ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD background=../../../../bg/c.gif height=87>กระบวนการแปรสภาพเป็นพระธาตุ





    </TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif rowSpan=9><TABLE width="86%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="100%">




    <TABLE width=780><TBODY><TR><TH scope=row colSpan=2>
    การเกิดของพระธาตุนั้น จะว่าไปก็เป็นปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง คือ กระดูกที่เผาไฟแล้วก็ดี หรือยังไม่เผาไฟก็ดี สามารถแปรเปลี่ยนเป็นผลึก รูปร่างต่างๆ สีสันสวยงาม คล้ายกรวด คล้ายแก้ว ไม่เพียงแต่กระดูกเท่านั้น ผม เล็บ ฟัน หรือ แม้กระทั่งชานหมาก ของท่านเหล่านั้น ก็พบว่าสามารถแปรเป็นพระธาตุได้เช่นกัน

    อัฐิของพระสงฆ์ในยุคปัจจุบัน ที่สามารถแปรเป็นพระธาตุนั้นก็มีอยู่ด้วยกันหลายรูป แต่ละรูปก็มีลักษณะของพระธาตุจำนวนมากมาย ทรงไว้ด้วยความน่าอัศจรรย์ใจ ดังเช่นการเพิ่มหรือลดจำนวนได้เอง การเปล่งแสง การเปลี่ยนแปลงลักษณะ ฯลฯ ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า ในเมื่ออัฐิพระในยุคปัจจุบันยังสามารถแปรเปลี่ยนเป็นพระธาตุ เพิ่มหรือลดจำนวนเองได้ แล้วพระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า และ พระธาตุแห่งองค์พระอสีติมหาสาวก จะยิ่งมิทรงไว้ซึ่งความน่าอัศจรรย์ยิ่งกว่านี้อีกหรือ

    พระธาตุของพระอริยสงฆ์นั้น สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายส่วน ดังนี้

    </TH></TR><TR><TH scope=row width=384>[​IMG]


    </TH><TD width=384>[​IMG]






    </TD></TR><TR><TH scope=row>[​IMG]



    </TH><TD>[​IMG]


    </TD></TR><TR><TH scope=row>[​IMG]



    </TH><TD>[​IMG]


    </TD></TR><TR><TH scope=row height=121>[​IMG]


    </TH><TD>[​IMG]


    </TD></TR><TR><TH scope=row>[​IMG]



    </TH><TD>


    [​IMG]

    การแปรสภาพจากฟัน( new update)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​






    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ตามลิงค์ดังกล่าวนี้ภาพพระธาตุจากพระอริยสงฆ์ที่เราไม่คุ้นชื่อมีราว 4-5 องค์ครับ ลองค้นคว้าดู น่าสนใจมากจริงๆ



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD background=../../../../bg/c.gif height=87></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif rowSpan=9><TABLE width="86%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>ประวัติหลวงปู่บุญ ชินวํโส


    <TABLE width="46%" align=center><TBODY><TR><TD>หลวงปู่บุญ ชินวํโส
    วัดป่าศรีสว่าง อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
    ท่านเป็นลูกศิษย์ผู้สืบทอดปฏิปทาของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

    มีประวัติการเที่ยวธุดงค์ที่ควรแก่การศึกษาอย่างยิ่ง ท่านเคยเดินธุดงค์ไปถึงภูเขาควาย ประเทศลาว
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​









    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></B>





    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></B>





    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></B>





    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013 height=551></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif><TABLE width="88%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="1%" height=473></B>





    </TD><TD width="99%">[​IMG]</B>




    <TABLE width=500><TBODY><TR><TD width=520 height=81>พระธาตุหลวงปู่บุญ ชินวํโส พรรณะสีทับทิมองค์นี้ได้รับมาจากสามเณร


    วัดป่าศรีสว่างครั้งแรกที่ได้รับมารู้สึกสงสัยว่าจะเป็นพระธาตุจริงหรือเปล่า เพราะมีลักษณะคล้ายพลอยมาก ต่อมาอีกหลายปีจึงอัญเชิญพระธาุตุองค์นี้



    ี้ไปให้หลวงพ่อประสิทธิ์ ปุญฺญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
    พิจารณา ท่านจึงรับรองว่าเป็นพระธาตุของหลวงปู่บุญ จริง ๆ ให้รักษาไว้ให้ดี
    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>​








    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif><TABLE width="88%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</B>





    </TD></TR><TR><TD><TABLE width=500 align=center><TBODY><TR><TD>อัฐิธาตุหลวงปู่บุญ ชินวํโส ชุดนี้ประดิษฐานอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อัฐบริขารของหลวงปู่ ที่วัดป่าศรีสว่าง</B>

    อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร หากต้องการไปกราบไหว้สักการะ เชิญได้ที่วัดป่าศรีสว่าง


    ถ้าไปวันพระท่านจะเปิดให้กราบ แต่ถ้าไปวันธรรมดาต้องไปติดต่อขอให้พระเจ้าหน้าที่มาเปิดให้
    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>





    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>





    </TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif></TD><TD bgColor=#ffd013></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd013></TD><TD background=../../../../bg/c.gif><TABLE width=500><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>
    รูปเหมือนหลวงปู่บุญ ชินวํโส ประดิษฐานในพิพิธภัณฑ์




    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
    [​IMG]





    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2008
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE borderColor=#33ff33 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD></TR><TR><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="34%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD align=right background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]



    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    </TD></TR><TR><TD background=../pic1/watsanti_bg.gif colSpan=3 height=24>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/b3.gif bgColor=#ffd013 colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#e2d51b>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE borderColor=#33ff33 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD></TR><TR><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="34%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD align=right background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]



    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE borderColor=#33ff33 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD><TD background=../bg/c.gif> </TD></TR><TR><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="34%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD width="33%" background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD align=right background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD><TD background=../bg/c.gif></TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD><TD background=../bg/c.gif>
    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3>
    [​IMG]



    </TD></TR><TR><TD background=../bg/c.gif colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    เชื่อหรือยังล่ะ พระอรหันต์ไม่มีวันหมดไปจากประเทศไทย "อะหัง วันทามิธาตุโย อะหัง วันทามิสัพพะโส" เอ้ารีบทำบุญทำกุศลกันเน้อ...ทาน ศีล ภาวนา เร่งกันเน้อ...รอเฒ่าแล้วบ่ไหวเน้อ...


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Y6933270-6.jpg
      Y6933270-6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      94.5 KB
      เปิดดู:
      739
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2008
  6. BD

    BD เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +419
    เห็นด้วยกับท่านประธานครับ ผมมั่นใจในเจตนารมย์ของคณะกรรมการมูลนิธิฯ จึงตั้งปณิธานไว้ว่า จะร่วมบริจาคกับมูลนิธินี้ทุกเดือนตามกำลังทรัพย์ตลอดไปจนกว่าชีวิตจะหาไม่ และขอให้ผลบุญกุศลจงสำเร็จแด่ทุกท่านด้วยเทอญ..
     
  7. BD

    BD เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +419
    วันโอนเงินเรียบร้อยแล้วครับ
    เลขที่บัญชี - ชื่อเรียกบัญชี 3481232459 - pratom foundation
    ธนาคารผู้รับโอน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
    จำนวนเงินที่ต้องการโอน 500.00 บาท ค่าธรรมเนียม 25.00 บาท
    วันที่ทำรายการ 03/10/2551 วันที่หักเงินจากบัญชี 03/10/2551

     
  8. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    916
    ค่าพลัง:
    +4,291
    ไม่ได้ขาดหายไปไหนหรอกครับเพียงแต่อยู่คนละหน้าบัญชี กับ หน้าที่ถ่ายขึ้น Update ล่าสุด เอ้าโชว์หน้าที่มียอดส่งคืนให้แล้วนะครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    916
    ค่าพลัง:
    +4,291
    วันนี้ขอแสดงหลักฐานในการส่งเงินที่ทุกๆท่านได้เสียสละทุนทรัพย์สมทบทำบุญมายังทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ที่ได้ส่งไปยังโรงพยาบาลต่างๆที่มีพระสงฆ์ท่านมานอนอาพาธหรือตรวจโรคดังนี้ครับ

    รพ.มหาราช เชียงใหม่ 5,000.-
    รพ.ศรีครินทร์ ขอนแก่น 5,000.-
    รพ.50 พรรษาฯ อุบลฯ 5,000.-
    รพ.สงขลา 5,000.-



    [​IMG]

    [​IMG]


    ใบเสร็จรับเงินเครื่องดูดเสมหะ

    [​IMG]


    โมทนาบุญกับทุกๆท่านด้วยนะครับ
    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Scan0058.jpg
      Scan0058.jpg
      ขนาดไฟล์:
      104.9 KB
      เปิดดู:
      1,141
    • Scan0059.jpg
      Scan0059.jpg
      ขนาดไฟล์:
      86.8 KB
      เปิดดู:
      1,202
    • Scan0060.jpg
      Scan0060.jpg
      ขนาดไฟล์:
      66.8 KB
      เปิดดู:
      934
  10. เทพารักษ์

    เทพารักษ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    172
    ค่าพลัง:
    +980
    โมทนาบุญ

