน<WBR>เรือน ให้<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>อยู่ ใน<WBR>จำนวน<WBR>หมู่<WBR>ของ<WBR>เชลย และ<WBR>สร้าง<WBR>วัด<WBR>เวียง<WBR>วัง<WBR>ให้<WBR>พม่า<WBR>ด้วย แล้ว<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>ชี้<WBR>มือ<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ดู แล้ว<WBR>ว่า<WBR>โน่น<WBR>แน่ะ<WBR>คือ<WBR>หมู่<WBR>บ้าน<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>สร้าง ก็<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>หมู่<WBR>บ้าน ที่<WBR>มี<WBR>กา<WBR>แล<WBR>ไว้<WBR>บน<WBR>หน้า<WBR>จั่ว เป็น<WBR>ทิว<WBR>แถว ทรง<WBR>ไทย เรียง<WBR>ราย<WBR>กัน<WBR>อยู่<WBR>อย่าง<WBR>มี<WBR>ระเบียบ



    <DD>


    ท่าน<WBR>บอก<WBR>ว่า ยัง<WBR>มี<WBR>อีก<WBR>หลาย<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>สร้าง<WBR>ไม่<WBR>เสร็จ โน้นน่ะ<WBR>วัด<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>สร้าง<WBR>ให้<WBR>เขา ก็<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>เสร็จ<WBR>อีก ท่าน<WBR>จึง<WBR>ต้อง<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>ต่อ<WBR>ใน<WBR>คราว<WBR>นี้ เมื่อ<WBR>วาน<WBR>นี้<WBR>ท่าน<WBR>หาย<WBR>ไป<WBR>ไหน มี<WBR>ใคร<WBR>เขา<WBR>บอก<WBR>ว่า ท่าน<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>พระ<WBR>ยา<WBR>ตาก กู้<WBR>เมือง<WBR>กรุง<WBR>ศรี<WBR>อยุธยา<WBR>ใช่<WBR>ไหม เมื่อ<WBR>กลับ<WBR>มา<WBR>วัน<WBR>นี้ แต่ง<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>บวช<WBR>เสีย<WBR>แล้ว คง<WBR>จะ<WBR>หา<WBR>วิธี<WBR>หนี<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>รอด<WBR>ละ<WBR>ซี หนี<WBR>ไป<WBR>ทำไม ไม่<WBR>คิด<WBR>ถึง<WBR>พวก<WBR>ฉัน<WBR>หรือ เรา<WBR>ทุกข์<WBR>ยาก พลัด<WBR>พราก<WBR>จาก<WBR>บ้าน<WBR>เมือง<WBR>มา<WBR>ด้วย<WBR>กัน ทุกข์<WBR>ด้วย<WBR>กัน สุข<WBR>ด้วย<WBR>กัน มา<WBR>กิน<WBR>ข้าว<WBR>กัน<WBR>เถอะ หลัง<WBR>จาก<WBR>นั้น สุภาพ<WBR>สตรี<WBR>ท่าน<WBR>นั้น ก็<WBR>จัด<WBR>อาหาร<WBR>หวาน<WBR>คาว และ<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>นั่ง<WBR>กิน<WBR>ด้วย เรา<WBR>ได้<WBR>เห็น<WBR>ผู้<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>มัก<WBR>คุ้น<WBR>กัน จำนวน<WBR>มาก<WBR>เข้า<WBR>มา<WBR>หา มา<WBR>ถาม<WBR>ข่าว และ<WBR>พูดจา<WBR>ล้อ<WBR>เลียน กระเซ้า<WBR>เย้า<WBR>หยอก<WBR>กัน อย่าง<WBR>สนุก<WBR>สนาน ดู<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>ละ<WBR>คน เขา<WBR>แสดง<WBR>ความ<WBR>เคารพ<WBR>นับ<WBR>ถือ ใน<WBR>ท่าน<WBR>สุภาพ<WBR>สตรี คน<WBR>ที่<WBR>นั่ง<WBR>กิน<WBR>ข้าว<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>เรา<WBR>มาก


    ท่าน<WBR>ออก<WBR>ปาก<WBR>พูด<WBR>ว่า ฉัน<WBR>ได้<WBR>ส่ง<WBR>ข่าว ไป<WBR>ทาง<WBR>เมือง<WBR>สยาม<WBR>ไทย<WBR>แล้ว ให้<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>ช่วย<WBR>ท่าน แล้ว<WBR>อีก<WBR>ไม่<WBR>นาน ท่าน<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>พ้น<WBR>ภัย ขณะ<WBR>นั้น ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ตัว<WBR>จาก<WBR>ความ<WBR>หลับ<WBR>ฝัน อัน<WBR>เป็น<WBR>สมาธิ<WBR>น้อยๆ ที่<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>แฝง<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>ตื่น<WBR>ขึ้น รู้<WBR>สึก<WBR>ตัว (ตื่น<WBR>จาก<WBR>หลับ<WBR>ฝัน) ฝัน<WBR>สนุก<WBR>เสีย<WBR>ด้วย เพราะ<WBR>เห็น<WBR>คน<WBR>สวยๆ มา<WBR>ปลอบ<WBR>ใจ แล้ว<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>สุข<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ไรว๊า แล้ว<WBR>ก็<WBR>ลุก<WBR>ขึ้น<WBR>เดิน เดิน<WBR>จง<WBR>กรม กลับ<WBR>ไป<WBR>มา<WBR>นาน<WBR>พอ<WBR>สม<WBR>ควร เพื่อ<WBR>ยืด<WBR>เส้น<WBR>ยืด<WBR>สาย หาย<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>เต็ม<WBR>ปอด แล้ว<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ยิน เสียง<WBR>คน<WBR>ข้าง<WBR>นอก<WBR>พูด<WBR>กัน<WBR>ว่า พระ<WBR>นาย<WBR>ช่าง<WBR>องค์<WBR>นี้ ท่าน<WBR>เข้า<WBR>นั่ง<WBR>ทำ<WBR>สมาธิ<WBR>ได้<WBR>หลาย<WBR>วัน<WBR>แล้ว นั่ง<WBR>ตัว<WBR>ตรง<WBR>แข็ง<WBR>ทื่อ<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>ที่ ไม่<WBR>ยอม<WBR>ลุก ไม่<WBR>กิน ไม่<WBR>ถ่าย นึก<WBR>ว่า<WBR>แข็ง<WBR>ตาย<WBR>ไป<WBR>แล้ว โอ้ย<WBR>อย่า<WBR>พึ่ง<WBR>ตาย<WBR>เลย ขี้<WBR>เกียจ<WBR>ทำ<WBR>ศพ และ<WBR>จะ<WBR>เกิด<WBR>เรื่อง<WBR>ยุ่ง<WBR>ด้วย เพราะ<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>ต่าง<WBR>ชาติ<WBR>พลาด<WBR>ท่า รัฐบาล<WBR>ก็<WBR>ยุ่ง<WBR>ด้วย<WBR>อีก<WBR>ดูๆ แล้ว<WBR>มิ<WBR>ใช่<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ตาย<WBR>แล้ว<WBR>สูญ เพราะ<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>วิชา<WBR>การ เพราะ<WBR>ท่า<WBR>นอภิธ<WBR>ชะ<WBR>มหาอัตฐ<WBR>คุรุ ประมุข<WBR>สงฆ์<WBR>ของ<WBR>พม่า ก็<WBR>นับ<WBR>ถือ<WBR>เขา<WBR>ด้วย ไม่<WBR>แน่<WBR>จริง เขา<WBR>คง<WBR>ไม่<WBR>นิมนต์<WBR>เข้า<WBR>มา<WBR>เมือง<WBR>เรา

    จาก<WBR>นั้น<WBR>เขา<WBR>ก็<WBR>จัด<WBR>หา<WBR>อาหาร<WBR>มา<WBR>ให้<WBR>ฉัน เรา<WBR>ก็<WBR>โบก<WBR>มือ<WBR>ปฏิเสธ<WBR>ไม่<WBR>รับ<WBR>ไม่<WBR>ฉัน จึง<WBR>มา<WBR>นึก<WBR>คิดห<WBR>วน<WBR>จิต กับ<WBR>ไป<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>ฝัน<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>มา เรา<WBR>ไป<WBR>เห็น<WBR>สุภาพ<WBR>สตรี<WBR>สาว<WBR>สวย<WBR>คน<WBR>หนึ่ง ชื่อ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา<WBR>ที่<WBR>บอก<WBR>ว่า เรา<WBR>เคย<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>ท่าน เรา<WBR>เคย<WBR>ช่วย<WBR>ท่าน เรา<WBR>เคย<WBR>เป็น<WBR>เชลย เรา<WBR>เคย<WBR>เป็น<WBR>นาย<WBR>ช่าง สร้าง<WBR>บ้าน<WBR>ให้<WBR>เชลย<WBR>อยู่ เรา<WBR>หาย<WBR>หน้า<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ตาก<WBR>กู้<WBR>เมือง เมื่อ<WBR>วาน<WBR>นี้ และ<WBR>เรา<WBR>ได้<WBR>เห็น ได้<WBR>คุย<WBR>กับ<WBR>สุภาพ<WBR>สตรี ชื่อ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา แสดง<WBR>ความ<WBR>ห่วง<WBR>ใย<WBR>ใน<WBR>เรา<WBR>มากๆ อยาก<WBR>ทราบ<WBR>ว่า สุภาพ<WBR>สตรี<WBR>ที่<WBR>ชื่อ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา สุพรรณ<WBR>กัลยา<WBR>คือ<WBR>ใคร<WBR>กัน<WBR>แน่ และ<WBR>ท่าน<WBR>บอก<WBR>ว่า เรา<WBR>หาย<WBR>ไป<WBR>เมื่อ<WBR>วัน<WBR>วาน ไป<WBR>ช่วย<WBR>งาน<WBR>พระ<WBR>ยา<WBR>ตาก<WBR>กู้<WBR>เมือง อะไร<WBR>กัน<WBR>แน่


