พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    วันที่ 06 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3955 (3155)​

    ครั้งหนึ่งในชีวิต กับ มหากษัตริย์นักเรือใบ


    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#f8b8cb><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>ถ้าจะถามถึงความปลาบปลื้มใจของคนคนหนึ่งที่มีที่สุดในชีวิตของคนคืออะไร ?

    คำตอบที่ตรงกันหลายคน นั่นคือ การได้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท ได้เข้าเฝ้าฯพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แม้สักเพียงนิดก็ยังดี

    หากยังมีอีกบุคคลหนึ่งที่เคยได้ถวายงานใกล้ชิดหลายต่อหลายครั้ง ไม่ใช่ในฐานะราชองครักษ์ ไม่ใช่ในฐานะทหารรักษาพระองค์ หรือผู้ที่ต้องปฏิบัติงานตามพระราชกรณียกิจใดๆ ทั้งปวง

    หากเป็นการถวายงานในฐานะ "กรรมการตัดสิน" ในการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ครั้งที่ 13 ที่มีพระมหากษัตริย์ไทยเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย และกรรมการตัดสินในอีกหลายๆ รายการที่พระองค์ลงแข่งขัน

    เป็นความประทับใจที่ไม่มีวันลืมของ "พล.ร.ต.กระหยิ่ม พิชัยกุล" อดีตเจ้ากรมจเรทหารเรือ อุปนายกสมาคมเรือใบ และประธานคณะกรรมการเตรียมนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทยชุดกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 24 นี้

    "...ทุกครั้งที่แข่งขันเรือใบ พระองค์ตรัสเสมอว่า อย่าคิดว่าพระองค์เป็นกษัตริย์ ให้มองว่าเป็นนักกีฬาเหมือนกับคนอื่น และพระองค์ก็ทรงปฏิบัติเหมือนกับนักกีฬาอื่นๆ เช่นกัน"

    ความเท่าเทียมนี้ พระองค์ทรงแสดงให้เห็นด้วยการปฏิบัติตามกฎกติกามารยาทอย่างเคร่งครัด โดยไม่ถือพระองค์

    "ครั้งหนึ่งทรงแข่งเรือใบแล้วไปชนกับเรืออื่น ซึ่งตามธรรมเนียมผู้ผิดจะต้องเสียเงินค่าปรับ พระองค์ก็ทรงเสียเงินค่าปรับให้ ทางฝ่ายผู้จัดจะไม่รับ พระองค์ก็ไม่ทรงยอม ทรงรับสั่งให้รับค่าปรับนั้นให้ได้"

    และอีกครั้ง...

    "เมื่อก่อนเวลาพระองค์จะลงสนามจะต้องมีการเป่านกหวีดถวายความเคารพ เป่าจนเข้าพระทัยผิดว่า เป็นสัญญาณออกสตาร์ต จึงรับสั่งห้ามเป่านกหวีดถวายความเคารพอีก"

    ด้วยการถวายงานบ่อยครั้ง พล.ร.ต.กระหยิ่มไม่เคยรู้เลยว่า พระองค์จะทรงจำตัวเองได้ กระทั่งวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำเรือใบออก และรับสั่งถามว่า...กระหยิ่มไปไหน...

    เพียงแค่นี้ นายทหารกระหยิ่มที่กำลังปฏิบัติราชการอยู่ที่จังหวัดตราด ก็ถูกเรียกตัวกลับด่วน โดยมีเฮลิคอปเตอร์ไปรับถึงที่ หนำซ้ำยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้นั่งร่วมโต๊ะเสวย นั่งใกล้ชิดติดกับพระองค์เลย เป็นความปลาบปลื้มที่ไม่เคยลืม

    "ตอนเดินเข้าไปพระองค์ตรัสว่า มาแล้วหรือ แล้วก็เรียกให้เข้าไปใกล้ๆ ก็คิดว่าแค่ได้ไปรับพระราชทานอาหารที่โต๊ะข้างๆ แค่นี้ก็ปลาบปลื้มแล้ว แต่ไม่ใช่ พระองค์มีพระบรมราชานุญาตให้ไปนั่งเก้าอี้ข้างๆ เลย ปลาบปลื้มมากๆ วันนั้นรับประทานอาหารไม่รู้รสชาติเลย เพราะทั้งปลื้ม ทั้งเกร็ง"

    จากการถวายงานหลายครั้ง ทำให้ได้ทราบว่า เรือใบเป็นกีฬาที่พระองค์อยากให้ก้าวหน้า เป็นกีฬาที่คนไทยเล่นกันได้มากๆ เพราะเรือใบเป็นกีฬาเพื่อสุขภาพ ได้สัมผัสกับธรรมชาติ สัมผัสกับท้องทะเล ได้อยู่กับอากาศบริสุทธิ์ และยังต้องใช้สมาธิสูง

    และนี่อาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พระองค์ทรงออกแบบและสร้างเรือใบที่เหมาะกับรูปลักษณะกับคนไทยอย่างเรือใบในตระกูล "มด" ขึ้นด้วยพระองค์เอง ทั้งเรือใบมด, ซูเปอร์มด และไมโครมด โดยเฉพาะเรือ ซูเปอร์มด พระองค์ได้แจ้งจดลิขสิทธิ์แบบไว้ที่อังกฤษ ก่อนพระราชทานแบบพิมพ์เขียวต่อเรือให้กรมอู่ทหารเรือเก็บรักษา และซ่อมสร้าง เพราะทรงต้องการให้เรือใบ ซูเปอร์มดเป็นของคนไทยเท่านั้น อีกทั้งยังทรงตั้งสโมสรเรือใบส่วนพระองค์ และสโมสรอื่นๆ ในพระบรมราชูปถัมภ์อีกมาก

    และในซีเกมส์ครั้งที่ 24 นี้ เรือใบซูเปอร์มดได้ถูกบรรจุลงในรายการแข่งขันด้วย โดยทางสมาคมเรือใบได้รับงบประมาณ 10 ล้านบาทจาก ปตท.สผ. มาเพื่อซ่อมและสร้างเรือใบ ซูเปอร์มด และได้ทดลองลงสนามไปแล้วในการแข่งขันเรือใบ "หัวหินรีกัตต้า 2007" มาแล้ว

    "สมาคมเรือใบได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 10 ล้านบาท สำหรับจัดการแข่งขันเรือใบในซีเกมส์ แต่เมื่อเทียบกับคู่แข่งสำคัญอย่างสิงคโปร์ ที่ประเทศเขาให้การสนับสนุนมากถึง 80 ล้านบาท ต้องยอมรับว่านักกีฬาของเรากดดันมาก โดยเฉพาะเรือใบซูเปอร์มด เพราะต้องเอาชนะให้ได้ เพราะปีนี้เป็นปีเฉลิมฉลอง 80 ปี ในหลวง"

    แต่อย่างไรก็ตาม ในฐานะประธานคณะกรรมการ พลเรือตรีกระหยิ่มยังแอบหวังไว้ลึกๆ ว่า นักกีฬาไทยเราน่าที่จะมีโอกาสคว้าเหรียญทองมาครองได้ 6 ใน 11 เหรียญ

    และถ้าไม่ไกลเกินฝัน หากไทยได้ครองความเป็นเจ้าทะเลซีเกมส์คว้าเหรียญทองมาครองได้ดังใจประสงค์

    ครั้งนี้จะเป็นเสมือนอีกวันหนึ่งที่พลเรือตรีกระหยิ่ม พิชัยกุล ได้ถวายงานต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์นักเรือใบ !!

    http://matichon.co.th/prachachat/pr...g=02spo01061250&day=2007-12-06&sectionid=0219
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://hilight.kapook.com/view/18109

    เงินชดเชยว่างงาน ประกันสังคม ...ไม่ได้ง่ายๆ




    <CENTER>ประกันสังคม ฉาวอีก ข่าว ระบุ เงินชดเชยว่างงานไม่ได้ง่ายๆ หลังโดนร้องเรียนเรื่อง เงินชดเชยว่างงาน เป็นจำนวนมาก อะๆ หลายคนอาจสงสัยว่า เงินชดเชยว่างงาน จาก สำนักงานประกันสังคม หรือ ประกันสังคม คืออะไร วันนี้เราจึงเอาหลักเกณฑ์ผู้มีสิทธิรับเงินทดแทนกรณีว่างงานของ ประกันสังคม (สปส.)มาฝากกันค่ะ
    [​IMG]

    ผมได้ลาออกจากบริษัทเดิม ในลักษณะเออลี่รีไทร์ (โดยได้เงินชดเชยบางส่วนจากบริษัท) แต่ถ้าหากว่า ตั้งแต่วันที่ผมลาออกจากบริษัทเดิม จนบัดนี้ผมยังหางานทำไม่ได้ สมมติว่า ​

    ว่างงานมาแล้ว 4 เดือน ผมสามารถไปขอเงินชดเชยจากสำนักงานประกันสังคมได้หรือไม่ครับ

    กรณีว่างงานที่ประกันสังคมบอกว่า คนที่ลาออกจากงาน ที่ยังว่างงานจะได้เงินชดเชย 30% ของเงินเดือน ตลอด 3 เดือนหรือไม่ และในลักษณะนี้ ผมว่างงานมา 4 เดือน ผมสามารถไปขอเงินชดเชยย้อนหลังได้หรือไม่ครับ

    ขอความกระจ่างด้วย ขอบคุณครับ ​

    หลานป้าแจ่ม ​

    ตอบ ​

    หลังจากที่ลาออกจากงาน คุณต้องรีบไปขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ว่างงาน ตามหลักเกณฑ์จะได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้าง (คำนวณจากฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 1.5 หมื่นบาท) ปีละไม่เกิน 90 วัน

    ถ้าเกินกว่า 30 วัน (ไม่เกิน 90 วัน) ยังไม่ไปขึ้นทะเบียน ก็ยังสามารถไปขึ้นทะเบียนว่างงานได้ แต่จะไม่ได้รับเงินทดแทนตามเงื่อนไข หรือเต็มจำนวนในอัตราร้อย 30 อาจจะได้รับลดหลั่นลงไปตามจำนวนวันที่มาขึ้นทะเบียน ​

    เจ้าหน้าที่ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานประกันสังคม (สปส.) ชี้แจงว่า กรณีที่คุณว่างงานมาแล้ว 4 เดือน ไม่สามารถขอรับเงินชดเชยย้อนหลังได้ เพราะเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ 30 วัน แต่ยังสามารถขึ้นทะเบียนว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐได้ ในกรณีที่ยังต้องการหางานทำ ​

    หลักเกณฑ์ผู้มีสิทธิรับเงินทดแทนกรณีว่างงาน คือ ต้องเป็นผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีว่างงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน

    [​IMG] เงื่อนไขการเกิดสิทธิ

    1. ต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ว่างงาน โดยไม่ต้องรอหนังสือรับรองการออกจากงาน เพื่อเป็นการแสดงสิทธิในเบื้องต้น

    2. มีความสามารถในการทำงาน และพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดหาให้