    (good)
    โมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านนะคะ
    เทพารักษ์ก็จะทำบุญทุกเดือน
    ตามกำลังที่มีขอให้ทุกท่านและครอบครัว
    มีความสุขนะคะ
    สาธุ สาธุ

    -Happy Smile_
     
  11. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ข้าวต้มลูกหมา(เรื่องของกรรมที่ต้องชดใช้)
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center>ข้าวต้มลูกหมา(เรื่องของกรรมที่ต้องชดใช้)
    &laquo; เมื่อ: วันอังคารที่ 23 กันยายน 2008 เวลา 02:58:02 น. &raquo;
    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" vAlign=bottom align=right height=20></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR class=hrcolor width="100%" SIZE=1>เรื่องนี้เป็นเรื่องของกรรมที่ต้องชดใช้ในเวลาอันรวดเร็ว ดังที่โบราณกล่าวไว้ว่าภายใน 3 วัน 7 วัน ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ เพราะเรื่องนี้ได้เกิดขึ้นแล้ว!!

    เรื่องนี้ ท่านดร.พระราชวรมุนี รองเจ้าคณะภาค 17 และรองเจ้าอาวาสวัดดุสิดาราม กทม. ได้นำมาเล่าให้ฟังอีกต่อหนึ่ง ท่านเจ้าคุณเล่าว่า วันหนึ่งท่าน ได้รับนิมนต์ให้ไปสวดศพแม่ครัวที่วัดแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ แม่ครัวคนนี้ถึงแก่กรรมด้วยอุบัติเหตุที่ ไม่น่าเชื่อ คือตกหม้อข้าวต้มตาย แล้วท่านเจ้าคุณก็ขยายความต่อไปว่า แม่ครัวผู้นี้เป็นมารดาของข้าราชการระดับสูงท่านหนึ่ง เธอเป็นแม่ครัวรับจ้างทำอาหารเลี้ยงแขกที่มาในงานศพที่วัดแห่งนี้แบบผูกขาดมานานจนร่ำรวย สามารถส่งเสียลูกๆเรียนจบมหาวิทยาลัย ได้ดีไปหลายคน



    กรรมที่ทำให้เธอต้องมาพบอุบัติเหตุจนถึงแก่ความตายนั้น เรื่องมีอยู่ว่า วันหนึ่ง แม่ครัวผู้นี้เห็นว่า เนื้อหมูจำนวนมากที่นำมาสับ เพื่อเตรียมทำข้าวต้มหมูเลี้ยงแขกที่มาในงานศพนั้น หายไปอย่างผิดปกติ ทั้งๆที่เพิ่งสับเสร็จไม่นาน แค่หันไปหยิบเครื่องปรุง หรือไปทำอย่างอื่นแค่ชั่วประเดี๋ยวประด๋าว พอหันกลับมาอีกครั้ง เพื่อจะนำเนื้อหมูที่สับวางทิ้งไว้บนเขียงใส่ลงหม้อข้าวต้ม ปรากฏว่าเนื้อหมูอันตรธานหายไปหมด โดยไม่มีร่องรอย พอถามคนโน้นคนนี้ก็ไม่มีใครรู้เรื่อง เพราะต่างก็วุ่นกับงานของตัวเอง แรกๆเธอก็คิดว่าไม่เป็นไร แต่ครั้นเป็นอย่างนี้ติดต่อกันบ่อยครั้งเข้าใน ทุกครั้งที่เผลอ เธอจึงอดรนทนไม่ได้ ดังนั้นจึงได้วาง แผนที่จะจับเจ้าขโมยตัวดี