    อีก<WBR>เช่น<WBR>กัน<WBR>อัน<WBR>กาล<WBR>เวลา<WBR>ของ<WBR>โลก<WBR>มนุษย์ ห่าง<WBR>กับ<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ<WBR>นั้น ถึง<WBR>สอง<WBR>ร้อย<WBR>กับ<WBR>สอง<WBR>ปี คือ<WBR>กรุง<WBR>ศรี<WBR>แตก แตก<WBR>ครั้ง<WBR>แรก<WBR>เมื่อ<WBR>ปี พ.ศ. 2112 แล้ว<WBR>มา<WBR>เสีย<WBR>อีก ครั้ง<WBR>หลัง<WBR>เมื่อ พ.ศ. 2310 อัน<WBR>กาล<WBR>เวลา<WBR>มัน<WBR>ห่าง<WBR>กัน<WBR>เหลือ<WBR>เกิน คือ<WBR>ห่าง<WBR>กัน<WBR>เท่า<WBR>กับ หนึ่ง<WBR>ร้อย<WBR>ปี<WBR>ต่อ<WBR>หนึ่ง<WBR>วัน แต่<WBR>กาล<WBR>เวลา<WBR>ของ<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ<WBR>นั้น มัน<WBR>ห่าง<WBR>กัน<WBR>แค่<WBR>สอง<WBR>วัน<WBR>เท่า<WBR>นั้น<WBR>เอง คือ<WBR>เมื่อ<WBR>วาน<WBR>นี้ เรื่อง<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>มาก อยาก<WBR>จะ<WBR>ศึกษา<WBR>ทาง<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ ให้<WBR>มัน<WBR>ชัดเจน<WBR>มาก<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>อีก คือ<WBR>วัน<WBR>นั้น<WBR>เอง เป็น<WBR>คืน<WBR>วัน<WBR>เพ็ญ<WBR>เดือน 12 ตรง<WBR>กับ<WBR>วัน<WBR>ที่ 15 พฤศจิ<WBR>กายน พ.ศ. 2491 วัน<WBR>จันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เป็น<WBR>วัน<WBR>ลอย<WBR>กระทง<WBR>พอ<WBR>ดี มี<WBR>ชาว<WBR>วัด ชาว<WBR>บ้าน<WBR>ละแวก<WBR>นั้น เขา<WBR>มา<WBR>จุด<WBR>ธูป จุด<WBR>เทียน<WBR>บูชา<WBR>พระ<WBR>ไว้<WBR>ริม<WBR>สระ<WBR>น้ำ ซึ่ง<WBR>ไม่<WBR>ห่าง<WBR>ไกล จาก<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>อยู่ เรา<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>แสง<WBR>สี<WBR>ของ<WBR>ไฟ ที่<WBR>ระ<WBR>ยิบ<WBR>ระยับ<WBR>กับ<WBR>ผิว<WBR>น้ำ ให้<WBR>สะท้อน<WBR>เข้า<WBR>กับ<WBR>ลูก<WBR>แก้ว<WBR>อัน<WBR>ศักดิ์<WBR>สิทธิ์<WBR>ของ<WBR>เรา มา<WBR>เป็น<WBR>อารมณ์<WBR>ของ<WBR>จิต ติด<WBR>อยู่<WBR>ให้<WBR>เป็นเตโช และ<WBR>วา<WBR>โยก<WBR>สิญ เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>จูง<WBR>จิต ให้<WBR>ติด<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>อารมณ์<WBR>เดียว เหนี่ยว<WBR>เอา<WBR>เรื่อง<WBR>ราว<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>มา เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ก่อน<WBR>ให้<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>ใน<WBR>มโน<WBR>ทวาร


    </DD>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <DD>น<WBR>กาล<WBR>นั้น<WBR>เอง ภาพ<WBR>ลักษณ์<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>นาง<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา ก็<WBR>มา<WBR>ปรากฏ<WBR>ขึ้น ใน<WBR>มโน<WBR>ทวาร<WBR>อีก<WBR>อย่าง<WBR>ชัดเจน ท่าน<WBR>เป็น<WBR>สุภาพ<WBR>สตรี<WBR>ที่<WBR>เลอ<WBR>โฉม แต่ง<WBR>ตัว<WBR>ด้วย<WBR>ชุด<WBR>ไหม<WBR>สี<WBR>ทอง แพรว<WBR>พราว<WBR>ด้วย<WBR>อัญมณี<WBR>ที่<WBR>ล้ำ<WBR>ค่า แต่ง<WBR>ตัว<WBR>แบบ<WBR>สาว<WBR>พม่า<WBR>ใน<WBR>ยุค<WBR>นั้น ใส่<WBR>ผ้า<WBR>นุ่ง<WBR>สี<WBR>ทอง รัด<WBR>เข็ม<WBR>ขัด มี<WBR>ลูก<WBR>ปัด<WBR>ที่<WBR>คอ<WBR>สอง<WBR>ชั้น สวม<WBR>เสื้อ<WBR>แขน<WBR>ยาว<WBR>คอก<WBR>ว้าง<WBR>ได้<WBR>***<WBR>ส่วน ประทับ<WBR>ยืน มือ<WBR>ขวา<WBR>ค้ำ<WBR>สะ<WBR>เอว มือ<WBR>ซ้าย<WBR>หย่อน<WBR>ลง แล้ว<WBR>ท่าน<WBR>กล่าว<WBR>ว่า พระ<WBR>คุณ<WBR>เจ้า<WBR>จะ<WBR>พ้น<WBR>ภัย<WBR>แล้ว แต่<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>ช่วย<WBR>ฉัน<WBR>เช่น<WBR>กัน จะ<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ช่วย<WBR>เรื่อง<WBR>อะไร เดี๋ย<WBR>วจะ<WBR>บอก<WBR>ให้ เพราะ<WBR>ฉัน<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>ถูก<WBR>เขา<WBR>เล่น<WBR>งาน ถูก<WBR>พันธนาการ ด้วย<WBR>วิธี<WBR>การ<WBR>ทาง<WBR>ไสย<WBR>ศาสตร์


    ฉัน<WBR>เอง<WBR>ชื่อ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา เป็น<WBR>ธิดา<WBR>คน<WBR>โต<WBR>ของ พระ<WBR>มหา<WBR>ธรรม<WBR>ราชา มี<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>สอง<WBR>คน คือ<WBR>เจ้า<WBR>องค์<WBR>ดำ และ<WBR>เจ้า<WBR>องค์<WBR>ขาว เป็น<WBR>ชาว<WBR>สยาม<WBR>ไทย ได้<WBR>ถูก<WBR>กวาด<WBR>ต้อน<WBR>มา เมื่อ<WBR>กรุง<WBR>ศรี<WBR>อยุธยา<WBR>แตก มา<WBR>เป็น<WBR>เชลย อยู่<WBR>ที่<WBR>เมือง<WBR>หง<WBR>สาว<WBR>ดี<WBR>นี้ ดัง<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>ทราบ<WBR>มา<WBR>ก่อน<WBR>แล้ว ท่าน<WBR>ก็<WBR>ถูก<WBR>เขา<WBR>กวาด<WBR>ต้อน<WBR>มา<WBR>ด้วย เขา<WBR>เกณฑ์<WBR>ท่าน<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>ช่าง สร้าง<WBR>บ้าน<WBR>ให้<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>กัน แต่<WBR>ท่าน<WBR>เก่ง<WBR>ทำ<WBR>อะไร<WBR>เป็น<WBR>ทุก<WBR>อย่าง ฉัน<WBR>ไว้<WBR>ใจ<WBR>ท่าน เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>ซื่อ<WBR>สัตย์ และ<WBR>กตัญญู ท่าน<WBR>ช่วย<WBR>ดู<WBR>แล<WBR>ฉัน<WBR>และ<WBR>น้องๆ ตลอด<WBR>พวก<WBR>พ้อง<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>เชลย ตลอด<WBR>เวลา มา<WBR>วัน<WBR>นี้<WBR>ท่าน<WBR>แต่ง<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>บวช คง<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>มนต์<WBR>ขลัง<WBR>ดี ช่วย<WBR>แก้<WBR>ด้าย<WBR>สาย<WBR>สิญจน์ ออก<WBR>จาก<WBR>มือ<WBR>และ<WBR>ขา<WBR>ให้<WBR>ฉัน<WBR>ด้วย หมอ<WBR>ผี<WBR>พม่า<WBR>มัน<WBR>ผูก<WBR>เอา<WBR>ไว้ เพื่อ<WBR>กัน<WBR>ฉัน<WBR>จะ<WBR>หนี ฉัน<WBR>จึง<WBR>หนี<WBR>ไป<WBR>ไหน<WBR>มา<WBR>ไหน<WBR>ไกลๆ ไม่<WBR>ได้ มัน<WBR>จะ<WBR>เหนี่ยว<WBR>กลับ<WBR>ทัน<WBR>ที ถ้า<WBR>หนี<WBR>ได้<WBR>ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>กับ<WBR>ท่าน