    3. ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน

    4. ต้องรายงานต่อเจ้าหน้าที่สำนักจัดหางาน ไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง

    5. ผู้ที่ว่างงานต้องไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกรณีทุจริตต่อหน้าที่, กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง, จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย, ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายในกรณีร้ายแรง, ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร, ประมาทเลินล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง และได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา

    6. ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ

    7. มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนเริ่มตั้งแต่วันที่ 8 นับแต่วันว่างงานจากการทำงานกับนายจ้างรายสุดท้าย

    8. ไม่เป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจตามมาตรา 39

    [​IMG] สิทธิที่จะได้รับประโยชน์ทดแทนแบ่งเป็น 2 กรณี คือ

    1. กรณีถูกเลิกจ้าง จะได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง โดยคำนวณจากฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 1.5 หมื่นบาท และ ​

    2. กรณีสมัครใจลาออก จะได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้าง โดยคำนวณจากฐานเงินสมทบสูงสุดไม่เกิน 1.5 หมื่นบาท ​

    หากใน 1 ปีปฏิทินมีการยื่นขอรับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานเกินกว่า 1 ครั้ง ให้นับระยะเวลาการรับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานรวมกันไม่เกิน 180 วัน

    เงินทดแทนการขาดรายได้จะจ่ายเป็นงวดเดือน โดยโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารตามที่ผู้ประกันตนแจ้ง ​

    ลุงแจ่ม ​


    ข่าวที่เกี่ยวข้อง
    - โดนวิจารณ์หนัก! บอร์ด ประกันสังคม ถลุงเงิน กองทุน เที่ยว
    - ธปท.หวั่นภาระเงินกองทุนสปส. ในอนาคตจะมีปัญหา
    - โรงพยาบาลที่คาดว่าจะไม่ต่อสัญญา กับสำนักงานประกันสังคม
    - บอร์ดประกันสังคม ขนเงิน1.36หมื่นล้าน ลงทุนนอกหากำไร
    - เงินประกันสังคม ที่จ่ายแต่ละเดือน หายไปไหนหว่า?
    - ทำฟัน-คลอดบุตร ประกันสังคมใหม่ไม่ฟรีแต่เพิ่มวงเงิน
    - 112 โรงพยาบาล ชิ่งหนีประกันสังคม
    - เงินล้นกองทุน "ประกันสังคม " แต่ทำไมคนจ่ายได้สิทธิต่ำ?




    ข้อมูลจาก
    [​IMG]
    คอลัมน์ : เปิดซองส่องไทย
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต ​

    </CENTER>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://matichon.co.th/prachachat/pr...g=02edi02061250&day=2007-12-06&sectionid=0212


    วันที่ 06 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3955 (3155)​

    ยึดพระบรมราโชวาท "สุจริต-เมตตา-สามัคคี"


    บทบรรณาธิการ

    นับเป็นโชคดีของพสกนิกรชาวไทยที่ไม่ว่าประเทศจะ ตกอยู่ภายใต้สถานการณ์แบบไหน แต่สิ่งที่จะนำมาใช้เป็นหลักคิด เป็นเสมือนแสงส่องนำทางให้ประเทศชาติและประชาชนก้าวเดินไปอย่างมั่นคง ไม่หลงทิศ ผิดทาง ในแต่ละช่วงเวลา ก็คือการน้อมนำกระแสพระราชดำรัส หรือพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นเข็มทิศ เป็นหลักชัยในวาระและโอกาสต่างๆ กัน

    ภายหลังทรงตรวจพลสวนสนามเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2550 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราโชวาทแก่ทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ ใจความสำคัญพอสรุปได้ดังนี้ คือ ประการที่ 1 การที่เรารักษาเอกราชและผืนแผ่นดินไทยมาได้เพราะ ทุกคนมีสำนึกตระหนักในความเป็นไทย คนไทยมีจิตใจผูกพัน ปรองดองอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่แยกพวก แยกเหล่า สามัคคีพร้อมเพรียงกันเสมอ

    ประการที่ 2 ในขณะนี้สถานการณ์บ้านเมืองเป็นที่ทราบแก่ใจของทุกคน รู้สึกไม่น่าไว้วางใจ หากคนไทยขาดสำนึกในชาติ ขาดความสามัคคี ก็อาจประสบเคราะห์กรรมกันทั้งชาติ และประการที่ 3 หากเห็นความสำคัญในการรักษาชาติไทยให้ยั่งยืนต่อไป คนไทยต้องรวมกายใจให้ตั้งมั่นอยู่ในความสัตย์สุจริต พยายามลดอคติ และเสริมสร้างความเมตตา สามัคคีในกันและกัน ไม่ว่าจะทำการสิ่งใด ให้ยึดเอาความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นที่หมายสูงสุด

    หากประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าจะน้อมนำเอา พระบรมราโชวาทดังกล่าวมายึดถือปฏิบัติ สาระสำคัญหรือจุดหลักก็มิได้ยุ่งยากหรือซับซ้อนแต่อย่างใด นั่นคือหากคนไทยเราทุกวันนี้ตระหนักถึงสถานการณ์ของประเทศแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องถามกลับมายังตัวเองว่า การประพฤติ ปฏิบัติในหน้าที่การงานและกิจการต่างๆ ในขณะนี้ ดำเนินไปด้วยความ "สุจริต" เต็มที่แล้วหรือไม่ นอกจากนี้ในการอยู่ร่วมกันยังมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันหรือเปล่า มีหลักปฏิบัติต่อกันโดยใช้ "เมตตา" พร้อมกับความร่วมมือร่วมใจ "สามัคคี" กันแก้ไขปัญหาของชาติอย่างเต็มที่ เต็มกำลังแล้วหรือเปล่า

    เพราะถึงที่สุดแล้ว หากจะพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น ในสังคมไทยปัจจุบัน ซึ่งลุกลามจนกลายเป็นสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนและน่าเป็นห่วงนั้น ด้านหนึ่งก็คือการไม่ประพฤติ ปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต อันนำมาซึ่งปัญหาทั้งในทางสังคม การเมือง ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจ เกิดการคอร์รัปชั่น เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน เห็นแก่ประโยชน์เฉพาะกลุ่มพวกพ้อง กระทั่งกลายเป็นความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แบ่งแยก แตกขั้ว จนยากแก่การประสานร่วมกันเช่นในปัจจุบันนี้

    นอกจากนั้นเมื่อเกิดแตกแยก แบ่งฝ่าย ก็นำไปสู่ความคิดที่มุ่งจะเอาชนะ สร้างความได้เปรียบเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง พร้อมที่จะกระทำทุกวิถีทางเพื่อมุ่งทำร้าย ทำลายฝ่ายตรงข้าม โดยปราศจากความเมตตา ไม่เห็นอกเห็นใจ ไม่ลดทิฐิ หรืออคติที่มีต่อกัน ต่างฝ่ายต่างคิดถึงแต่ฝ่ายตน จนลืมนึกถึงความมั่นคง เข้มแข็งของประเทศชาติส่วนรวม

    ในท่ามกลางสถานการณ์ที่ดำเนินมาสู่จุดที่ท้าทาย สำหรับประเทศไทยในวันนี้ ถึงที่สุดแล้วหากจะมองย้อนกลับไป ประชาชนคนไทยจะได้พบว่า แนวทางอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักคิดที่ได้จากพระบรมราโชวาทในวาระโอกาสต่างๆ นั้น ทรงย้ำให้ถึงประเด็น "ความสุจริต มีเมตตา และความสามัคคี" ของคนในชาติเป็นหลัก ขอเพียงทบทวนความคิด ตรวจสอบการกระทำให้ชัดเจนว่า ทุกคน ทุกกลุ่มพร้อมใจกันยึดมั่นอยู่กับการกระทำตามหน้าที่ การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ตามหลักทั้ง 3 ประการดังกล่าวแล้ว ไม่ว่าสถานการณ์จะวิกฤตรุนแรงเพียงใด ประเทศไทยก็สามารถก้าวผ่านมาได้ทุกครั้ง
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    โรคหน้าหนาว www.khaosod.co.th

    http://www.matichon.co.th/khaosod/v...ionid=TURNd013PT0=&day=TWpBd055MHhNaTB3Tmc9PQ
    คอลัมน์ คอลัมน์ที13

    ย่างเข้าฤดูหนาว ที่ปีนี้มีช่วงเวลาของอุณหภูมิที่ต่ำลงยาวนานกว่าปกติ ผลมาจากภาวะโลกร้อน ทำให้อากาศแปรปรวน

    หลายพื้นที่น่าเป็นห่วง เพราะไม่ใช่แต่ปัญหาจากอุณหภูมิเท่านั้น หน้าหนาวยังนำโรคหลายประการติดมาด้วย

    จากข้อมูลของประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง การป้องกันโรคที่เกิดในฤดูหนาว ระบุว่า อากาศที่เปลี่ยนแปลงนั้น หากร่างกายปรับตัวไม่ทันอาจทำให้เกิดโรคต่างๆ ขึ้นได้

    โรคที่เกิดในฤดูหนาว มักจะเกิดกับเด็กและผู้สูงอายุเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม หัดเยอรมัน สุกใส และอุจจาระร่วง

    ไข้หวัดและโรคไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส ติดต่อได้ง่ายโดยการหายใจ และเชื้อจะอยู่ในน้ำมูก น้ำลาย จึงติดต่อได้โดยการสัมผัส แพร่กระจายในสถานที่ที่มีคนอยู่รวมกันจำนวนมาก และอากาศไม่ถ่ายเท เช่น โรงหนัง ห้างสรรพสินค้า

    อาการจะเริ่มต้นด้วยการมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย น้ำมูกไหล ไอ จาม เจ็บหรือแสบคอ บางคนอาจหนาวสั่น ไข้หวัดใหญ่จะมีอาการรุนแรงกว่า คือ ตัวร้อนจัด หนาวสั่น ปวดศีรษะมาก ปวดกระดูก มักคลื่นไส้ด้วย ควรระวังโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม หลอดลมอักเสบ คออักเสบ

    ในเด็กเล็ก และผู้สูงอายุ จะมีความเสี่ยงมากกว่าช่วงวัยอื่น

    และที่สำคัญหากอยู่ในพื้นที่ที่เลี้ยงสัตว์ปีก และป่วยหลังจากมีสัตว์ตายอย่างผิดปกติ ต้องระวังเรื่องของไข้หวัดนก ควรพบแพทย์และแจ้งปศุสัตว์ทันที

    โรคปอดบวมเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด หรืออาจเกิดจากการติดเชื้อโดยตรง ติดต่อได้จากการหายใจ และน้ำมูกน้ำลาย จึงสามารถติดต่อได้จากการใช้ของร่วมกัน มีระยะการฟักตัวของโรค 1-3 วัน

    ปอดบวม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของกลุ่มโรคติดเชื้อในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โดยเฉพาะเด็กแรกเกิด น้ำหนักตัวน้อย เด็กในวัยขวบแรก เด็กขาดสารอาหาร เด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด ส่วนใหญ่ปอดบวมจะเกิดหลังจากโรคหวัดประมาณ 2-3 วัน หากเกิดในเด็กเล็กให้ระวังอาการช็อก