    แล้ว<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>ดึง<WBR>ด้าย<WBR>สาย<WBR>สิญจน์ ที่<WBR>เขา<WBR>ทำ<WBR>ด้วย<WBR>แผ่น<WBR>ทอง<WBR>คำ ความ<WBR>ยาว<WBR>ห้า<WBR>คืบ กว้าง<WBR>หนึ่ง<WBR>นิ้ว ลง<WBR>อักขระ<WBR>คาถา ขณะ<WBR>นี้ ข้าพเจ้า<WBR>ยัง<WBR>นำ<WBR>มา<WBR>เก็บ<WBR>ไว้ ออก<WBR>จาก<WBR>แขน<WBR>และ<WBR>ขา ของ<WBR>ท่าน<WBR>เจ้า<WBR>หญิง<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>เสก<WBR>คาถา<WBR>ดังๆ ว่า ตัส<WBR>สะตัส<WBR>สา คัจ<WBR>ฉะคัจฉา อา<WBR>มุมหิ<WBR>โอ<WBR>กา<WBR>เส<WBR>ติฏฐาหิ เป่า<WBR>ลง<WBR>ไป<WBR>แรงๆ แล้ว<WBR>ด้าย<WBR>ก็<WBR>ขาด<WBR>ออก ปลิว<WBR>หาย<WBR>ไป<WBR>เลย<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>อีก<WBR>แล้ว เห็น<WBR>ท่าน<WBR>ดี<WBR>ใจ<WBR>เอา<WBR>มากๆ สวม<WBR>กอด<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ทัน<WBR>ที (เรื่อง<WBR>นี้<WBR>ถ้า<WBR>มิ<WBR>ใช่<WBR>ฝัน หรือ<WBR>สัมผัส<WBR>ด้วย<WBR>ฝัน อาบัต<WBR>คง<WBR>กิน<WBR>ตาย<WBR>แน่ๆ เพราะ<WBR>สาว<WBR>สวยๆ อย่าง<WBR>นี้<WBR>มาก<WBR>อด ใคร<WBR>เล่า<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ใจ<WBR>ได้ เพราะ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>มี<WBR>กิเลส<WBR>หนา<WBR>อยู่<WBR>นี่ แต่<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ความ<WBR>ฝัน<WBR>เท่า<WBR>นั้น จะ<WBR>เอา<WBR>จริง<WBR>เอา<WBR>จัง<WBR>อะไร<WBR>กับ<WBR>ความ<WBR>ฝัน<WBR>เล่า)


    อัน<WBR>ชีวิต<WBR>ทุก<WBR>ชีวิต ก็<WBR>คือ<WBR>ความ<WBR>ฝัน<WBR>เช่น<WBR>กัน และ<WBR>จะ<WBR>เอา<WBR>อะไร<WBR>แน่<WBR>นอน<WBR>กับ<WBR>ชีวิต<WBR>เล่า ตาย<WBR>ไป<WBR>แล้ว ก็<WBR>ตก<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ภาวะ<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>ว่าง<WBR>เปล่า<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น เอา<WBR>อะไร<WBR>ไป<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>สัก<WBR>อย่าง<WBR>เดียว แก้<WBR>ผ้า<WBR>มา<WBR>ตอน<WBR>เกิด เมื่อ<WBR>วัน<WBR>ตาย<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>กลับ<WBR>สภาพ<WBR>เดิม ชีวิต<WBR>หนอ<WBR>ชีวิต<WBR>คิด<WBR>ดู<WBR>เถิด ตั้ง<WBR>แต่<WBR>เกิด<WBR>ถึง<WBR>ตาย<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>ผี จะ<WBR>ประสพ<WBR>พบ<WBR>โชค<WBR>และ<WBR>โศก<WBR>โศกี ตาม<WBR>วิถี<WBR>ของ<WBR>บุญ<WBR>กรรม<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>มา จง<WBR>อย่า<WBR>ครวญ<WBR>โอด<WBR>โทษ<WBR>ใคร<WBR>ใน<WBR>ยาม<WBR>ทุกข์ จง<WBR>ปลุก<WBR>ปลอบ<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>กล้า มิ<WBR>ใช่<WBR>พรห<WBR>มินทร์<WBR>อินทร์<WBR>เซียน เขียน<WBR>ให้<WBR>มา เรา<WBR>นี้<WBR>นาก<WBR>ระ<WBR>ทำ<WBR>ไว้<WBR>ใน<WBR>ตน<WBR>เอง


    <DD><DD>

    [​IMG]




    <DD>เรื่อง<WBR>พระ<WBR>นาง<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา เทพ<WBR>ธิดา<WBR>ที่<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>ทาง<WBR>ฝัน<WBR>นั้น ท่าน<WBR>บอก<WBR>ว่า ท่าน<WBR>ขา<WBR>ท่าน<WBR>เก่ง<WBR>มาก ที่<WBR>ท่าน<WBR>ช่วย<WBR>แก้<WBR>เครื่อง<WBR>ผูก<WBR>มัด<WBR>ออก<WBR>ให้<WBR>ฉัน ฉัน<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>เป็น<WBR>อิสระ<WBR>เสีย<WBR>ที ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>ท่าน<WBR>ตลอด<WBR>ไป ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>การ<WBR>อะไร<WBR>บอก<WBR>ฉัน เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>ไหน<WBR>มา<WBR>ไหน หรือ<WBR>ทำ<WBR>อะไร<WBR>บอก<WBR>ฉัน<WBR>ด้วย ฉัน<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>แบ่ง<WBR>เบา เท่า<WBR>ที่<WBR>ความ<WBR>สามารถ<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ได้ และ<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>พ้น<WBR>ภัย<WBR>ภาย<WBR>ใน<WBR>เร็วๆ นี้ <DD><DD><DD>พอ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ตัว<WBR>ขึ้น<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>หลับ<WBR>ฝัน ความ<WBR>ทรง<WBR>จำ<WBR>ที่<WBR>ติด<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>มโน<WBR>ทวาร ก็<WBR>ยังกัอง<WBR>กังวาล<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>หู<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ข้าง ของ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ว่า สุพรรณ<WBR>กัลยา สุพรรณ<WBR>กัลยา สุพรรณ<WBR>กัลยา อยู่<WBR>ไม่<WBR>ลืม<WBR>เลือน แม้<WBR>จะ<WBR>ลืม<WBR>ตา หลับ<WBR>ตา เดิน<WBR>ไป เดิน<WBR>มา ทาง<WBR>ตา<WBR>ก็<WBR>เห็น<WBR>รูป หู<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ยิน<WBR>เสียง<WBR>ตลอด<WBR>เวลา เลย<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>สุข เอิบ<WBR>อิ่ม<WBR>เบิก<WBR>บาน ยิ้ม<WBR>แย้ม<WBR>ร่า<WBR>เริง<WBR>อยู่<WBR>คน<WBR>เดียว ข้าว<WBR>ไม่<WBR>กิน<WBR>น้ำ<WBR>ไม่<WBR>ดื่ม เป็น<WBR>เวลา 10 คืน 10 วัน ก็<WBR>ไม่<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>หิว ไม่<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>เพลีย เพราะ<WBR>อิ่ม<WBR>ใจ ไม่<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>อะไร<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น เพราะ<WBR>มัน<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>ทาง<WBR>ใจ<WBR>เอา<WBR>มากๆ จึง<WBR>นึก<WBR>ถึง<WBR>พระ<WBR>คาถา ของ<WBR>ท่าน<WBR>อาภัช<WBR>ชรา<WBR>พราหมณ์<WBR>ว่า ปี<WBR>ติภัก<WBR>สา ภะวิส<WBR>สา<WBR>มิ เท<WBR>วานัง อะภัสส<WBR>รา<WBR>ยะ<WBR>ถะ คาถา<WBR>นี้<WBR>เสก<WBR>น้ำ<WBR>กิน<WBR>บ่อย จะ<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>ทิพย์ ไม่<WBR>ได้<WBR>กิน<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>หิว อยู่<WBR>ได้<WBR>หลายๆ วัน<WBR>แล จำ<WBR>ไว้เ<WBR>นอ



    จึง<WBR>ออก<WBR>ปาก<WBR>พูด<WBR>เอง<WBR>ว่า สุข<WBR>อะไร<WBR>อย่าง<WBR>นี้ สุข<WBR>หนอ สุข<WBR>หนอ แต่<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>สังเกต<WBR>ดู<WBR>ผู้<WBR>คน คน<WBR>ภาย<WBR>นอก<WBR>ตลอด<WBR>ทั้ง<WBR>เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่ ที่<WBR>ควบ<WBR>คุม<WBR>ดู<WBR>แล<WBR>เรา<WBR>อยู่ เขา<WBR>พูด<WBR>กัน<WBR>ว่า เรา<WBR>เร่ง<WBR>ความ<WBR>เพียร<WBR>ทาง<WBR>จิต<WBR>มาก<WBR>เกิน<WBR>ไป<WBR>เลย<WBR>เสีย<WBR>สติ คง<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>โรค<WBR>จิต<WBR>วิปลาส<WBR>ไป<WBR>แล้ว ขืน<WBR>ปล่อย<WBR>ไว้<WBR>นาน<WBR>ก็<WBR>บ้า<WBR>แน่ๆ บ้า<WBR>จริงๆ อย่า<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>ใกล้<WBR>มัน<WBR>นะ<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ร้าย<WBR>เอา เพราะ<WBR>เขา<WBR>เห็น<WBR>เรา<WBR>นั่ง<WBR>ยิ้ม นอน<WBR>ยิ้ม<WBR>อยู่<WBR>คน<WBR>เดียว แล้ว<WBR>ก็<WBR>พูด<WBR>พึม<WBR>พำ<WBR>ว่า<WBR>สุข<WBR>หนอๆ (อย่าง<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>บ้า<WBR>ละ<WBR>ซี)

    พอ<WBR>ถึง<WBR>วัน<WBR>ที่ 25 พฤศจิ<WBR>กายน เดือน<WBR>เดียว<WBR>กัน พวก<WBR>เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่ ที่<WBR>ควบ<WBR>คุม<WBR>ดู<WBR>แล<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>อยู่ มา<WBR>ตะโกน<WBR>ดังๆ บอก<WBR>ว่า<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>บ้า<WBR>หรอก เลิก<WBR>บ้า<WBR>เสีย<WBR>ที ท่าน<WBR>พ้น<WBR>โทษ พ้น<WBR>ข้อ<WBR>กล่าว<WBR>หา<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>แล้ว ผู้<WBR>ใหญ่<WBR>ทาง<WBR>เมือง<WBR>สยาม<WBR>ไทย คือ<WBR>ท่าน<WBR>จอม<WBR>พล ป. พิบูล<WBR>สงคราม ได้<WBR>ร้อง<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>นายก<WBR>อุนุ ปลด<WBR>ปล่อย<WBR>ท่าน<WBR>แล้ว ท่าน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>ไหน<WBR>ก็<WBR>ไป ท่าน<WBR>เป็น<WBR>อิสระ<WBR>แก่<WBR>ตัว<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>แล้ว เมื่อ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ได้<WBR>ยิน<WBR>เข้า<WBR>ก็<WBR>ยิ้ม ยิ้ม<WBR>แล้ว<WBR>ยิ้ม<WBR>อีก ยิ้ม<WBR>ไม่<WBR>เลิก ยิ้ม<WBR>เรื่อยๆ เขา<WBR>ก็<WBR>ยิ่ง<WBR>หา<WBR>ว่า<WBR>บ้า<WBR>หนัก<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>อีก ถึง<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ดี อัน<WBR>ภาพ<WBR>ที่<WBR>เห็น<WBR>ใน<WBR>ทาง<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ มัน<WBR>บันดาล<WBR>ให้<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>ทาง<WBR>ใจ อิ่ม<WBR>ใจ<WBR>มากๆ จึง ยิ้ม ยิ้ม ยิ้ม ใครๆ เขา<WBR>จะ<WBR>หา<WBR>ว่า<WBR>บ้า<WBR>ก็<WBR>เอา (อัน<WBR>ความ<WBR>ยิ้ม<WBR>แย้ม<WBR>แจ่ม<WBR>ใส จิต<WBR>ใจ ร่า<WBR>เริง<WBR>เบิก<WBR>บาน ไม่<WBR>มี<WBR>ทุกข์ เป็น<WBR>ยา<WBR>รักษา<WBR>โรค<WBR>ขนาน<WBR>เอก) จำ<WBR>ไว้<WBR>เน้อ



    <DD>เมื่อ<WBR>มา<WBR>ถึง<WBR>ตอน<WBR>นี้<WBR>ท่าน<WBR>ผู้<WBR>อ่าน อ่าน<WBR>แล้ว<WBR>คง<WBR>จะ<WBR>นึก<WBR>ว่า<WBR>เรื่อง<WBR>นี้ มัน<WBR>เป็น unbelievable นี่<WBR>หว่า แต่<WBR>ข้าพเจ้า ก็<WBR>เชื่อ<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>อย่าง<WBR>เต็ม<WBR>ร้อย หรือ<WBR>ท่าน<WBR>จะ<WBR>คิด<WBR>ว่า<WBR>มัน<WBR>เป็น nearly Impossible แต่<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>เห็น<WBR>ว่า มัน<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>ได้<WBR>และ<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>แล้ว เพราะ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ค้น<WBR>คว้า และ<WBR>เขียน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>ขึ้น<WBR>มา เพียง<WBR>เพื่อ<WBR>เสนอ<WBR>แนว<WBR>คิด<WBR>ใน<WBR>แง่<WBR>มุม<WBR>ต่างๆ ที่<WBR>ได้<WBR>สัมผัส<WBR>มา<WBR>ด้วย<WBR>ตน<WBR>เอง ทั้ง<WBR>ด้าน<WBR>นาม<WBR>ธรรม และ<WBR>ด้าน<WBR>รูป<WBR>ธรรม มิ<WBR>ใช่<WBR>จะ<WBR>กะ<WBR>เกณฑ์<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เชื่อ<WBR>หรอก ขอบ<WBR>อก<WBR>ว่า<WBR>อัน<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>เชื่อ<WBR>อะไร<WBR>ง่ายๆ และ<WBR>ปฏิเสธ<WBR>อะไร<WBR>ง่ายๆ โดย<WBR>ไม่<WBR>ดู<WBR>เหตุ<WBR>ผล (คือ<WBR>คน<WBR>โง่) เพราะ<WBR>สิ่ง<WBR>เร้น<WBR>ลับ<WBR>ซับ<WBR>ซ้อน<WBR>ต่างๆ ที่<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>ใต้<WBR>หล้า<WBR>ฟ้า<WBR>กว้าง<WBR>ใน<WBR>โลก<WBR>นี้ ซึ่ง<WBR>มนุษย์<WBR>ยัง<WBR>ค้น<WBR>ไม่<WBR>พบ ยัง<WBR>มี<WBR>มาก<WBR>เหลือ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>พรรณนา สิ่ง<WBR>นั้น<WBR>คือ<WBR>เรื่อง<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ



    <DD>อัน<WBR>เรื่อง<WBR>ราว<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา ที่<WBR>ท่าน<WBR>บอก<WBR>ว่า ท่าน<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>ธิดา<WBR>องค์<WBR>ใหญ่ ใน<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>ธรรม<WBR>ราชา<WBR>นั้น เป็น<WBR>ใคร<WBR>กัน<WBR>แน่ เพราะ<WBR>แต่<WBR>ไหน<WBR>แต่<WBR>ไร<WBR>มา<WBR>แล้ว ข้าพเจ้า<WBR>เอง<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เอา<WBR>ใจ<WBR>ใส่ ไม่<WBR>ได้<WBR>สน<WBR>ใจ ใน<WBR>เรื่อง<WBR>เกี่ยว<WBR>กับ<WBR>เจ้าๆ จักรๆ วงศ์ๆ อะไร<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น เพราะ<WBR>เหตุ<WBR>ว่า<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>มี config ติด<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ใจ<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>กำเนิด คือ<WBR>ไม่<WBR>ชอบ<WBR>เจ้า เพราะ<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>อยู่<WBR>ไม่<WBR>ว่า<WBR>ที่<WBR>ใด จะ<WBR>ไม่<WBR>ไกล<WBR>จาก<WBR>หมู่<WBR>บ้าน<WBR>ของ<WBR>พวก<WBR>คณะ<WBR>ลิเก อัน<WBR>คน<WBR>จำพวก<WBR>นั้น<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ซ้อม มัน<WBR>จะ<WBR>แสดง มัน<WBR>จะ<WBR>สอน<WBR>กัน<WBR>แต่<WBR>เรื่อง<WBR>เจ้า จักรๆ วงศ์ๆ ทุกวี่<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>เป็น<WBR>ประจำ หนวก<WBR>หู<WBR>จะ<WBR>ตาย เลย<WBR>เกิด<WBR>โรค<WBR>ความ<WBR>เกลียด ความ<WBR>ชัง<WBR>ใน<WBR>ระบบ<WBR>เจ้า ของ<WBR>พวก<WBR>ลิเก<WBR>ขึ้น<WBR>มา เมื่อ<WBR>พวก<WBR>มัน<WBR>เลิก<WBR>เล่น เลิก<WBR>แสดง มัน<WBR>ก็<WBR>มา<WBR>นั่ง<WBR>กิน<WBR>ข้าว กับ<WBR>หัว<WBR>ปลา<WBR>ทู<WBR>กรอบๆ กับ<WBR>หมา<WBR>อีก นี่<WBR>แหละ<WBR>หนา<WBR>โลก<WBR>แห่ง<WBR>มายา โลก<WBR>แห่ง<WBR>การ<WBR>สมมุติ แต่<WBR>มนุษย์<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>มา<WBR>ยึด<WBR>ติด<WBR>กับ<WBR>มัน อนิจจัง<WBR>อนิจจา<WBR>น่า<WBR>ทุเรศ<WBR>แท้ๆ


    <DD>


    แต่<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>นาง<WBR>สุพรรณ<WBR>กัลยา ที่<WBR>กล่าว<WBR>มา<WBR>ตลอด<WBR>นี้ ท่าน<WBR>เป็น<WBR>เจ้า<WBR>ประเภท<WBR>ไหน ทำไม<WBR>จึง<WBR>เป็น<WBR>ภาพ<WBR>ที่<WBR>ติด<WBR>ตา ตรึง<WBR>ใจ ใน<WBR>ห้วง<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>นึก<WBR>คิด ของ<WBR>เรา<WBR>ตลอด<WBR>เวลา ก็<WBR>เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>นำ<WBR>พา ให้<WBR>เรา<WBR>ได้<WBR>เข้า<WBR>ถึง ได้<WBR>รับ<WBR>รู้<WBR>เรื่อง<WBR>โลก<WBR>วิญญาณ โลก<WBR>ลี้<WBR>ลับ ใน<WBR>คราว<WBR>ที่<WBR>ชีวิต<WBR>ตก<WBR>อับ<WBR>คับ<WBR>ขัน จะ<WBR>หัน<WBR>หน้า<WBR>ไป<WBR>พึ่ง<WBR>ใครๆ มนุษย์<WBR>หน้า<WBR>ไหน<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>อีก<WBR>แล้ว ขณะ<WBR>ที่<WBR>จิต<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>ผ่อง<WBR>แผ้ว เข้า<WBR>สู่<WBR>ภวังค์<WBR>ได้<WBR>หยั่ง<WBR>รู้ หยั่ง<WBR>เห็น<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>อุป<WBR>ทาย<WBR>รูป อัน<WBR>เลอ<WBR>โฉม<WBR>ของ<WBR>ท่าน และ<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>นำ<WBR>พา<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>มิติ<WBR>เก่าๆ ที่<WBR>เป็น<WBR>อดีต<WBR>กาล ซึ่ง<WBR>ผ่าน<WBR>มา<WBR>แล้ว แม้<WBR>จะ<WBR>นาน<WBR>แสน<WBR>นาน ก็<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>รู้<WBR>เหตุ<WBR>การณ์<WBR>ต่างๆ ดัง<WBR>ได้<WBR>กล่าว<WBR>ต่อ<WBR>ไป อัน<WBR>มิติ<WBR>สภาวะ<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>ลี้<WBR>ลับ<WBR>แห่ง<WBR>หนึ่ง ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>สภาวะ<WBR>ที่<WBR>โปร่ง<WBR>ใส ไม่<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>อาทิตย์ ไม่<WBR>มี<WBR>แสง<WBR>จันทร์ แต่<WBR>มัน<WBR>สว่าง เนื้อ<WBR>ตัว<WBR>ก็<WBR>เบา เคลื่อน<WBR>ย้าย<WBR>ไป<WBR>มา<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ก้าว<WBR>ขา ก็<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>ทัน<WBR>ใจ นึก<WBR>อยาก<WBR>ได้<WBR>อะไร สิ่ง<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>มา<WBR>ถึง อัน<WBR>สถาน<WBR>บ้าน<WBR>เรือน<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>ดู เรา<WBR>เห็น<WBR>ด้วย<WBR>ตา ว่า<WBR>มี<WBR>สภาพ<WBR>ชำรุด<WBR>ทรุด<WBR>โทรม<WBR>นั้น กลับ<WBR>เห็น<WBR>เป็น<WBR>ของ<WBR>ยัง<WBR>ใหม่<WBR>เช่น<WBR>เดิม
    </DD>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    แล้ว<WBR>ท่าน<WBR>นำ<WBR>พาก<WBR>ลับ<WBR>เข้า<WBR>ไป ดู<WBR>ภาวะ<WBR>การณ์<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>และ<WBR>เรา ถูก<WBR>กวาด<WBR>ต้อน<WBR>ไป<WBR>เป็น<WBR>เชลย<WBR>นั้น ก็<WBR>เห็น<WBR>ว่า เรา<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ชาย<WBR>มี<WBR>อายุ<WBR>กลาง<WBR>คน<WBR>แล้ว และ<WBR>มี<WBR>ร่าง<WBR>กาย<WBR>แข็ง<WBR>แรง เป็น<WBR>ผู้<WBR>ใหญ่<WBR>อายุ<WBR>มาก<WBR>กว่า<WBR>ท่าน และ<WBR>ยัง<WBR>ได้<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ ท่าน<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>ขอ<WBR>ร้อง แม้<WBR>แต่<WBR>พระ<WBR>อนุชา<WBR>ของ<WBR>ท่าน คือ<WBR>ท่าน<WBR>องค์<WBR>ดำ และ<WBR>องค์<WBR>ขาว ก็<WBR>เห็น<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>เด็ก จน<WBR>โต<WBR>เป็น<WBR>หนุ่ม<WBR>แน่น และ<WBR>เห็น<WBR>ท่าน<WBR>ทั้ง<WBR>สาม<WBR>องค์ อยู่ กิน นอน ด้วย<WBR>กัน<WBR>ตลอด<WBR>เวลา และ<WBR>พระ<WBR>อนุชา<WBR>ทั้ง<WBR>สอง ท่าน<WBR>ก็<WBR>ใฝ่<WBR>ใจ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ศึกษา<WBR>ศิลปศาสตร์<WBR>ทุก<WBR>สาขา และ<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>เมตตา<WBR>ต่อ<WBR>เรา<WBR>เอา<WBR>มากๆ และ<WBR>บาง<WBR>ครั้ง<WBR>เรา<WBR>ยัง<WBR>รับ<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>แทน<WBR>ท่าน อัน<WBR>เป็น<WBR>งาน<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>ไม่<WBR>ถนัด เพราะ<WBR>พวก<WBR>ที่<WBR>ตก<WBR>เป็น<WBR>เชลย<WBR>นั้น คน<WBR>ทุก<WBR>ชั้น<WBR>ก็<WBR>คือ<WBR>เชลย<WBR>หมด จึง<WBR>หมด<WBR>ภาวะ<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>เป็น<WBR>นาย เป็น<WBR>บ่าว<WBR>กัน<WBR>แล้ว