    โรคหัดเกิดจากเชื้อไวรัสหัด พบบ่อยในเด็กอายุระหว่าง 1-6 ปี ติดต่อได้ง่ายเพียงการไอจามรดกัน หรือหายใจเอาละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย ของผู้ป่วย ระบาดในช่วงฤดูหนาวต่อกับฤดูร้อน

    จะมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง จะรุนแรงมากขึ้น และผื่นจะขึ้นประมาณวันที่ 4 ไข้จะลดเมื่อผื่นกระจายทั่วตัว ระหว่างนั้นอาจเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดอักเสบ อุจจาระร่วง ช่องหูอักเสบ สมองอักเสบ และภาวะทุพโภชนาการ โดยเฉพาะเด็กที่ขาดวิตามินเอ เมื่อเป็นหัดจะมีความรุนแรงมาก

    หากมีปอดอักเสบร่วมด้วยอาจทำให้เสียชีวิตได้

    หัดเยอรมัน เกิดจากเชื้อไวรัส ทำให้เกิดอาการไข้ มีผื่นคล้ายหัด แต่บางรายก็ไม่มี ในเด็กเล็กจะมีอาการเพียงเล็กน้อย แต่ในผู้ใหญ่จะมีอาการประมาณ 1-5 วัน ติดต่อได้จากการหายใจ หากอยู่ในระหว่างตั้งครรภ์ต้องระวังเป็นพิเศษ

    โรคสุกใสมักเกิดในเด็ก อาการเริ่มด้วยมีไข้ต่ำๆ เหมือนไข้หวัด หัด ไข้หวัดใหญ่ แล้วจะมีผื่นแดง ตุ่มนูน และเปลี่ยนเป็นตุ่มพองใสในวันที่ 2-3 นับแต่เริ่มมีไข้ หลังจากนั้นจะเป็นหนอง เริ่มแห้งตกสะเก็ด ในช่วง 5-20 วัน ผื่นอาจขึ้นในคอ ตา และปาก โดยทั่วไปจะไม่เกิดโรคแทรกซ้อน

    โรคอุจจาระร่วงมักเกิดในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ติดต่อจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่มีเชื้อปนเปื้อนเข้าไป ติดต่อทางน้ำลาย น้ำมูกได้

    ถ่ายเป็นน้ำหรือถ่ายเหลวบ่อยครั้ง โดยทั่วไปอาการไม่รุนแรง แต่บางคนอาจขาดน้ำรุนแรงจนต้องเข้าโรงพยาบาล

    ดูแลร่างกายให้อบอุ่น เลือกรับประทานอาหารปรุงสุก ร้อน น้ำสะอาด

    สามารถจะช่วยได้ในระดับหนึ่ง
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระปฐมเจดีย์

    วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    (เปลี่ยนทางมาจาก พระปฐมเจดีย์)
    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    <TABLE style="BORDER-RIGHT: #ccd2d9 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.5em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0.5em; BACKGROUND: #f9f9f9; PADDING-BOTTOM: 0.5em; BORDER-LEFT: #ccd2d9 1px solid; WIDTH: 270px; PADDING-TOP: 0.5em; BORDER-BOTTOM: #ccd2d9 1px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 135%; BACKGROUND: #ffc800; PADDING-BOTTOM: 0.5em; LINE-HEIGHT: 1.1em">วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; VERTICAL-ALIGN: middle; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%">องค์พระปฐมเจดีย์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800">ข้อมูลทั่วไป</TD></TR><TR><TD><TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ชื่อสามัญ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">วัดพระปฐมเจดีย์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ประเภท</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ ชนิดราชวรมหาวิหาร</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">นิกาย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เถรวาท</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ความพิเศษ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระประธาน</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระศิลาขาว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" noWrap>พระพุทธรูปสำคัญ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระร่วงโรจนฤทธิ์ พระพุทธนรเชษฐ์</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" noWrap width=108>ที่ตั้ง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em">ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">รถประจำทาง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">บขส: กรุงเทพ - นครปฐม</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">รถไฟ/รถไฟฟ้า</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">สถานีรถไฟนครปฐม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- start content -->
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระปฐมเจดีย์

    วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ ชนิดราชวรมหาวิหาร

    [แก้] พระปฐมเจดีย์

    องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นปูชนียสถานอันสำคัญของประเทศไทย อยู่ภายในวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผ่นดินสุวรรณภูมิ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า
    องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ใหญ่ รูประฆังคว่ำ ปากผายมหึมา โครงสร้างเป็นไม้ซุง รัดด้วยโซ่เส้นมหึมาก่ออิฐ ถือปูน ประดับด้วยกระเบื้องปูทับ ประกอบด้วยวิหาร 4 ทิศ กำแพงแก้ว 2 ชั้น เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า เป็นที่เคารพ สักการะบูชาของบรรดาพุทธศาสนิกชนทั่วโลก ทางวัดกำหนดให้มีงานเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 12 ถึง วันแรม 5 ค่ำ เดือน 12 รวม 9 วัน 9 คืน เป็น ประจำทุกปี

    [แก้] ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์

    [​IMG] [​IMG]
    องค์พระปฐมเจดีย์ในสมัยรัชกาลที่ 5


    พระปฐมเจดีย์ หรือเดิมเรียกว่า พระธมเจดีย์ มีฐานะเป็นมหาธาตุหลวง ของแผ่นดินสุวรรณภูมิ ทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า พระธมเจดีย์องค์นี้ อาจเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้น เมื่อคราวที่พระสมณทูต ในพระเจ้าอโศกมหาราช เดินทางมาเผยแผ่ศาสนายังสุวรรณภูมิ ก็เป็นได้ เพราะพระเจดีย์เดิม มีลักษณะทรงโอคว่ำ หรือทรงมะนาวผ่าซีก แบบเดียวกับพระสถูปสาญจี แต่ปรากฏว่ามียอดเป็นแบบปรางค์ ซึ่งพระองค์ฯ ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า อาจมีเจ้านายพระองค์ใดมาบูรณะไว้ก็เป็นได้ ซึ่งตรงกับความในศิลาจารึกหลักที่ 2 (ศิลาจารึกวัดศรีชุม) ของ พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ อันได้กล่าวไว้ว่า พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ท่านทรงได้แวะมาบูรณะพระธมเจดีย์องค์นี้ ก่อนที่ท่านจะเดินทางกลับเมืองราด เมื่อคราวที่ท่านเสด็จกลับจากศึกษาพระพุทธศาสนาที่ลังกา ทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระราชทานนามใหม่ว่า พระปฐมเจดีย์ ด้วยทรงเชื่อ ว่านี่คือเจดีย์แห่งแรกของสุวรรณภูมิ นั่นเอง
    ในเรื่องนี้ นักประวัติศาสตร์ และนักโบราณคดีบางท่าน ได้ระบุว่า พระปฐมเจดีย์ไม่ได้เป็นเจดีย์ที่เก่าที่สุดของสุวรรณภูมิ แต่เป็น พระมหาธาตุหลวง ในยุคทวารวดี มากกว่า เนื่องด้วยเหตุผลประกอบหลายประการ โดยเฉพาะ การค้นพบเจดีย์ ที่มีอายุเก่าแก่กว่าพระธมเจดีย์ และหลักฐานลายลักษณ์อักษร ที่ระบุว่า " พระเจดีย์องค์นี้ เดิม ขอมเรียก พระธม " ซึ่งไม่ว่าจะเป็นชาวขอมจริงๆ หรือชาวลวรัฐ ซึ่งสมัยนั้นเราก็เรียกว่าขอม เช่น ขอมสบาดโขลญลำพง คำว่า ธม สำหรับชาวขอมนั้น แปลว่า ใหญ่ ตรงกับคำเมืองว่า หลวง ซึ่งเราก็เรียกพระนครธม ว่า พระนครหลวง ด้วยเหตุผลเดียวกัน
    นอกจากนี้พระบรมราชสรีรางคาร รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว บรรจุที่ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม และฐานพระพุทธชินสีห์ วัดบวรนิเวศวิหาร ตามที่มีพระบรมราชโองการสั่งไว้ในพระราชพินัยกรรม ต่อมา ในพุทธศักราช 2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระอังคารของ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในรัชกาลที่ 6 ไปบรรจุไว้เคียงข้างพระบรมราชสรีรางคารรัชกาลที่ 6 ที่ใต้ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระปฐมเจดีย์

    [แก้] พระร่วงโรจนฤทธิ์

    ปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระยุพราช เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือได้ทอดพระเนตร พระพุทธรูปโบราณเป็นอันมาก แต่มีพระพุทธรูปองค์หนึ่งที่เมืองศรีสัชนาลัย (จังหวัดสุโขทัย) กอปรด้วยพระลักษณะงามเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย แต่ชำรุดมากเหลืออยู่แต่พระเศียร พระหัตถ์และพระบาท จึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญลงมากรุงเทพฯ แล้วให้ช่างปั้นสถาปนาขึ้นมาบริบูรณ์เต็มพระองค์ และโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีเททองหล่อขึ้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2456วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามกรุงเทพมหานคร
    พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นที่เคารพบูชาของ พุทธศาสนิกชนชาวไทยทั่วไป ชื่อเต็มก็คือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรโมภาส มหาวชิราวุธ ตามประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2566 แต่ประชาชนทั่วไป จะเรียกว่า หลวงพ่อพระร่วง หรือ พระร่วงโรจนฤทธิ์
    พระร่วงโรจนฤทธิ์ มีขนาดความสูงวัดจากพระบาทถึงพระเกศ 7.42 เมตร หรือราว 12 ศอก 4 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะแบบสุโขทัย ประทับยืนอยู่บนฐาน โลหะทองเหลืองลายบัวคว่ำบัวหงาย ทำวงพระพักตร์ตามยาว พระหนุเสี้ยมนิ้วพระหัตถ์ และพระบาทไม่เสมอกัน ห้อยพระหัตถ์ซ้ายลงข้างพระวรกาย แบฝ่าพระหัตถ์ขวายกตั้งขึ้น ยื่นออกไปข้างหน้าระดับพระอุระ เป็นกิริยาห้าม มีพระอุทรพลุ้ยออกมา ห่มจีวรบางคลุม แนบติดพระวรกาย บ่ายพระพักตร์สู่ทิศเหนือ ทำด้วยโลหะทองเหลือง หนัก 100 หาบ
    การอัญเชิญพระร่วงโรจนฤทธิ์ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2457 จำเป็นต้องแยกชิ้นมาและมาประกอบเข้าด้วย กันที่จังหวัดนครปฐมแล้วเสร็จเป็นองค์สมบูรณ์ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 หลังจากรัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคต แล้ว ตามความใน พระราชพินัยกรรมของพระองค์ระบุว่าให้ บรรจุพระอังคารของพระองค์ไว้ใต้ฐานพระร่วงฯ ที่องค์พระ ปฐมเจดีย์ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2469 จึงได้ทำพิธีบรรจุ พระบรมราชสรีรังคาร ณ ใต้ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรโมภาส มหาวชิราวุธ ตาม พระประสงค์ทุกประการ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระปฐมเจดีย์

    <TABLE class=gallery cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    ภาพถ่ายเก่าองค์พระปฐมเจดีย์ในปี พ.ศ. 2468
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/2000
    -->



    </TD><TD>[​IMG]

    พระพุทธรูปปางคันธารราษฏร์ศิลปะทวารวดีภายในวัด
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/2000
    -->



    </TD><TD>[​IMG]

    สถูปจำลองพระปฐมเจดีย์องค์เก่า อยู่บริเวณองค์พระปฐมเจดีย์
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/2000
    -->



    </TD><TD>[​IMG]

    สามเณรกำลังถ่ายรูปหมู่หน้าองค์พระร่วงโรจนฤทธิ์
    <!-- Pre-expand include size: 0/2048000 bytesPost-expand include size: 0/2048000 bytesTemplate argument size: 0/2048000 bytes
    1. ifexist count: 0/2000
    -->



    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; MARGIN: 0px; WIDTH: 100%; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 10pt" noWrap align=left width=133 bgColor=goldenrod></TD><TH style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; FONT-SIZE: 10pt; COLOR: #ffffff" vAlign=center align=left bgColor=goldenrod>พระอารามหลวงชั้นเอก</TH><TD style="PADDING-RIGHT: 57px" vAlign=top noWrap align=right width=80 bgColor=goldenrod height=28><BIG>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/watthai/central/watprapathomchedi.php
    [​IMG]หน้าแรก [​IMG] ทำเนียบวัดไทย [​IMG] ภาคกลาง [​IMG] วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จ.นครปฐม

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#f0f0f0 border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD width="100%" bgColor=#999999>[​IMG]</TD><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=6>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=1 bgColor=#999999 height=13>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle>
    [​IMG]


    </TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=1 bgColor=#999999>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD height=6>[​IMG]</TD><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#999999>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=525 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=44 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=center height=25>
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]

    </TD><TD width=44 rowSpan=2>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#ff9900 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center bgColor=#ffffef height=24>วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร
    </TD></TR><TR><TD vAlign=center bgColor=#ffffef height=24>พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ ชนิดราชวรมหาวิหาร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.dhammathai.org/watthai/central/watprapathomchedi.php

    พระปฐมเจดียเป็นเจดีย์องค์ใหญ่ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากกรุงเทพประมาณ 60 กิโลเมตร นับว่าเป็นปูชนียสถานที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในไทย สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงส่งสมณทูตมาเผยแผ่พระศาสนา นักปราชญ์ทางโบราณคดีเห็นพ้องกันว่า พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เป็นสมณทูตและมาตั้งหลักฐานประกาศหลักธรรมคำสอนที่นครปฐมป็นครั้งแรก ในพุทธศตวรรษที่ ๓ และได้สร้างพระเจดีย์ทรงบาตรคว่ำ แบบเจดีย์สาญจิในประเทศอินเดียไว้
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ขณะผนวช ได้เสด็จธุดงค์มานมัสการ ทรงเห็นเป็นเจดีย์ยอดปรางค์ สูง ๔๒ วา เมื่อทรงลาผนวช ได้เสวยราชสมบัติแล้ว ในราว พ.ศ. ๒๓๙๖ ได้โปรดให้ก่อพระเจดีย์ใหม่ห่อหุ้มองค์เดิมไว้ สูง ๑๒๐ เมตร กับ ๔๕ เซนติเมตร พร้อมสร้างวิหารคตและระเบียงโดยรอบ งานไม่ทันแล้วเสร็จก็สวรรคต
    ต่อมารัชกาลที่ ๕ โปรดให้ปฏิสังขรณ์จัดสร้างหอระฆัง และประดับกระเบื้องจนสำเร็จ เมื่อถึงรัชกาลที่ ๖ ปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวง เขียนภาพพระเจดีย์องค์เดิมและภาพต่าง ๆ ไว้ที่ ผนัง รื้อมุขวิหารด้านทิศเหนือสร้างใหม่ เพื่อประดิษฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราชบูชนียบพิตร และรัชกาลที่ ๗ โปรดให้สร้างพระอุโบสถใหม่
    นับแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ ได้ทรงทำการบูรณะปฏิสังขรณ์ต่อเติมในครั้งนั้นแล้ว จนบัดนี้เป็นเวลาร้อยปีเศษ มิได้มีการบูรณะครั้งใหญ่เลย นอกจากซ่อมแซมเล็กน้อย ที่ชำรุดเป็นบางส่วนเท่านั้น จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ทางวัดพบว่าตัวองค์พระปฐมเจดีย์มีรอยร้าวแตกร้าวหลายแห่ง กระเบื้องที่ประดับหลุดร่วงลงมา จึงได้แจ้งเรื่องไปยังรัฐบาลสมัยนั้น ทางรัฐบาลเองก็ได้ส่งเรื่องต่อไปยังกระทรวงมหาดไทย ให้เป็นผู้พิจารณาดำเนินการและมอบให้กรมโยธาธิการส่งช่างผู้เชี่ยวชาญไปทำ

    การสำรวจตรวจสอบซึ่งใช้เวลาอยู่ประมาณ ๙ ปี และในที่สุดลงความเห็นว่าองค์พระปฐมเจดีย์ มีความชำรุดมาก ควรดำเนินการบูรณะเป็นการด่วน เมื่อรัฐบาลได้ทราบข้อเท็จจริงและ พิจารณาเห็นว่าพระมหาเจดีย์แห่งนี้เป็นเจดีย์สำคัญ เป็นสมบัติที่มีค่ายิ่ง สมควรที่จะต้องรักษาให้ยืนยงคงอยู่ตลอดไป จึงได้อนุมัติงบประมาณ ให้กรมโยธาธิการกระทรวงมหาดไทย เป็นเจ้าของโครงการระยะที่ ๑-๒ และกรมศิลปากร กระทรวง ศึกษาธิการ เป็นเจ้าของโครง การระยะที่ ๓ ได้ลงมือทำการ ซ่อมแซมบูรณะมาตั้งแต่วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๑๘ สิ้นสุดลง เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๒๔ สิ้นค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเป็น จำนวนเงิน ๒๔,๖๒๕,๓๗๕ บาท
    องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า เป็นที่เคารพ สักการบูชาของ บรรดา พุทธศาสนิกชนทั่วโลก ทางวัดกำหนดให้มีงานเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในวันขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึง วันแรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๒ รวม ๙ วัน ๙ คืน เป็น ประจำทุกปี
    องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ใหญ่ รูประฆังคว่ำ ปากผายมหึมา โครงสร้างเป็นไม้ซุง รัดด้วยโซ่เส้นมหึมาก่ออิฐ ถือปูน ประดับด้วยกระเบื้องปูทับ ประกอบด้วยวิหาร ๔ ทิศ กำแพงแก้ว ๒ ชั้น


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#f0f0f0 border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD width="100%" bgColor=#999999>[​IMG]</TD><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=6>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=1 bgColor=#999999 height=13>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=1 bgColor=#999999>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD><TD height=6>[​IMG]</TD><TD width=7 colSpan=2 rowSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#999999>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellPadding=10 width=525 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]รายละเอียดเกี่ยวกับพระปฐมเจดีย์

    สูงจากพื้นดินถึงยอดมงกุฏ ๑๒๐.๔๕ เมตร
    ฐานโดยรอบวัด ๒๓๕.๕๐ เมตร
    เส้นผ่าศูนย์กลางวัดโดยรอบ ๕๖.๖๔ เมตร
    จากปากระฆังถึงสี่เหลี่ยมสูง ๑๘.๓๐ เมตร
    สี่เหลี่ยมด้านละ ๒๘.๑๐ เมตร
    ปล้องไฉนทั้งหมดมี ๒๗ ปล้อง
    เสาหารมี ๑๖ ต้น
    คตพระระเบียงโดยรอบ ๕๖๒ เมตร
    กำแพงแก้วชั้นในโดยรอบ ๙๑๒ เมตร
    ซุ้มระฆังบนลานองค์พระปฐมเจดีย์ ๒๔ ซุ้ม


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellPadding=10 width=525 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]พระร่วงโรจนฤทธิ์

    ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ดำรง พระยศเป็นสมเด็จพระยุพราช ได้เสด็จ ตรวจค้นโบราณสถานในมณฑล ฝ่ายเหนือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒ พบพระพุทธรูปชำรุดองค์หนึ่งจมในพื้น วิหาร วัดโบราณในเมืองศรีสัชนาลัย โปรดให้ขุดขึ้น พบพระเศียร พระหัตถ์ และพระบาทที่ยังดีไม่ชำรุดมีลักษณะ งดงามต้องตาม พระราชหฤทัย จึงโปรดให้เชิญลงมากรุงเทพมหานคร ครั้งเสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัติ จึงโปรด ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ทำรูปหุ่นขี้ผึ้ง ปฏิสังขรณ์ปั้นให้เสร็จบริบูรณ์เต็มองค์ ตั้งการพระราชพิธี เททองที่วัดพระเชตุพนฯ เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๖ เป็นพระยืนปางห้ามญาติ หล่อ ด้วยโลหะ ครั้นแล้วเสร็จ อัญเชิญประดิษฐานไว้ที่ซุ้มวิหารทิศ ตรงบันได ใหญ่เมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๘ ทรงถวายพระนาม ว่า "พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรโมภาส มหาวชิราวุธ ราชปูชนียบพิตร" สูงจากพระเกศาถึงพระบาท ๑๒ ศอก ๔ นิ้ว และทรง พระกรุณาโปรดเกล้าในพระราชพินัยกรรม ให้บรรจุพระอังคารของพระองค์ท่านไว้ในใต้ฐานพระนี้ด้วย

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=1 width=525 align=center bgColor=#cccccc border=1><TBODY><TR><TD background=../../pics/bgtop.gif bgColor=#cccccc height=22>[​IMG] ข้อมูลวัด</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width=525 align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top bgColor=#eeeeef><TD width=150>
    [​IMG]


    </TD><TD>วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร
    ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์
    อำเภอเมืองนครปฐม
    จังหวัดนครปฐม
    </TD></TR><TR vAlign=center bgColor=#eeeedd><TD width=150 bgColor=#eeeedd height=30>ความสำคัญ :</TD><TD>"องค์พระปฐมเจดีย์", พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ๑ ใน ๖ ของไทย </TD></TR><TR vAlign=center bgColor=#eeeeff><TD width=150 height=30>สังกัดคณะสงฆ์ :</TD><TD>มหานิกาย</TD></TR><TR vAlign=center bgColor=#eeeeef><TD width=150 height=30>เว็บไซต์วัด :</TD><TD>http://www.geocities.com/TheTropics/Shores/7648/HTML/ie-frame.htm</TD></TR><TR vAlign=center bgColor=#eeeedd><TD width=140 height=30>แผนที่วัด :</TD><TD height=30>-</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.nakhonpathom.go.th/data/patomjadee1.htm