    <DD>แต่<WBR>เรา<WBR>เก่ง<WBR>ทาง<WBR>สร้าง<WBR>บ้าน สร้าง<WBR>เรือน เรา<WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>ชื่อ<WBR>ว่า ขุน<WBR>อนุรักษ์ ศักดิ์<WBR>เสนา อัน<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>สัมผัส ด้วย<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>อีก<WBR>มิติ<WBR>หนึ่ง มิติ<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>มิติ<WBR>ที่<WBR>ละเอียด<WBR>มาก ที่<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>ตัว<WBR>แฝง<WBR>ตัว<WBR>พลัง<WBR>นั่น<WBR>เอง ยาก<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>อยู่<WBR>ได้<WBR>นาน เพราะ<WBR>ภาวะ<WBR>การ<WBR>ของ<WBR>จิต มัน<WBR>จะ<WBR>ถอย<WBR>ออก<WBR>มา อยู่<WBR>สู่<WBR>มิติ<WBR>ทาง<WBR>สัมผัส<WBR>ด้วย<WBR>ใจ<WBR>อีก<WBR>ต่อ<WBR>ไป จาก<WBR>นั้น<WBR>ท่าน<WBR>ก็<WBR>เล่า<WBR>ให้<WBR>ฟัง<WBR>ว่า พวก<WBR>เรา<WBR>ถูก<WBR>กวาด<WBR>ต้อน มา<WBR>เป็น<WBR>เชลย จน<WBR>ฉัน<WBR>โต<WBR>เป็น<WBR>สาว ดัง<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>เห็น<WBR>อยู่<WBR>นี้ อายุ<WBR>ราวๆ เบญจ<WBR>เพศ ไอ้<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง มัน<WBR>ก็<WBR>ปอง<WBR>รัก จะ<WBR>หัก<WBR>ด้าม<WBR>พร้า<WBR>ด้วย<WBR>เข่า เอา<WBR>ฉัน<WBR>ทำ<WBR>เมีย มัน<WBR>ทำ<WBR>ระ<WBR>ร่ำ ระ<WBR>เห<WBR>รี่ย<WBR>ใน<WBR>ทาง<WBR>มายา แต่<WBR>พระ<WBR>อนุชา<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ไม่<WBR>ยิน<WBR>ยอม และ<WBR>ตัว<WBR>ท่าน<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ยอม<WBR>ด้วย ดัง<WBR>นั้น<WBR>จึง<WBR>พร้อม<WBR>กัน<WBR>ออก<WBR>อุบาย<WBR>ว่า ขอ<WBR>ให้<WBR>ฉัน<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>อนุญาต จาก<WBR>ท่าน<WBR>ผู้<WBR>บัง<WBR>เกิด<WBR>เกล้า คือ<WBR>บิดา<WBR>มารดา<WBR>เสีย<WBR>ก่อน เพราะ<WBR>ประเพณี<WBR>ของ<WBR>ไทย ถ้า<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>แต่ง<WBR>งาน<WBR>ก่อน<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>อนุญาต จะ<WBR>อายุ<WBR>สั้น



    <DD>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>มัน<WBR>ตา<WBR>ฝาด ด้วย<WBR>อำนาจ<WBR>กิเลส<WBR>ตัณหา จึง<WBR>จัด<WBR>แจง<WBR>โยธา<WBR>ไพร่<WBR>พล พร้อม<WBR>ด้วย<WBR>ตัว<WBR>เขา และ<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>ฉัน และ<WBR>ตัว<WBR>ท่าน<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>ด้วย แต่<WBR>การ<WBR>ไป<WBR>ของ<WBR>ท่าน เขา<WBR>ให้<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>แค่<WBR>เขต<WBR>แดน แล้ว<WBR>เขา<WBR>สั่ง<WBR>ให้<WBR>สร้าง<WBR>บ้าน<WBR>เรือน อยู่<WBR>ตรง<WBR>เมือง<WBR>มะ<WBR>ริด และ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ก็<WBR>เกรง<WBR>ใจ<WBR>ท่าน<WBR>มาก เพราะ<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ใหญ่<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>นับ<WBR>ถือ เรียก<WBR>ว่า<WBR>มือ<WBR>ชั้น<WBR>ครู มี<WBR>บาง<WBR>คน<WBR>คง<WBR>สงสัย<WBR>ว่า ฉัน<WBR>เอง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ทำไม เพราะ<WBR>ปกติ<WBR>ข้าศึก จะ<WBR>ไม่<WBR>จับ<WBR>เอา<WBR>ผู้<WBR>หญิง<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>พ้น<WBR>นิติ<WBR>ภาวะ ไป<WBR>เป็น<WBR>เชลย



    <DD><DD>จึง<WBR>ขอ<WBR>ตอบ<WBR>ว่า เหตุ<WBR>ที่<WBR>ฉัน<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>เพราะ น้อง<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>พระ<WBR>องค์ เขา<WBR>ติด<WBR>พัน<WBR>ฉัน<WBR>มาก ฉัน<WBR>เป็น<WBR>ทั้ง<WBR>พี่<WBR>จริง และ<WBR>พี่<WBR>เลี้ยง ฉัน<WBR>เลี้ยง<WBR>ดู<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>ตั้ง<WBR>แต่<WBR>เยาว์<WBR>วัย ใน<WBR>คราว<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>ร่อน<WBR>เร่<WBR>มา อย่าง<WBR>เมื่อย<WBR>ล้า น้อง<WBR>คน<WBR>เล็ก<WBR>ไม่<WBR>ยอม<WBR>เดิน ฉัน<WBR>ต้อง<WBR>อุ้ม<WBR>กระเตง<WBR>คน<WBR>เล็ก ไว้<WBR>ที่<WBR>เอว<WBR>ข้าง<WBR>ขวา จูง<WBR>คน<WBR>โต<WBR>ด้วย<WBR>มือ<WBR>ซ้าย ตอน<WBR>ข้าม<WBR>น้ำ ท่าน<WBR>ยัง<WBR>เห็น<WBR>ว่า<WBR>ขำ<WBR>แท้ๆ ท่าน<WBR>จึง<WBR>ทำ<WBR>จำ<WBR>แลง แกะ<WBR>สลัก<WBR>รูป<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>อุ้ม<WBR>น้อง เพื่อ<WBR>ล้อ<WBR>เลียน<WBR>ไว้<WBR>ดู<WBR>เล่น ขอ<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เอา<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>ด้วย<WBR>นะ เอา<WBR>ไว้<WBR>ไป<WBR>ดู<WBR>เล่น<WBR>เป็น<WBR>ขวัญ<WBR>ตา และ<WBR>ของ<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>เคารพ<WBR>บูชา ที่<WBR>ท่าน<WBR>เอา<WBR>เก็บ<WBR>ไว้ ก่อน<WBR>ออก<WBR>เดิน<WBR>ทาง<WBR>กลับ คือ พระ<WBR>นารายณ์ และ<WBR>พระ<WBR>แม่<WBR>อุ<WBR>มา ที่<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>สัก<WBR>กา<WBR>ระ<WBR>บูชา ก็<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เอา<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>ด้วย และ<WBR>ของ<WBR>เหล่า<WBR>นั้น ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>นำ<WBR>เอา<WBR>กลับ<WBR>มา<WBR>เก็บ<WBR>รักษา<WBR>ไว้ เท่า<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>นี้ นี่<WBR>แหละ<WBR>คือ<WBR>สักขี<WBR>พยาน ใน<WBR>ด้าน<WBR>รูป<WBR>ธรรม<WBR>ที่<WBR>พอ<WBR>ยืน<WBR>ยัน<WBR>ได้ .... <DD><DD><DD>
    </DD>
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD align=middle>กลับบ้านเกิดเมืองนอนครั้งแรก