    [​IMG]
    นับเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยที่สำคัญและเก่าแก่ที่สุด เป็นปูชนียสถานสำคัญทางพระพุทธศาสนา และเป็น
    เจดีย์องค์แรกในดินแดนสุวรรณภูมิใหญ่ที่สุดในโลก จึงเป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาวไทยทั้งชาติ แทบทุกวันจะมีนัก
    ทัศนาจร ทั้งชาวไทยและต่างประเทศมานมัสการอยู่เสมอ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี เนื่องจาก
    รวมโบราณวัตถุไว้มากมาย เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์

    จากหนังสือเรื่องพระปฐมเจดีย์กับนำเที่ยวของ ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงนิพนธ์ไว้ ท่านให้ความเห็นเกี่ยวกับการสร้างพระปฐมเจดีย์ว่า การที่จะทราบว่าพระปฐมเจดีย์สร้างขึ้นเมื่อใด และใครเป็นผู้สร้างนั้น จะต้องย้อนกล่าวตั้งแต่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายอยู่ในมัชฌิมประเทศ คือ อินเดียตอนกลาง แต่ยังหาได้เป็นศาสนาที่เป็นประธานของประเทศไม่ ต่อมาสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชขึ้นครองราชสมบัติในแคว้นมคธของอินเดีย เมื่อ พ.ศ.274 ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีพระเดชานุภาพใหญ่หลวง พระองค์สลดพระทัยในการรบพุ่ง จึงมุ่งหมายจะแผ่พระเดชานุภาพทางธรรม เพราะทรงเห็นว่า พระพุทธศาสนามีคติธรรมล้ำเลิศกว่าศาสนาอื่น ๆ จึงทรงอุปถัมภ์ และเผยแพร่ไปนานาประเทศ โดยส่งพระสงฆ์เป็นสมณฑูตออกไป มีข้อความตอนหนึ่งในหนังสือมหาวงศ์คือ พงศาวดารของเกาะลังกา โดยพรรณนาไว้ว่า '' สุวณ.ณภูม เถเร เทว โสณ อุตตารเมวจ'' แปลความว่า ให้พระโสณเถระกับพระอุตระเถระไปยังสุวรรณภูมิ นักปราชย์ทั้งหลายเห็นพ้องกับอาจารย์ ริสเดวิดส์ ที่ว่า สุวรรณภูมิมีอาณาเขตเริ่มตั้งแต่รามัญประเทศ ( คือเมืองมอญ ) ไปจดเมืองญวน และตั้งแต่พม่าไปจนถึงปลายแหลมมลายู เมืองนครปฐมน่าจะเป็นเมืองราชธานีของสุวรรณภูมิ และครั้งนั้นคงเรียกว่า สุวรรณภูมิ ตามประเพณีเดิมที่มักเรียกนามเมืองหลวงเป็นชื่อของประเทศ<TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">หลักฐานที่ปรากฏชัดว่า เมืองนครปฐมเป็นเมืองที่พระพุทธศาสนามาเผยแพร่เป็นครั้งแรกก็คือองค์พุทธเจดีย์ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยเดียวกับครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชยังครองราชสมบัติอยู่ เพราะลักษณะองค์เจดีย์นั้น เดิมเป็นสถูปกลมรูปทรงคล้ายบาทคว่ำ ( โอคว่ำ) แบบสัญจิเจดีย์ ในประเทศอินเดีย ที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างไว้และวัดที่สร้างขึ้นเป็นวัดแรกในประเทศไทยก็คือ วัดพระปฐมเจดีย์นี่เอง ผู้ปกครองวัดหรือสมภารเจ้าวัดก็คือพระอรหันต์ ผู้นำพระพุทธศาสนามาเผยแพร่ในยุคนั้น ผู้สร้างพระเจดีย์ องค์เดิมจะต้องเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่มีกำลังความสามารถมาก และคงสร้างไว้ในเมืองหลวงด้วย พระสถูปองค์เดิมสูง 19 วา 2 ศอก ( 39 เมตร ) หลักฐานอื่น ๆ ที่พบมาก ได้แก่ พระสถูปต่าง ๆ ศิลาธรรมจักรจารึกพระธรรมเป็นภาษามคธ คือคาถาเยธมมา พระแท่นพุทธอาสน์ และรอยพระพุทธบาท ทำเป็นที่สักการะแทนพระพุทธรูป ในสมัยนั้นยังไม่มีพระพุทธรูป ลักษณะขององค์พระเจดีย์ตอนบนเป็นพุทธอาสน์สี่เหลี่ยมตั้งไว้มีฉัตรปักเป็นยอด ฐานพระสถูปเป็นรูปสี่เหลี่ยม รอบฐานทำเป็นที่เดินประทักษิณมีรั้วล้อมรอบภายนอก ก่อด้วยอิฐชนิดเดียวกัน
    เมื่อมีพระปฐมเจดีย์ก็น่าจะมีสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ตามมา มีการปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์เป็นครั้งคราวโดยเฉพาะฤดูเข้าพรรษา สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงกล่าวไว้ในหนังสือมูลเหตุแห่ง การสร้างวัดในประเทศสยาม ข้อ 3 ว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Pj3.gif
      Pj3.gif
      ขนาดไฟล์:
      15.4 KB
      เปิดดู:
      651
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.nakhonpathom.go.th/data/patomjadee4.htm

    พระปฐมเจดีย์ : สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว...

    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ปฏิสังขรณ์วิหารหลวงและให้เขียนภาพพระปฐมเจดีย์ ตั้งแต่ที่มีอยู่เดิมกับภาพเทวดา ครุฑ นาค และนักบวชในศาสนาต่าง ๆ ไว้ที่ผนัง ยังโปรดให้สร้างวิหารสำหรับประดิษฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ซึ่งเดิมได้อัญเชิญชิ้นส่วนพระเศียร พระหัตถ์ และพระบาท ซึ่งเป็นศิลปสุโทัยมาจากสวรรคโลก นำมาปฏิสังขรณ์จนเป็นพระพุทธรูปยืนที่สมบูรณ์ ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งให้บรรจุพระสรีรางคารของพระองค์ไว้ในฐานพระพุทธรูปองค์นี้ด้วย และถวายพระนามพระพุทธรูปว่า "พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราชปูชนียบพิตร'' และทรงโปรดให้สร้างพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ขึ้นใหม่แทนพระอุดโบสถหลังเก่าที่ชำรุด และมาเสร็จสิ้นในรัชกาลที่ 4 พระปฐมเจดีย์นิ้หน้าที่ธุรการขึ้นอยู่กับกระทรวงศึกษาธิการ หน้าที่ทางวิชาการขึ้นอยู่กับกรมศิลปากร

    [​IMG]

    ภาพตัดขวางแสดง
    ลักษณะองค์พระปฐมเจดีย์


    [​IMG]

    ภาพเทวดา ครุฑ นาค นักบวช

    [​IMG]

    พระพุทธรูปศิลาขาวในพระอุโบสถ
    ด้านทิศตะวันออก


    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">การปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์นั้น มีมาตั้งแต่สมันต้นรัตโกสินทร์มาจนถึงปัจจุบัน ก็ยังต้องบูรณะซ่อมแซมกันอยู่เรื่อย และต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก ๆ ก็ยังไม่เพียงพอ คณะกรรมการวัดพระปฐมเจดีย์จึงได้จัดงานสมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ขึ้นทุกปี เพื่อรวบรวมรายได้จากผู้ชมมาทำบุญและผู้ที่บริจาคเพื่อทำนุบำรุงปฏิสังขรณ์โบราณสถานที่สำคัญยิ่งของชาติไทยให้คงอยู่ชั่วกาลนาน โดยปกติจะจัดงานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ระหว่างเดือนพฤศจิกายน หรือระหว่างกลางเดือน 12 ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า งานกลางเดือน มีงานทั้งหมด 9 วัน 9 คืน เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วทุกสารทิศ ได้มากราบไว้นมัสการร่วมกันทำบุญ การจัดงานทุกครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะขอให้ส่วนราชการทุกส่วนในจังหวัดให้ความร่วมมือด้วย มีการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการศึกษา เกี่ยวกับปากท้องของประชาชน การแสดงต่าง ๆ ของประขาชนและประชาชน ข้าราชการตำรวจ ลูกเสือชาวบ้าน การแสดงสินค้าพื้นเมือง การแสดงผลงานของทุกส่วนราชการ การจัดประกวดการแข่งขันหลายประเภท ฯลฯ เปิดโอกาสให้ประชาชนนำสินค้าพื้นเมืองและสินค้าต่างจังหวัดมาขาย มีมหรสพมากมาย นับว่าเป็นการจัดงาน ที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครปฐมเลยทีเดียว

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Nk086.gif
      Nk086.gif
      ขนาดไฟล์:
      46.3 KB
      เปิดดู:
      957
    • Nk087.gif
      Nk087.gif
      ขนาดไฟล์:
      20.6 KB
      เปิดดู:
      696
    • Nk091.gif
      Nk091.gif
      ขนาดไฟล์:
      16.7 KB
      เปิดดู:
      680
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.nakhonpathom.go.th/data/patomjadee3.htm
    พระปฐมเจดีย์ : การปฏิสังขรณ์

    การปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย็ สร้างเป็นเจดีย็ใหญ่หุ้มองค์เดิมเปลี่ยนจากบาตรคว่ำมีพุทธบัลลังก์ฐานสี่เหลี่ยมซ้อนระฆัง มียอดนภศูลและมีพระมหามงกุฎสวมไว้บนยอดองค์พระปฐมเจดีย์ประดับด้วย กระเบื้องเคลือบสีเหลือง งดงามแวววาว มีขนาดสูง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิ้ว ( 120.45 เมตร ) โดนฐานรอบยาว 5 เส้น 17 วา 3 ศอก ( 235.50 เมตร ) รอบฐานองค์พระปฐมเจดีย์สร้างเป็นบาตร หินกลมล้อมรอบเป็น 2 ชั้น ทั้ง 4 ทิศ มีพระวิหารและพระระเบียงต่อเชื่อมกันรอบพระเจดีย์พร้อมกับสร้างพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ไว้ที่วิหารทั้ง 4 ทิศ ดังนี้ <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="35%">[​IMG]
    พระปฐมเจดีย์ด้านทิศเหนือ