    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>




    <DD>กล่าว<WBR>ย้อน<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>การ<WBR>เดิน<WBR>ทาง<WBR>กลับ อำ<WBR>ลา<WBR>ท่าน<WBR>ผู้<WBR>บัง<WBR>เกิด<WBR>เกล้า ที่<WBR>เมือง<WBR>อยุธยา จำ<WBR>เดิม แต่<WBR>ได้<WBR>พลัด<WBR>พราก จาก<WBR>บ้าน<WBR>เกิด<WBR>เมือง<WBR>นอน มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>ร่วม<WBR>สิบ<WBR>ปี มี<WBR>ครั้ง<WBR>เดียว<WBR>เท่า<WBR>นี้ ที่<WBR>ฉัน<WBR>ได้<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>เห็น<WBR>หน้า<WBR>บิดา มารดา ตลอด<WBR>ทั้ง<WBR>พระ<WBR>ประยูร<WBR>ญาติ เมื่อ<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>พิธี<WBR>อำ<WBR>ลา ท่าน<WBR>ผู้<WBR>บัง<WBR>เกิด<WBR>เกล้า<WBR>แล้ว เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ก็<WBR>พาก<WBR>ลับ และ<WBR>ให้<WBR>กลับ<WBR>ทุก<WBR>คน แม้<WBR>แต่<WBR>พระ<WBR>อนุชา<WBR>ของ<WBR>ฉัน เพราะ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง มัน<WBR>ใช้<WBR>อำนาจ<WBR>บาท<WBR>ใหญ่ พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>ของ<WBR>ฉัน จะ<WBR>ร้อง<WBR>ขอ<WBR>อะไร<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ยอม แม้<WBR>แต่<WBR>ท่าน<WBR>จะ<WBR>ขอ<WBR>กำลัง<WBR>ทหาร<WBR>ไทย ไว้<WBR>ป้อง<WBR>กัน<WBR>ประเทศ มัน<WBR>ก็<WBR>ด่า<WBR>ว่า<WBR>เอา มัน<WBR>บอก<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>จำ<WBR>เป็น ไม่<WBR>เห็น<WBR>ใคร<WBR>ที่<WBR>ไหน<WBR>จะ<WBR>ใหญ่ จะ<WBR>มี<WBR>กำลัง<WBR>เหนือ<WBR>มัน

    <DD>
    <DD>มัน<WBR>เคี่ยว<WBR>เข็ญ เย็น<WBR>ค่ำ ร่ำ<WBR>ไป ตาม<WBR>วิสัย<WBR>เชิง<WBR>เช่น<WBR>ผู้<WBR>เป็น<WBR>นาย พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>ของ<WBR>ฉัน ก็<WBR>กลัว<WBR>มัน<WBR>ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>เสือ เหลือ<WBR>ร้าย<WBR>จริง<WBR>อ้าย<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง เมื่อ<WBR>กลับ<WBR>ถึง<WBR>ถิ่น<WBR>เมือง<WBR>หง<WBR>สาว<WBR>ดี<WBR>แล้ว พิธี<WBR>การ<WBR>การ<WBR>อภิเษก<WBR>สมรส ระหว่าง<WBR>ฉัน กับ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ก็<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น ฉัน<WBR>ก็<WBR>ตก<WBR>เป็น<WBR>ของ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง ตาม<WBR>ประเพณี<WBR>ของ<WBR>เขา แต่<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>สิ<WBR>เหงา เพราะ<WBR>ดู<WBR>กิริยา<WBR>ท่า<WBR>ทาง<WBR>ของ<WBR>เขา เศร้า<WBR>สร้อย<WBR>หงอย<WBR>เหงา<WBR>จริงๆ เพราะ<WBR>เขา<WBR>เคย<WBR>อยู่<WBR>กับ<WBR>ฉัน เรา<WBR>อยู่<WBR>ด้วย<WBR>กัน<WBR>มา<WBR>ตั้ง<WBR>แต่<WBR>เกิด<WBR>ก็<WBR>ว่า<WBR>ได้ ฉัน<WBR>ฟูม<WBR>ฟัก<WBR>เลี้ยง<WBR>ดู<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>ด้วย<WBR>มือ เลี้ยง<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>เล็กๆ ฉัน<WBR>สงสาร<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ที่<WBR>ว้า<WBR>เหว่

    ฉัน<WBR>จึง<WBR>วาง<WBR>เล่ห์<WBR>กล<WBR>อุบาย กับ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ว่า ท่าน<WBR>เจ้า<WBR>ขา อัน<WBR>พระ<WBR>อนุชา<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>นั้น เขา<WBR>ได้<WBR>เติบ<WBR>ใหญ่ เป็น<WBR>หนุ่ม<WBR>เป็น<WBR>แน่น<WBR>รักษา<WBR>ตัว<WBR>ได้ และ<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>รอด<WBR>ได้<WBR>แล้ว ฉัน<WBR>จึง<WBR>อยาก<WBR>จะ<WBR>ขอ<WBR>ร้อง ให้<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>คน กลับ<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>ราช<WBR>การ ของ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>ที่<WBR>เมือง<WBR>ไทย เพราะ<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ข่าว<WBR>ว่า พญา<WBR>ละแวก คือ<WBR>พวก<WBR>ขอม (เขมร) ได้<WBR>ยาตรา<WBR>ทัพ<WBR>อัน<WBR>เกรียง<WBR>ไกร มา<WBR>ประชิด<WBR>ติด<WBR>แดน<WBR>ไทย<WBR>แล้ว และ<WBR>ก็<WBR>ตี<WBR>ได้<WBR>แล้ว<WBR>หลาย<WBR>เมือง ทาง<WBR>ทิศ<WBR>ตะวัน<WBR>ออก<WBR>ของ<WBR>ไทย ถ้า<WBR>เรา<WBR>ช้า<WBR>ไป<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เสีย<WBR>ใจ


    เพราะ<WBR>เมือง<WBR>ไทย ได้<WBR>ตก<WBR>เป็น<WBR>เมือง<WBR>ขึ้น<WBR>ของ<WBR>พญา<WBR>ละแวก เรา<WBR>จะ<WBR>สูญ<WBR>เสีย<WBR>ประเทศราช<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>ไป<WBR>อีก ฉัน<WBR>เชื่อ<WBR>แน่<WBR>ว่า พระ<WBR>น้อง<WBR>ยา<WBR>เธอ<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>ทั้ง<WBR>สอง เขา<WBR>จะ<WBR>เอา<WBR>ชนะ<WBR>พญา<WBR>ละแวก<WBR>ได้ เพราะ<WBR>ไพร่<WBR>พล<WBR>คน<WBR>ไทย ก็<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>กำลัง<WBR>ใจ ใน<WBR>อัน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ต่อ<WBR>สู้ กับ<WBR>พญา<WBR>ละแวก<WBR>ได้ เมื่อ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ได้<WBR>ฟัง มัน<WBR>ก็<WBR>เชื่อ<WBR>อย่าง<WBR>สนิท<WBR>ใจ มัน<WBR>จึง<WBR>ปล่อย<WBR>ให้<WBR>เจ้า<WBR>องค์<WBR>ดำ<WBR>พี่<WBR>ชาย กับ<WBR>เจ้า<WBR>องค์<WBR>ขาว กลับ<WBR>เมือง<WBR>ไทย พร้อม<WBR>ด้วย<WBR>บริวาร<WBR>อีก<WBR>จำนวน<WBR>หนึ่ง ท่าน<WBR>ขา<WBR>ตอน<WBR>ที่<WBR>น้อง<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>ฉัน ที่<WBR>ฉัน<WBR>ได้ทนุ<WBR>ถนอม กล่อม<WBR>เกลี้ยง<WBR>เขา<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>แบ<WBR>เบาะ มี<WBR>เคราะห์<WBR>กรรม<WBR>อะไร<WBR>หนอ ที่<WBR>จะ<WBR>มา<WBR>พราก<WBR>ให้<WBR>ฉัน<WBR>ต้อง<WBR>อยู่<WBR>เดียว<WBR>ดาย ใน<WBR>ขณะ<WBR>ที่<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>จาก<WBR>ไป<WBR>นั้น ฉัน<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>สังหรณ์<WBR>ใจ<WBR>ว่า จาก<WBR>นี้<WBR>ไป<WBR>ภาย<WBR>หน้า<WBR>ตลอด<WBR>ชีวิต ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เห็น<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ทั้ง<WBR>สอง ของ<WBR>ฉัน<WBR>อีก<WBR>แล้ว จึง<WBR>ได้<WBR>ยิน<WBR>แต่<WBR>สั่ง<WBR>คำ<WBR>เดียว<WBR>ว่า ไป<WBR>นะ<WBR>แม่ ไป<WBR>นะ<WBR>แม่ น้อง<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>จะ<WBR>จด<WBR>จำ<WBR>คำ<WBR>ว่า แม่ แม่ แม่ ไว้<WBR>ใน<WBR>ห้วง<WBR>แห่ง<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ตลอด<WBR>ไป