    </TD><TD vAlign=top width="65%">ทิศตะวันออกเรียกว่า '' พระวิหารหลวง '' ห้องนอกประดิษฐานพระพุทธรูปบางตรัสรู้ ประทับนั่งขัดสมาธิอยู่ใต้ต้นโพธิ์บัลลังก์ ต้นโพธิ์เป็นภาพเขียนฝีมืองดงามเหมือนของจริงมาก ส่วนห้องในพระวิหารหลวงปล่อยไว้โล่งๆ มีแท่นบูชาเป็นของเก่าในรัชกาลที่ 4 ซึ่งเป็นที่สมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกล้า ฯ ให้วาดรูปองค์พระปฐมเจดีย์ แสดงให้เห็นถึงลักษณะขององเจดีย์ตั้งแต่สมัยเริ่มสร้างมาจนถึงปัจจุบัน ผนังห้องทั้งสองข้างเป็นภาพวาดรูปเทวดา นักพรต ฤาษี และพระยาครุฑ ทุกภาพ ประนมมือแสดงการสักการบูชาพระปฐมเจดีย์
    วิหารทิศเหนือ สิ่งแรกที่เห็นจากด้านนอกคือ พระพุทธรูปขนาดใหญ่หล่อด้วยโลหะปิดทอง คือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ ด้านในห้องหน้า ประดิษฐานพระพุทธรูปปางประสูติ ห้องในประดิษฐานพระพุทธรูปปางป่าเลไลก์มุขหลังไว้รูปพระยากง

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[​IMG]
    </TD><TD width="50%">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="33%">[​IMG]
    พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส
    มหาวชิราวุธราชปูชนียบพิตร
    </TD><TD vAlign=top width="33%">[​IMG]
    พระพุทธรูปศิลาขาวสมัยทวารวดี
    ด้านทิศใต้
    </TD><TD vAlign=top width="34%">[​IMG]
    บริเวณด้านทิศใต้ขององค์พระปฐมเจดีย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.nakhonpathom.go.th/data/patomjadee3.htm

    สำหรับวิหารอีก 3 หลัง 3 ทิศนั้น ประกอบด้วย วิหารทิศตะวันตก มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ประดิษฐ์อยู่ วิหารทิศใต้มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาและปัญจวัคคีย์ประดิษฐ์อยู่ ส่วนวิหารทิศเหนือก็คือวิหารที่ประดิษฐ์พระพุทธรูป " พระร่วงโรจนฤทธิ์ " ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญที่สุดหรืออาจเรียกได้ว่า เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดนครปฐมนั่นเอง ประชาชนที่ไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์แทบทั้งหมดต้องขึ้นบันไดทางทิศเนือและนมัสการพระพุทธรูปองค์นี้
    ที่ระเบียงกลม ( วิหารคด ) ล้อมรอบองค์พระเจดีย์ภายในจารึกกถาธรรมทุกห้อง รอบนอกก่อหอระฆังไว้เป็นระยะ ๆ มี 24 หอ ชั้นล่างก่อกำแพงถมดินเป็นกระเปาะขึ้นมาทั้ง 4 ทิศ บนกระเปาะด้านตะวันออก ทำโรงธรรมและพระอุโบสถด้านใต้ประดิษฐานพระคันธารราฐ ( พระพุทธรุปศิลาขาว ) ซึ่งได้มาจากวัดพระเมรุและจำลองรูปปฐมเจดีย์ไว้ทางด้านทิศตะวันออก หรือทางซ้ายของพระพุทธคันธารราฐ ได้จำลองรูปพระเจดีย์ เมืองนครศรีธรรมราชที่เรียกว่า พระมหาธาตุใหญ่<TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="33%">
    [​IMG]

    วิหารด้านทิศตะวันตก
    ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์
    </TD><TD width="33%">[​IMG]
    หอระฆัง
    </TD><TD width="34%">[​IMG]
    พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.nakhonpathom.go.th/data/patomjadee2.htm

    พระปฐมเจดีย์ : หลังจาก...
    [​IMG]

    หลังจากพุทธศักราช 1500 เป็นต้นมา พระพุทธเจดีย์ก็ทรุดโทรมคงเนื่องมาจากขาดการบำรุงทำนุรักษา เหตุที่เจ้าเมืองอ่อนอกก็เป็นได้ จนกระทั่งถูกพระเจ้าอนุรุธแห่งพม่าตีเมืองนครปฐม เพราะหลักฐานวัตถุโบราณที่ขุดได้จากเมืองนครปฐมก็ขุดได้ที่เมืองพุกามแห่งเดียว เช่นพระพิมพ์และเงินเหรียญของโบราณ เป็นรูปสังข์ข้างหนึ่ง ปราสาทข้างหนึ่ง อานันทเจดีย์ที่เมืองพุกามซึ่งสร้างขึ้นหลังพระเจ้าอนุรุธที่ 1 นั้นก็เป็นแบบเดียวกับวัดพระเมรุที่จังหวัดนครปฐมทุกอย่าง ยกเว้นพระพุทธรูปในซุ้มทั้ง 4 เป็นพระยืนแต่ที่วัดพระเมรุเป็นพระนั่งห้วยพระบาท หลังจากพระเจ้าอนุรุธตีเมืองนครปฐมได้ก็กวาดต้อนผู้คนไป เมืองนี้ ก็กลายเป็นเมืองร้าง สันนิษฐานว่า อู่ทองเป็นเมืองหลวงต่อมา สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงเดชานุภาพว่าในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง พ.ศ. 1835 ยังมีชื่อเมืองสุพรรณภูมิคือ ซึ่งก็คือ อู่ทองนั่นเอง ซึ่งเป็นเมืองหลวงสุดท้ายของอาณาจักรทวารดี ตามที่ มจ. สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงกล่าวว่า ถ้าพระวินิจฉัยของสมเด็จกรมพระยาดำรงฯ เรื่องพงศาวดารของพระเจ้าอู่ทองถูกต้องแล้ว ร้อยปีต่อมาเมื่อราว พ. ศ. 1731 พระเจ้าไชยศิริ ต้นวงศ์ของพระเจ้าอู่ทองสู้มอญไม่ได้ ก็อพยพลงมาตั้งที่เมืองนครปฐมอีกครั้งหนึ่ง ต่อมาเมืองร้างไปอีก เพราะแม่น้ำตื้นเขิน ครั้นถึงแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราว พ.ศ. 2091 จึงตั้งเมืองขึ้นอีกเรียกว่า เมืองนครชันศรี เพื่อเป็นเมืองต่อต้านข้าศึก ( รับศึก ) และเนื่องจากพระปฐมเจดีย์ห่างไกลจากเมืองนี้ ประกอบกับสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมาจนถึงรัตนโกสินทร์ เมืองไทยต้องคอยรับศึกจากพม่า จึงปล่อยให้พระปฐมเจดีย์ปรักหักพัง เต็มไปด้วยป่ารกไม่มีผู้ดูแลเป็นเวลานาน จนถึงแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พบว่าศาลาการเปรียญอยู่บริเวณต้นพระศรีมหาโพธิ์ หมู่กุฏิพระสงฆ์ปลูกอยู่ทางด้านตะวันตกของศาลาการเปรียญส่วนพระอุโบสถคงอยู่ ณ ที่เดิม คือ ด้านตะวันออกตรงกับพระอุโบสถขณะนี้ เพียงแต่อยู่กับพื้นดิน<TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">ในสมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2374 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นยังทรงผนวช ณ วัดสมอราย ( วัดราชาธิวาส ) ได้เสด็จธุดงค์มาที่เมืองนครปฐมพร้อมด้วยคณะสงฆ์และทรงปักกลดประทับ ณ โคลนต้นตะคร้อ ได้สังเกตลักษณะขององค์พระปฐมเจดีย์ ทรงเห็นว่า ไม่มีพระเจดีย์ใดที่เก่าแก่และยิ่งใหญ่เท่าเจดีย์องค์นี้ ตั้งแต่เสด็จไปพบเห็นมาทั่วประเทศไทย พระองค์ทรงเห็นว่า น่าจะบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้เป็นแน่ หลังจากที่พระองค์เสด็จขึ้นสวดมนต์บนลานพระปฐมเจดีย์จบแล้ว ทรงอธิษฐานว่า ถ้าพระมหาเจดีย์นี้มีพระบรมธาตุบรรจุไว้ภายใน ขอเทพยดาผู้รักษาจงแบ่งให้สักสององค์ จะนำไปบรรจุไว้ภายในพระพุทธรูปที่สร้างใหม่ และในพระเจดีย์เงินเพื่อไว้บูชาในกรุงเทพฯ แล้วรับสั่งให้นายรื่น มหาดเล็กนำผอบใส่พานขึ้นตั้งไว้ในโพรงพระเจดีย์ทางด้านทิศตะวันออก ในตอนบ่ายวันที่จะเสด็จกลับให้เชิญผอบลงมาก็หาได้มีอะไรไม่

    หลังจากที่ท่านได้เสด็จกลับไปได้ประมาณเดือนเศษ คืนหนึ่งประมาณ 5 ทุ่ม ขณะที่พระสงฆ์สวดมนต์ในหอพระวัดมหาธาตุ ซึ่งพระองค์ทรงสร้างพระเนาวรัตน์ไว้องค์หนึ่ง ปรากฏว่า พระสงฆ์สวดมนต์ไปได้ครึ่งหนึ่ง ก็มีกลุ่มควันสีแดง กลิ่นหอมเหมือนควันธูป ควันนั้นมากขึ้น จนพระพุทธรูปแลดูแดงเหมือนสีนาก พระสงฆ์ทั้งปวงตกใจ ลุกไปดูด้วยสำคัญว่าไฟไหม้แต่ก็ไม่เห็นอะไร จึงสวดมนต์ต่อไปจนจบ เมื่อสวดจบแล้ว ควันจางลง จึงช่วยกันค้นดูว่าใครสุมไฟไว้ที่ไหนก็ไม่พบ รุ่งขึ้นไปกราบทูลให้ทราบ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จึงเสด็จทอดพระเนตรพระพุทธรูปพระเนาวรัตน์ พบพระธาตุมากขึ้นกว่าเก่า 2 องค์ รับสั่งถามพระสงฆ์ ก็ไม่ มีใครทราบ พระธาตุนั้นเล็กเท่าเมล็ดพันธ์ผักกาดสีขาวเหมือนดอกพิกุล จึงโปรดบรรจุไว้ในพระสัมพุทธพรรณีองค์หนึ่ง พระองค์มีศรัทธามากมุ่งจะทรงสถาปนาบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ ด้วยมั่นพระทัยว่ามีพระบรมสารีริธาตุของพระพุทธเจ้าบรรจุอยู่ จึงนำความกราบทูลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ไม่ทรงโปรดฯ เพราะทรงเห็นว่า เป็นของอยู่ในป่ารก จำทำขึ้นก็ไม่เห็นประโยชน์ใด พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงตั้งพระทัยไว้ว่า จะทรงบูรณปฏิสังขรณ์ให้จงได้