    ท่าน<WBR>ขา ใน<WBR>คราว<WBR>นั้น<WBR>เอง ฉัน<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า<WBR>ดวง<WBR>ตา ดวง<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ฉัน มัน<WBR>หลุด<WBR>ลอย<WBR>ออก<WBR>จาก<WBR>ร่าง มัน<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>เวิ้ง<WBR>ว้าง ว้า<WBR>เหว่ ไม่<WBR>มี<WBR>ฟ้า ไม่<WBR>มี<WBR>ดิน ได้<WBR>ยิน<WBR>แต่<WBR>เสียง<WBR>น้อง<WBR>สั่ง<WBR>ว่า ไป<WBR>นะ<WBR>แม่ ไป<WBR>นะ<WBR>แม่ ถึง<WBR>เขา<WBR>จะ<WBR>ออก<WBR>เดิน<WBR>ไปแลัว จน<WBR>สุด<WBR>สาย<WBR>ตา แต่<WBR>เสียง<WBR>สั่ง<WBR>ลา<WBR>ของ<WBR>น้อง ก็<WBR>ยัง<WBR>ก้อง อยู่<WBR>ใน<WBR>โสต<WBR>ประสาท<WBR>ของ<WBR>ฉัน ไม่<WBR>มี<WBR>วัน<WBR>ลืม<WBR>เลือน ฉัน<WBR>จึง<WBR>ยืน<WBR>ขึ้น เอา<WBR>มือ<WBR>ขวา<WBR>ค้ำ<WBR>สะ<WBR>เอว ส่ง<WBR>กระแส<WBR>จิต<WBR>ให้<WBR>รุน<WBR>แรง<WBR>ว่า ไป<WBR>ดี<WBR>เน้อ<WBR>น้อง ไป<WBR>ดี<WBR>เน้อ<WBR>น้อง มัน<WBR>เป็น<WBR>เคล็ด<WBR>ลับ<WBR>อย่าง<WBR>หนึ่ง<WBR>นะ<WBR>ท่าน ที่<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา<WBR>ของ<WBR>ฉัน สอน<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>ว่า ถ้า<WBR>จะ<WBR>อวย<WBR>ชัย<WBR>ให้<WBR>พร<WBR>ใคร เมื่อ<WBR>เขา<WBR>จาก<WBR>ไป ถ้า<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>หญิง<WBR>ให้<WBR>ใช้<WBR>มือ<WBR>ซ้าย ถ้า<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ชาย<WBR>ให้<WBR>ใช้<WBR>มือ<WBR>ขวา ถ้า<WBR>เป็น<WBR>ทั้ง<WBR>หญิง<WBR>ทั้ง<WBR>ชาย ให้<WBR>ใช้<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>มือ ดู<WBR>แต่<WBR>คราว<WBR>ที่<WBR>พวก<WBR>คณะ<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>จาก<WBR>ท่าน<WBR>มา ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ครั้ง ท่าน<WBR>ก็<WBR>ใช้<WBR>พระ<WBR>หัตถ์ ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ข้าง<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ค้ำ<WBR>สะ<WBR>เอว เรา<WBR>จึง<WBR>ไป<WBR>มา<WBR>อย่าง<WBR>ปลอด<WBR>ภัย เมื่อ<WBR>เขา<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>แล้ว ได้<WBR>ตั้ง<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>หัว<WBR>หน้า<WBR>ทัพ แล้ว<WBR>เปลี่ยน<WBR>คำ<WBR>ว่า หัว<WBR>หน้า<WBR>ใหญ่ ให้<WBR>เป็น<WBR>แม่<WBR>ทัพ ตั้ง<WBR>แต่<WBR>บัด<WBR>นั้น<WBR>เป็น<WBR>ต้น<WBR>มา แล้ว<WBR>ประกาศ<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>อาญา<WBR>ว่า หาก<WBR>มัน<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>มัน<WBR>อุตริ เปลี่ยน<WBR>ชื่อ<WBR>แม่<WBR>ทัพ ให้<WBR>เป็น<WBR>ศัพท์<WBR>อื่นๆ นาม<WBR>อื่น<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>บุคคล<WBR>ผู้<WBR>นั้น มัน<WBR>ถึง<WBR>ซึ่ง<WBR>ความ<WBR>วิบัติ ฉิบ<WBR>หาย<WBR>วาย<WBR>วอด<WBR>เถิด นี่<WBR>แหละ<WBR>ท่าน<WBR>น้อง<WBR>ที่<WBR>กตัญญู เขา<WBR>เอา<WBR>ชื่อ<WBR>แม่<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>รัก และ<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>คุณ<WBR>กับ<WBR>เขา ไป<WBR>ตั้ง<WBR>เป็น<WBR>แม่ แม่ แม่ อยู่<WBR>กับ<WBR>ตัว<WBR>เขา<WBR>ตลอด<WBR>ไป(กอง<WBR>ทัพ<WBR>ไทย<WBR>เรา<WBR>จึง<WBR>มี<WBR>แม่<WBR>ทัพ ตั้ง<WBR>แต่<WBR>บัด<WBR>นั้น<WBR>เป็น<WBR>ต้น<WBR>มา)


    [​IMG]

    และ<WBR>กาล<WBR>ต่อ<WBR>มา<WBR>ภาย<WBR>หลัง เมื่อ<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ฉัน<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>แล้ว ได้<WBR>ตั้ง<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>แม่<WBR>ทัพ ได้<WBR>รวบ<WBR>รวม<WBR>สรรพ<WBR>กำลัง<WBR>ให้<WBR>เกรียง<WBR>ไกร แล้ว<WBR>ขับ<WBR>ไล่<WBR>กอง<WBR>ทัพ ของ<WBR>พญา<WBR>ละแวก ให้<WBR>แตก<WBR>กระเจิง แล้ว<WBR>รวบ<WBR>รวม<WBR>ไพร่<WBR>พล ของ<WBR>พญา<WBR>ละแวก เข้า<WBR>เป็น<WBR>กำลัง<WBR>เสริม ร่วม<WBR>กัน<WBR>เล่น<WBR>งาน<WBR>กอง<WBR>ทัพ<WBR>อ้าย<WBR>หม่อง ให้ม่อง<WBR>เท่ง<WBR>ไป<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>กระบวน แต่<WBR>การ<WBR>เอา<WBR>ชนะ<WBR>กับ<WBR>เจ้า<WBR>หม่อง<WBR>นั้น ล่า<WBR>ช้า<WBR>มากๆ ส่วน<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ฉัน<WBR>เขา<WBR>รู้ รู้<WBR>ว่า<WBR>เจ้า<WBR>หม่อง มัน<WBR>ส่ง<WBR>ชาย<WBR>ฉกรรจ์ แต่ง<WBR>ตัว<WBR>ปลอม<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>พระ มา<WBR>สืบ<WBR>ความ<WBR>ลับ<WBR>ว่า จุด<WBR>อ่อน จุด<WBR>แข็ง<WBR>ของ<WBR>กอง<WBR>ทัพ<WBR>ไทย อยู่<WBR>ตรง<WBR>ไหน เจ้า<WBR>พวก<WBR>แต่ง<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>นี้<WBR>เอง คน<WBR>ไทย<WBR>ไม่<WBR>รู้<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>พม่า หรือ<WBR>พระ<WBR>ไทย เพราะ<WBR>เหมือน<WBR>กัน<WBR>หมด ดู<WBR>ไม่<WBR>ออก<WBR>ว่า<WBR>พระ<WBR>พม่า หรือ<WBR>พระ<WBR>ไทย พอ<WBR>น้อง<WBR>ชาย<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>ฉัน<WBR>กลับ<WBR>ไป ก็<WBR>ขอ<WBR>ร้อง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>พระ<WBR>พล<WBR>รัตน์ วัด<WBR>ป่า<WBR>แก้ว ที่<WBR>สอน<WBR>คาถา<WBR>ปราบ<WBR>ศึก<WBR>ให้ สั่ง<WBR>ให้<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย<WBR>ทั้ง<WBR>ประเทศ โกน<WBR>คิ้ว<WBR>ทิ้ง<WBR>ให้<WBR>หมด เพื่อ<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>ไทย<WBR>รู้<WBR>ว่า พระ<WBR>พม่า หรือ<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย องค์<WBR>ไหน<WBR>ไม่<WBR>โกน<WBR>คิ้ว องค์<WBR>นั้น<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>หม่อง ขับ<WBR>ออก<WBR>ไป<WBR>จาก<WBR>เมือง<WBR>ไทย<WBR>ให้<WBR>หมด คน<WBR>ไทย<WBR>กำหนด<WBR>รู้ รู้<WBR>กัน<WBR>โกน<WBR>คิ้ว<WBR>ไม่<WBR>โกน<WBR>คิ้ว<WBR>นี่<WBR>เอง ฉัน<WBR>เห็น<WBR>ท่าน<WBR>มา<WBR>วัน<WBR>นี้ ท่าน<WBR>โกน<WBR>คิ้ว<WBR>จึง<WBR>รู้<WBR>ว่า ท่าน<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>ไทย

    พอ<WBR>เขา<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ได้<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>แล้ว ก็<WBR>จะห<WBR>วน<WBR>กลับ<WBR>มา ตี<WBR>เอา<WBR>เมือง<WBR>หง<WBR>สาว<WBR>ดี และ<WBR>ปริมณฑล เพื่อ<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>ฉัน<WBR>กลับ<WBR>ไป ท่าน<WBR>ขา พอ<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>มัน<WBR>สืบ<WBR>รู้<WBR>ว่า เหตุ<WBR>การณ์<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>นั้น มี<WBR>ฉัน<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>วาง<WBR>แผน ใน<WBR>ระยะ<WBR>นั้น ก็<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ไม่<WBR>สงบ<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น เพราะ<WBR>ตัว<WBR>พระ<WBR>คุณ<WBR>เจ้า<WBR>เอง วาง<WBR>แผน<WBR>ให้<WBR>เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง ผู้<WBR>ครอง<WBR>ความ<WBR>เป็น<WBR>ใหญ่ อัน<WBR>เจ้านันท<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นั้น มัน<WBR>มัก<WBR>มาก<WBR>ใน<WBR>กาม<WBR>คุณ มี<WBR>เมีย<WBR>มาก<WBR>นับ<WBR>ไม่<WBR>ถ้วน แต่<WBR>มี<WBR>คนห<WBR>นี่ง<WBR>ชื่อ สุวนัน<WBR>ทา เป็น<WBR>ภรรยา<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>สาม ชาว<WBR>ไทย<WBR>ใหญ่ เป็น<WBR>คน<WBR>สวย เจ้านันท<WBR>บุเ<WBR>รง ก็<WBR>หลงใ<WBR>หล<WBR>มัน<WBR>มาก มัน<WBR>อยาก<WBR>เป็น<WBR>ราชินี จึง<WBR>บังคับ<WBR>ให้<WBR>สามี วาง<WBR>แผน<WBR>แย่<WBR>งอำ<WBR>นาจ แย่ง<WBR>สมบัติ<WBR>จาก<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>บิดา มา<WBR>เป็น<WBR>ใหญ่<WBR>เสีย<WBR>เอง เจ้า<WBR>บุเ<WBR>รง<WBR>นอง<WBR>ผู้<WBR>บิดา จึง<WBR>ทรงต<WBR>รอม<WBR>พระทัย ใน<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ก็<WBR>ขาด<WBR>ใจ<WBR>ตาย<WBR>ดัง<WBR>กล่าว<WBR>แล้ว ให้<WBR>ทะเลาะ<WBR>กัน<WBR>กับ<WBR>เจ้ามัง<WBR>ไชย<WBR>สิงหะ<WBR>ราช ผู้<WBR>เป็น<WBR>ลูก<WBR>ชาย เลย<WBR>เกิด<WBR>โรค<WBR>หัว<WBR>ใจ<WBR>วาย<WBR>ตาย<WBR>ไป อย่าง<WBR>กระ<WBR>ทัน<WBR>หัน มัน<WBR>คือ<WBR>เจ้ามัง<WBR>ไชย<WBR>สิงหะ<WBR>ราช ผู้<WBR>เป็น<WBR>อุปราช<WBR>ขึ้น<WBR>ครอง<WBR>เมือง ชื่อ<WBR>เจ้านันท<WBR>บุเ<WBR>รง

    มัน<WBR>ได้<WBR>ครอง<WBR>ราชย์<WBR>เป็น<WBR>ใหญ่ และ<WBR>เป็น<WBR>ระยะ<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>เปลี่ยน<WBR>แผ่น<WBR>ดิน<WBR>ใหม่ ความ<WBR>วุ่น<WBR>วาย<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>ทั่ว<WBR>ไป กอปร<WBR>กับ<WBR>มา<WBR>รู้<WBR>ข่าว<WBR>ว่า กอง<WBR>ทัพ<WBR>ของ<WBR>ไทย ขึ้น<WBR>ไป<WBR>ประชิด<WBR>ที่<WBR>เมือง<WBR>อัง<WBR>วะ<WBR>ไว้<WBR>แล้ว ไอ้<WBR>เจ้ามัง<WBR>ไชย<WBR>สิงหะ<WBR>ราช (นันท<WBR>บุเ<WBR>รง) จึง<WBR>สั่ง<WBR>จับ<WBR>จำ<WBR>จอง<WBR>แม่<WBR>เลี้ยง<WBR>ของ<WBR>มัน คือ<WBR>ฉัน<WBR>เอง ให้<WBR>ลง<WBR>โทษ<WBR>ทัณฑ์<WBR>อย่าง<WBR>หนัก มัน<WBR>สั่ง<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>จับ<WBR>ฉัน มัด<WBR>มือ มัด<WBR>เท้า แล้ว<WBR>ลง<WBR>มือ<WBR>ชก ต่อย ตบ ตี เตะ ถีบ โบย<WBR>ด้วย<WBR>แส้<WBR>หวาย โบย<WBR>แล้ว<WBR>โบย<WBR>อีก แล้ว<WBR>ปล่อย<WBR>ให้<WBR>ฉัน<WBR>อด<WBR>ข้าว อด<WBR>น้ำ ให้<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ความ<WBR>ทุกข์<WBR>ทรมาน<WBR>อย่าง<WBR>แสน<WBR>สาหัส (มัน<WBR>เลว<WBR>ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>หมา เพราะ<WBR>ธรรม<WBR>ดา<WBR>แล้ว หมา<WBR>ตัว<WBR>ผู้<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>กัด<WBR>หมา<WBR>ตัว<WBR>เมีย อัน<WBR>คน<WBR>จำพวก<WBR>ที่<WBR>ชอบ<WBR>รัง<WBR>แก<WBR>หญิง เอา<WBR>เปรียบ<WBR>ผู้<WBR>หญิง ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>เพศ<WBR>ตัว<WBR>เมีย<WBR>นั้น จึง<WBR>เป็น<WBR>บุคคล จำพวก<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>สันดาน<WBR>เลว ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>หมา<WBR>เสีย<WBR>อีก)


    ท่าน<WBR>ขา เมื่อ<WBR>มัน<WBR>เห็น<WBR>ว่า<WBR>ฉัน อ่อน<WBR>เปลี้ย<WBR>เพลีย<WBR>แรง<WBR>แล้ว มัน<WBR>ก็<WBR>ฟัน<WBR>ฉัน<WBR>ด้วย<WBR>ดาบ<WBR>เล่ม<WBR>นี้ (และ<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เอา<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>ด้วย<WBR>นะ) แล้ว<WBR>ฉัน<WBR>ก็<WBR>ตาย<WBR>ไป พร้อม<WBR>กับ<WBR>ลูก อยู่<WBR>ใน<WBR>ท้อง<WBR>แปด<WBR>เดือน แล้ว<WBR>มัน<WBR>ก็<WBR>ให้<WBR>หมอ<WBR>ผี มา<WBR>ทำ<WBR>พิธี<WBR>ทาง<WBR>ไสย<WBR>ศาสตร์ ด้วย<WBR>การ<WBR>ผูก<WBR>รัด<WBR>รึง ตรึง<WBR>ฉัน<WBR>ด้วย<WBR>ไม้<WBR>กางเขน ตรา<WBR>กระสัง ให้<WBR>วิญญาณ<WBR>ของ<WBR>ฉัน ไป<WBR>ไหน<WBR>มา<WBR>ไหน<WBR>ไม่<WBR>ได้ ต้อง<WBR>วน<WBR>เวียน<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ละแวก<WBR>นี้<WBR>เท่า<WBR>นั้น ฉัน<WBR>ขอ<WBR>ขอบใจ<WBR>ท่าน<WBR>มาก ที่<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>มา<WBR>ช่วย แก้<WBR>เครื่อง<WBR>พันธนาการ<WBR>ออก<WBR>ให้<WBR>ฉัน

    อัน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>เอง ก็<WBR>เป็น<WBR>วิบาก<WBR>กรรม ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า ต้อง<WBR>ไป<WBR>รับ<WBR>รู้<WBR>รับ<WBR>เห็น เรื่อง<WBR>ของ<WBR>เจ้า<WBR>หญิง<WBR>ทุก<WBR>อย่าง และ<WBR>ท่าน<WBR>กล่าว<WBR>ว่า ใน<WBR>กาล<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ข้าง<WBR>หน้า ฉัน<WBR>ตั้ง<WBR>ปณิธาน<WBR>ไว้<WBR>ว่า (ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>อุบัติ<WBR>บัง<WBR>เกิด ช่วย<WBR>บ้าน<WBR>เมือง<WBR>ใน<WBR>สตรี<WBR>เพศ เมื่อ<WBR>บ้าน<WBR>เมือง<WBR>เดือด<WBR>ร้อน แต่<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>อุบัติ ใน<WBR>สกุล<WBR>สุขุมาลย์<WBR>ชาติ ใน<WBR>วงศ์<WBR>สกุล<WBR>กษัตริย์<WBR>ไทย และ<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>เยื่อ<WBR>ใย<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>มี<WBR>คู่<WBR>ครอง) ฉัน<WBR>จะ<WBR>สร้าง<WBR>บารมี<WBR>ทำ<WBR>แต่<WBR>ความ<WBR>ดี ให้<WBR>นั่ง<WBR>อยู่<WBR>บน<WBR>หัว<WBR>ใจ ของ<WBR>คน<WBR>ไทย<WBR>ทั้ง<WBR>ประเทศ เพื่อ<WBR>แก้<WBR>ลำ<WBR>ที่<WBR>คน<WBR>ไทย<WBR>ลืม<WBR>ฉัน โดย<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>ใย<WBR>ดี กับ<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>อภิเษก<WBR>สมรส<WBR>เลย เพราะ<WBR>ฉัน<WBR>เข็ด<WBR>แล้ว<WBR>เข็ด<WBR>อีก เรื่อง<WBR>ผู้<WBR>ชาย แต่<WBR>นี่<WBR>ฉัน<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>อิสระ<WBR>แล้ว เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>กลับ<WBR>ไป<WBR>เมือง<WBR>ไทย ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>ด้วย ฉัน<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>งาน<WBR>ท่าน ท่าน<WBR>มี<WBR>ธุรกิจ<WBR>อะไร<WBR>เพื่อ<WBR>สังคม เพื่อ<WBR>ส่วน<WBR>รวม เพื่อ<WBR>ชาติ ศา<WBR>สน<WBR>กษัตริย์<WBR>แล้ว บอก<WBR>ฉัน และ<WBR>ฉัน<WBR>ขอ<WBR>ฝาก<WBR>รูป<WBR>ลักษณ์<WBR>ของ<WBR>ฉัน ที่<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ห้วง<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>ทรง<WBR>จำ<WBR>ของ<WBR>ท่าน ออก<WBR>เผย<WBR>แพร่<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>อื่นๆ ที่<WBR>อยาก<WBR>รู้<WBR>อยาก<WBR>เห็น<WBR>ฉัน ให้<WBR>เป็น<WBR>แบบ<WBR>รูป<WBR>ธรรม<WBR>ขึ้น<WBR>มา ให้<WBR>เขา<WBR>ได้<WBR>เห็น<WBR>ฉัน<WBR>ด้วย </DD>
     

แชร์หน้านี้

Loading...