    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เสวยราชย์ได้ 2 ปี โปรดให้เริ่มลงมือก่อสร้าง ปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์เป็นการใหญ่ ในปีแรก พ.ศ. 2396 โปรดให้สมเด็จพระยาพระบรมมหาประยุรวงศ์เป็นแม่กลอง เมื่อถึงแก่พิราลัย จึงโปรดเกล้าให้เจ้าพระยาทิพากรณ์มหาโกษาธิบดีเป็นแม่กลองเจ้าของจัดการทำต่อไป
    เมื่อวันอังคารที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2400 ( เดือน 5 ขึ้น 9 ค่ำ ปีมะเมีย ) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินมายังวัดพระปฐมเจดีย์ และทรงก่อพระปฐมเจดีย์เป็นปฐมฤกษ์ ตามรูปแบบที่ช่างได้จัดทำรูปถวาย โดยจัดทำครอบองค์เดิมไว้ภายใน การเสด็จครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกตั้งแต่เสด็จขึ้นครองราชย์ โดยเสด็จทางเรือขึ้นที่วัดไชยพฤกษมาลา ตอนนั้นคลองมหาสวัสดิ์ คลองเจดีย์บูชาขุดยังไม่เสร็จ แล้วเสด็จทางสถลมารค ไปประทับแรมที่พลับพลาท่าหวดคืนหนึ่ง วันรุ่งขึ้น คือวันพุธที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2400 ( เดือน 5 ขึ้น 10 ค่ำ ) เสด็จทางชลมารคขึ้นที่คลองเจดีย์บูชาแล้วเสด็จทางสถลมารคถึงองค์พระปฐมเจดีย์ ประทับที่พลับพลาค่ายหลวงเวลาบ่ายห้าโมงเย็นเสด็จขึ้นประทับพลับพลาบนลานพระปฐมเจดีย์ ฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ จบแล้วเสด็จพระราชดำเนินประทักษิณ ( เวียนเทียน ) แล้วจุดดอกไม้เพลิงการทำสักการบูชา พอทรงจุดฝักแค ก็เห็นดวงย้อยออกมาจากซุ้มคูหาด้านทิศตะวันออกเป็นรัศมีขาวตกลงมาหลังพระวิหารพระไสยาสนาเก่า ซึ่งอยู่ที่วิหารหลวงเดี๋ยวนี้บรรดาผู้เข้าเฝ้าได้เห็นเป็นอันมาก

    วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2400 ทรงก่อพระปฐมเจดีย์เป็นพระฤกษ์ โปรดให้เวียนเทียนสมโภชต่าง ๆ พระราชทานเงินสามสิบช่างเป็นพระราชกุศล และทรงโปรยทานแจกราษฎร ที่มาชมพระบารมี ข้าราชการที่ตามเสด็จเกิดศรัทธา บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศลทั่วทุกคน กับโปรดเกล้าฯ ให้ชายฉกรรจ์ที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงพระปฐมเจดีย์ถวายเป็นข้าพระ 126 คน และทรงตั้งผู้ดูแลรักษาพระราชทานนาม ว่าขุนพุทธเกษตรนุรักษ์ และมีผู้ช่วยพระราชทานนามว่า ขุนพุทธจักรรักษาส่วนสมุหบัญชีพระราชทานนามว่า หมื่นฐานาภิบาล ทรงยกค่านา และสมพัตสร ( สมพัตสร คือ อากรที่เรียกเก็บเป็นรายปี ส่วนใหญ่เก็บจากผลไม้ยืนต้น ) ที่ใกล้องค์พระเป็นกัลปนาขึ้นวัด ( กัลปนาคือ สิ่งอื่นซึ่งเจ้าของอุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดเป็นส่วนบุญที่ผู้ทำอุทิศให้ผู้ตาย ) ทรงถวายนิตยภัตด้วย ( นิตยภัต คือ อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์ ) แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับพระนคร

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เร่งลงรักปิดทองแซกฯไม้มะเกลือถวายในหลวง-จดสิทธิบัตรกันต่างชาติฮุบผลงาน
    http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9500000145616
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>9 ธันวาคม 2550 11:15 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เชียงราย – มือผลิตแซกโซโฟนไม้ เร่งลงรักปิดทองเตรียมทูลเกล้าถวายในหลวง ย้ำหลักคิดฝึกเยาวชนไทยให้เรียนรู้การผลิต-เล่นดนตรี เมินการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม แต่จำต้องหาช่องจดสิทธิบัตร หลังลูกค้าชาวต่างประเทศที่เคยมาซื้อมีพฤติกรรมพิรุธ

    หลังจากนายคำ ไพศาลสิทธิกานต์ สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้เสนอต่อนายปรีชา กมลบุตร ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เมื่อวันพ่อแห่งชาติ 5 ธ.ค.50 ว่า นายสวัสดิ์ เดชพระคุณ อายุ 52 ข้าราชการครู ตำแหน่ง ครูชำนาญพิเศษ โรงเรียนแม่ข้าวต้มท่าสุด ต.แม่ข้าวต้มท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1 คนดีศรีเชียงราย ประเภทการส่งเสริมดนตรีพื้นเมือง และเป็นครูแห่งชาติสาขาวิชาศิลปศึกษาด้านดนตรี ได้ผลิตอัลโตแซกโซโฟน (Alto Saxophone) ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทำจากไม้มะเกลือ ลงรักปิดทองฝังมุก รวมน้ำหนัก 999 กรัม ความสูง 80 ซ.ม. มีความประสงค์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษานั้น

    ผู้สื่อข่าวได้ไปที่บ้านเลขที่ 169/4 ม.19 ชุมชนเกาะทอง ต.รอบเวียง อ.เมืองเชียงราย บ้านของนายสวัสดิ์ เดชพระคุณ โดยนายสวัสดิ์ กล่าวว่า ขณะนี้ได้เตรียมลงรัก ปิดทองแซกโซโฟน ที่จะนำทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมทำกล่องที่บรรจุแซกโซโฟนใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายก็จะเสร็จสมบูรณ์ พร้อมรอการประสานวันเวลาที่จะเดินทางไปที่ กทม.

    สำหรับภายในบ้านของ นายสวัสดิ์ ซึ่งอยู่กับภรรยาและญาติ รวม 2 หลัง ได้ดัดแปลงพื้นที่บางส่วนเป็นโรงผลิตแซกโซโฟน รอบๆ มีแซกโซโฟนไม้และแซกโซโฟนท่อพีวีซีแขวนอยู่รอบๆ และหน้าบ้าน มีการประดับธงตราสัญลักษณ์ฉลองสิริราชสมบัติ

    ขั้นตอนการผลิตแซกโซโฟนนั้น จะนำไม้ชิงชัน,ไม้ประดู่,ไม้มะเกลือ และแกนไม้เสายุ้งข้าว นำมาดัดแปลงทำแซกโซโฟน โดยจะมีการกลึงไม้ด้วยเครื่องกลึงโลหะ ทั้งชิ้นใหญ่จนถึงขนาดเล็ก พร้อมเจาะรู แล้วนำเอาคลิปหนีบกระดาษ และสปริงปากกามาดัดแปลงเป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการใช้การกดเป่า ส่วนลิ้นแซกโซโฟนที่ทำยาก แต่ราคาไม่กี่ร้อยบาทจะเป็นส่วนที่ต้องซื้อมาติด โดยมีลูกศิษย์ คือ นายธนากร เขื่อนคำ อายุ 24 ปี ซึ่งเรียนจบระดับ ปวส.วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย มาร่วมเป็นผู้ช่วยในการผลิตมานานกว่า 3 ปี โดยเมื่อหลายปีก่อน มีการทดลองทำแซกโซโฟนจากท่อพีวีซี แต่เสียงและรูปร่างจะไม่ดีเท่าแซกโซโฟนจากไม้ ซึ่งเคยเป็นข่าวทางสื่อมวลชนมาบ้างเมื่อหลายปีก่อน

    นายสวัสดิ์ ได้โชว์การเป่าแซกโซโฟนแพลงพระราชนิพนธ์หลายเพลง เช่น เพลงแสงเทียน,ใกล้รุ่ง,ชะตาชีวิต เและให้ลูกศิษย์ก็เป่าเพลงเหล่านี้ได้ด้วย และที่น่าสนใจคือ เมื่อ นายสวัสดิ์ เป่าแซกโซโฟน สุนัขที่เลี้ยงอยู่ ชื่อ “อัลโต้” ก็จะมีอาการตื่นเต้น กระโดดและเห่าไปรอบๆ

    นายสวัสดิ์ กล่าวว่า ตนเล่นดนตรีมาตั้งแต่วัยหนุ่ม เมื่อมารับราชการครู ก็เป็นครูสอนดนตรีไทย และดนตรีสากล ซึ่งตอนมองว่า เครื่องดนตรีสากลราคาแพงมาก เช่น วงดุริยางค์วงหนึ่ง จะต้องใช้เงินกว่า 4 ล้านบาท ในการซื้อเครื่องดนตรีทั้งชุดมาประจำ นอกจากนี้ยังต้องเสียเงินค่าบำรุงรักษาตลอดเวลาอีกจำนวนมาก โดยโรงเรียนแทบทั้งหมดในต่างจังหวัด ต้องเรียกใช้บริการจากช่างจาก กทม.มาซ่อมแซมเครื่องดนตรี และใช้งบประมาณมาก ซึ่งหากเยาวชนไทยได้มีโอกาสผลิตเครื่องดนตรี เช่น แซกโซโฟน ที่มีราคาแพง รวมถึงที่ตนผลิตได้ก็คือ ขลุ่ย และเครื่องบางชนิด และอาจจะผลิตเครื่องดนตรีอื่นๆ ตามมา รวมทั้งเปิดบริการซ่อมแซมเครื่องดนตรีในโรงเรียนต่างๆ ก็จะทำให้เยาวชนมีงานทำ

    “เครื่องดนตรีที่คนไทยผลิตเอง ราคาย่อมถูกกว่าของนอก เช่น แซกโซโฟนไม้ จะมีต้นทุนราว 2,000 บาท ซึ่งหากนำมาจำหน่ายก็จะทำให้ผู้ผลิตมีรายได้จากเศษไม้ที่เก่าและผุพังสามารถนำมาสร้างรายได้ ส่วนแซกโซโฟนจากต่างประเทศ ราคาแพงตั้งแต่ 80,000 ถึง 200,000 บาท”

    นายสวัสดิ์ ยังผลิตเครื่องเป่าเป็นเสียงนกชนิดต่างๆ กว่า 10 ชนิด เช่น นกเหยี่ยว,นกเขา,นกกวัก,นกหัวจุก,นกกาเหว่า,ไก่ป่า ฯลฯ ซึ่งเมื่อเป่าแล้วได้เสียงต่างกันไป และทำเป็นอุปกรณ์ฝึกการเป่าของนักเรียนที่สนใจเครื่องดนตรีด้วย

    อย่างไรก็ตามนายสวัสดิ์ กล่าวว่า การผลิตเครื่องดนตรีนั้น เคยมีผู้มาติดต่อให้ตนทำเป็นอุตสหกรรม แต่ตนไม่อยากทำ เพราะไม่อยากเน้นธุรกิจมากเกินไป แต่อยากฝึกเยาวชนให้ทำเป็นและไม่ขายแพงมากกว่า และเมื่อไม่นานมานี้มีชาวต่างประเทศคนหนึ่ง ซึ่งซื้อแซกโซโฟนไม้ไป 1 ชิ้น ไม่นานก็นำกลับมาซ่อม แต่ลักษณะคล้าย มีการถอดชิ้นส่วนแซกโซโฟนไม้ออกมาคล้ายกับจะศึกษาหรือลอกแบบ แต่อาจจะทำไม่ได้ จึงทำให้แซกโซโฟนเสีย ซึ่งตนกำลังอยู่ระหว่างการขอจดสิทธิบัตรแซกโซโฟนไม้นี้ด้วย

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right height=10>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR vAlign=baseline><TD vAlign=top width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD class=hit align=left height=19>ข่าวล่าสุด ในหมวด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>สถาบันพระปกเกล้าฯมอบจักรยานให้นักเรียนหนุนยึดหลัก ศก.พอเพียง</TD></TR><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>“ประดิษฐ์”ฟันธงแนวคิด“แม้ว”ตั้ง รบ.แห่งชาติยาก/ชี้หาเสียงเลือกตั้ง 50 สุดพิศดาร</TD></TR><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>“ภูชี้ฟ้า 50”เหงากว่าที่คิด นักท่องเที่ยวหายถึง70%</TD></TR><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>จี้เร่งล้อมคอกปัญหาเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน/หลังคลิปฉาว ม.2 พิจิตรโผล่</TD></TR><TR vAlign=baseline><TD align=middle width=21 height=19>[​IMG]</TD><TD align=left height=19>องค์ประชาชนเหนือจี้พรรคการเมืองแสดงจุดชัดแก้ รธน.-เลิก กม.ละเมิดสิทธิเสรีภาพ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ราชจักรีวงศ์พระองค์น้อย...บนแผ่นฟิล์ม
    http://www.manager.co.th/MetroLife/V...=9500000144975
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>9 ธันวาคม 2550 19:10 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=400>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>บรรยากาศในโรงภาพยนตร์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ในงานเปิดรอบปฐมทัศน์ชมภาพยนตร์สารคดี ชุดพิเศษ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    5 เคล็ดลับขจัด'เครียด'
    http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=12905&catid=28



    ฝึกหายใจ นั่งลงและเอนหลังกับพนักเก้าอี้ในท่าสบาย สูดหายใจเข้าลึกๆ และช้าๆ วิธีนี้ จะสามารถขจัดความเครียดออกไปได้

    นวดฝ่าเท้า ใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงบนฝ่าเท้า แล้วนวดคลึงเบาๆ เพื่อคลายเส้นที่ปวดตึง โดยไล่จาก ส้นเท้า ไปจนถึงปุ่มโคนหัวแม่เท้า แล้วจึงค่อยนวดวนออกไปด้านนอกฝ่าเท้า

    น้ำช่วยได้ แค่น้ำเปล่าเย็นๆ หรือน้ำส้มคั้นสดๆ จากตู้เย็นเพียงหนึ่งแก้ว ก็สามารถทำให้รู้สึกผ่อนคลายในยามเครียดได้อย่างประหลาด

    กลิ่นหอมขจัดเครียด น้ำมันหอมที่มีกลิ่นหอมสดชื่น ที่เรารู้จักคุ้นหูกันดีในนามของ Aromatherapy สามารถช่วยคลายเครียดได้ เพียงเทน้ำมันหอมลงบนฝ่ามือแล้วนวดคลึงเบาๆ บริเวณขมับ ก็จะทำให้รู้สึกปลอดโปร่ง

    ขจัดความเมื่อยขบให้ลำตัว เมื่อความเครียดรุมเร้าจะปวดไหล่ หลังและคอ ลองเปลี่ยนอิริยาบทง่ายๆ โดยขยับตัวออกมานั่งตรงส่วนปลายของเก้าอี้ วางเท้าลงที่พื้นในท่าสบาย จากนั้นวางมือขวาที่ต้นขาซ้าย แล้วเอื้อมมือซ้ายไปจับที่พนักเก้าอี้เหนือไหล่ขวา บิดตัวไปทางซ้ายช้าๆ จนสุด พร้อมเป่าลมออกจากแก้ม สูดลมหายใจเข้าลึกๆ พร้อมกับหมุนตัวกลับไปในท่าตรง แล้วค่อยๆ ปล่อยลมออกทางปาก จนกลับมาอยู่ในท่าตรง สลับทำแบบเดียวกันด้านขวาและทำหลายๆ รอบ (ฉบับพิเศษ)
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://palungjit.org/showthread.php?p=849326#post849326

    <TABLE class=tborder id=post813141 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">14-11-2007, 10:09 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>rinnn<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_813141", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: 07-12-2007 09:14 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2005
    ข้อความ: 8,095 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 4,463 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 21,808 ครั้ง ใน 5,152 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 3000 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_813141 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->ที่มาของคำว่า " สาธุ "
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ารที่ชาวพุทธฟังธรรมจากพระภิกษุ แล้วกล่าวสาธุการเมื่อพระเทศน์จบ หรือการถวายทาน หรือเมื่อพระให้ศีล ญาติโยมสาธุชนจะใช้คำว่า "สาธุ" นั้นมีประวัติความเป็นมาดังมีเรื่องย่อว่า

    มีชายคนหนึ่ง อยู่ในเมืองสาวัตถี แคว้นโกศล ได้ฟังพระแสดงธรรมเทศนาแล้วเห็นโทษในการครองเรือนมีความปรารถนาจะขอบวชเพื่อแสวงหาความสงบในสมณธรรม จึงลาจากภรรยาไปบวช ได้ตั้งใจพากเพียรในสมณธรรมตามที่ปรารถนาไว้ตลอดมา
    ต่อมาพระเจ้าปเสนทิโกศลได้ทรงพบหญิงผู้เป็นภรรยาของชายคนนั้น และเมื่อทรงได้ทราบเหตุความเป็นมาทั้งหมดจึงเกิดสมเพชในนางผู้เป็นภรรยา รับสั่งให้นำหญิงนั้นมาเลี้ยงไว้ในพระราชวัง ตั้งเป็นท้าวนางกำนัล
    อยู่มาวันหนึ่ง ราชบุรุษนำดอกนิลุบลบัวเขียวมาถวายพระเจ้าปเสนทิโกศลกำมือหนึ่ง พระองค์จึงประทานแก่ท้าวนางคนละดอก ฝ่ายสตรีที่เป็นภรรยาของชายที่ไปบวชนั้น เมื่อไปรับพระราชทานก็ยิ้มแสดงความยินดีดุจนางอื่น ๆ แต่พอดมกล่นนิลุบลแล้ว นางกลั้นน้ำตาไว้ไม่อยู่จึงร้องไห้ พระเจ้าปเสนทิโกศลสงสัยพระทัย จึงตรัสถามว่า เหตุใดนางจึงยิ้มแล้วร้องไห้ นางจึงกราบทูลว่า ที่นางยิ้มเพราะดีใจที่ทรงพระกรุณาประทานดอกบัวให้ แต่พอดมดอกบัวแล้วหอมเหมือนกลิ่นปากสามีที่ไปบวช นางคิดถึงความหลังจึงร้องไห้
    พระเจ้าปเสนทิโกศลต้องการพิสูจน์วาจาของนาง จึงโปรดให้ประดับวังด้วยของหอมทั้งปวงเว้นแต่บัวนิลุบล แล้วอาราธนาสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า และเหล่าภิกษุสงฆ์ให้มาฉันภัตตาหารในพระราชฐาน แล้วมีพระราชดำรัสถามหญิงนั้นว่า พระมหาเถระองค์ไหนที่นางอ้างว่าเป็นสามี หญิงนั้นก็ชี้ไปที่พระมหาเถระ เมื่อเสร็จภัตตกิจแล้ว พระเจ้าปเสนทิโกศลอารธนาให้พระพุทธเจ้า และภิกษุองค์อื่น ๆ กลับวัดไปก่อน เว้นพระมหาเถระขอให้อยู่เพื่อกล่าวอนุโมทนา เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จกลับไปแล้ว พระมหาเถระจึงกล่าวอนุโมทนาด้วยน้ำเสียงอันไพเราะและมีกลิ่นหอมฟุ้งออกจากปากพระเถระรูปนั้นอย่างน่าอัศจรรย์ กลบเสียซึ่งกลิ่นดอกไม้ของหอมทั้งปวง กลิ่นปากของพระมหาเถระหอมฟุ้งไปทั่วพระราชวัง ดังกลิ่นการบูรและพิมเสนผสมกฤษณา หอมยิ่งกว่าดอกบัวนิลุบล ปรากฏการณ์นี้ปรากฏแก่ชนทั้งหลายในพระราชวัง ส่วนองค์มหากษัตริย์เมื่อเห็นจริงดังหญิงนั้นกราบทูล ก็ทรงโสมนัสน้อมนมัสการ ฝ่ายพระมหาเถระเสร็จสิ้นการอนุโมทนาแล้ว ก็กลับไปสู่วิหาร
    ครั้นพอรุ่งเช้าพระเจ้าปเสนทิโกศลจึงเสด็จไปสู่พระวิหาร ถวายนมัสการพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วกราบทูลถามว่า "เหตุใดปากของพระมหาเถระจึงหอมนักหนาท่านได้สร้างกุศลใดมา"
    สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสตอบว่า "เพราะบุพพชาติปางก่อน ภิกษุรูปนี้ได้ฟังพระสัทธรรมไพเราะจับใจ เต็มตื้นด้วยปีติยินดี จึงออกวาจาว่า "สาธุ" เท่านั้น อานิสงส์แห่งการฟังพระสัทธรรมให้ผลจึงได้มีกลิ่นปากหอมดังนี้"
    ปัจจุบันนี้ทั้งผู้ฟังธรรม และผู้รับศีลออกจะละเลยคำว่า "สาธุ" ต่างพากันนั่งเฉย ๆ ทั่วไป หน้าที่ผู้เป็นชาวพุทธ และครูบาอาจารย์จะได้แนะนำความเป็นมาเรื่อง "สาธุ" ไปเล่าสู่ลูกศิษย์และบุตรหลานของตนเพื่อนำวัฒนธรรมอังดีงามดั้งเดิมของเรากลับคืนมา
    คำว่า "สาธุ" ในภาษาไทยก็แปลว่า ดีแล้ว เห็นชอบแล้ว เท่ากับเป็นการทำบุญข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ มีอยู่ข้อหนึ่งในจำนวน ๑๐ ข้อคือ ปัตตานุโมทนามัย แปลว่าบุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ ดังนี้
    วันหนึ่ง ๆ ได้คิดดี ได้พูดดี ได้ทำดี "สาธุ" ให้ตัวเองและให้คนอื่นได้สาธุในการคิด การพูด การกระทำ ของเราเท่ากับได้ทำชีวิตนี้ให้มีกำไรมหาศาล จะได้ชื่อว่า ได้อยู่ในโลกใบนี้มีแต่ความหอม

    -------------------------------------------------------
    มีปรากฏประวัติใน โสตัพพมาลินีปกรณ์ จาหนังสือ "ฝากไว้ในแผ่นดิน" อาจารย์สมทรง ปุญญฤทธิ์

    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...