    เธอทำทีเป็นสับเนื้อหมูวางไว้บนเขียงไม้เหมือนเดิม แล้วก็แสร้งหันไปทำอย่างอื่นเหมือนเคย แต่ทว่าตาคอยแอบจับจ้องอยู่ที่เขียงไม้ตลอดเวลา ทันใดนั้นก็มีลูกสุนัขผอมโซตัวหนึ่ง ซึ่งแอบซ่อนอยู่ใต้โต๊ะทำกับข้าวนั่นเอง ปีนขึ้นมากินเนื้อหมูสับจนหมดอย่างรวดเร็ว แล้วก็กระโดดวิ่งหนีไป เมื่อเห็นว่าเจ้าหัวขโมยเป็นลูกสุนัข เธอจึงรู้สึกโกรธแค้นมาก จึงได้วางแผนที่จะจัดการเจ้าลูกสุนัขตัวนี้ ดังนั้น ในวันรุ่งขึ้นเธอก็ทำทีสับเนื้อหมูทิ้งไว้บนเขียงไม้เหมือนเช่นเคย แต่คราวนี้เธอไม่ได้วางเขียงไม้ไว้ที่เดิม แต่กลับนำเขียงไม้ไปพาดกับปากหม้อข้าวต้มใบใหญ่ที่กำลังเดือดพลั่กๆอยู่ แล้วเอาปลายไม้ข้างหนึ่งพาดหมิ่นๆไว้ที่ปากหม้อข้าว จากนั้นเธอจึงเดินออกไปแอบดูอยู่ใกล้ๆ ฝ่ายเจ้าลูกสุนัขเมื่อเห็นไม่มีคนอยู่ตรงนั้น มันจึงกระโดดเต็มแรงเพื่อขึ้นมากินเนื้อหมูสับอย่างเคย แต่ทว่าปลายไม้ที่วางหมิ่นๆพาดกับปากหม้อข้าวไว้นั้นได้กระดกขึ้นมา ทำให้เจ้าลูกสุนัขตกลงไปในหม้อข้าวต้มที่กำลังเดือดพลั่กๆทันที ผลคือตายคาที่ โดยไม่มีโอกาสได้ร้องเลยสักแอะเดียว อนิจจา..เจ้าหมาน้อย



    เมื่อจัดการกับเจ้าลูกสุนัขได้แล้ว เธอก็รู้สึกปลอดโปร่งโล่งใจเป็นอันมาก เพราะไม่ต้องมาคอยกังวลว่าเนื้อหมูสับจะหายไปอีก เพียงไม่กี่วันเธอก็ลืมเรื่องนี้เสียสนิท ประกอบกับหลังจากนั้นไม่มีงานศพที่วัด เธอจึงไม่มีงานที่ต้องมาทำอาหารเลี้ยงแขก



    เวลาผ่านไป 7 วัน ครบวันที่ลูกสุนัขตายพอดี วันนั้นเผอิญมีงานศพที่วัด แม่ครัวคนนี้ก็เข้าไปรับงานจัดเลี้ยงเหมือนเดิม วันนั้นเป็นวันแรกของงานศพ เธอจึงได้ต้มข้าวต้มหมูเหมือนทุกครั้งที่ผ่านๆมา ขณะที่ข้าวต้มกำลังเดือดพลั่กๆอยู่นั้น เธอก็บอกคนงานให้มาช่วยยกหม้อข้าวลงจากเตาไฟ แต่แล้วเหตุการณ์ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น หูหิ้วหม้อข้าวต้มข้างที่เธอถือนั้นเกิดหักหลุดจากมือ ตัวเธอจึงถลำลื่น หัวทิ่มลงไปในหม้อข้าวต้มใบใหญ่ที่กำลังเดือดพลั่กๆ นั้น ตายทันที โดยไม่ทันได้ร้องสักแอะเดียว เป็นชะตากรรมเดียวกับที่เธอทำกับเจ้าลูกสุนัขตัวนั้นอย่างไม่ผิดเพี้ยน!!



    ชะรอยลูกสุนัขกับแม่ครัวคนนี้คงจะเคยเป็นเจ้ากรรมนายเวรกันมาหลายภพหลายชาติ ผูกพยาบาทอาฆาตกันไม่จบสิ้น ในชาตินี้จึงมาสร้างกรรม ทำเวรซึ่งกันและกันเพิ่มเข้าไปอีก



    ผู้เขียนขอย้ำว่ากฏแห่งกรรมนั้นมีจริง เป็นจริงได้ตลอดเวลาโดยไม่คาดฝัน สุดแท้แต่ว่าจะให้อโหสิกรรมต่อกัน เลิกอาฆาตพยาบาทจองเวรกันและกันหรือไม่ หากไม่ได้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน เจริญสติปัฏฐาน 4 ก็จะไม่รู้ซึ้งถึงกฏแห่งกรรม จะไม่รู้ถึงการให้อภัยทาน การเลิกอาฆาตพยาบาทกันและกัน กฏแห่งกรรมนั้นนอกจากจะมีจริง เป็นจริงแล้ว ยัง เกิดขึ้นได้โดยไม่เลือกกาลเวลาและสถานที่อีกด้วย


    ดังนั้นคงไม่มีอะไรประเสริฐเท่ากับความมีเมตตา ให้อภัยต่อกัน ไม่ว่ากับคนด้วยกัน หรือกับสรรพสัตว์ เพราะต่างก็มีชีวิต มีความรู้สึกเจ็บปวด ทุกข์ทรมานเหมือนๆกัน


    http://itsonline.myftp.org/boardirpc/index.php?topic=775.0



    อ่านแล้วหวาดเสียวแทนครับ


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>​
     
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    เห็นคนทานมังสวิรัติเฉพาะในช่วงเทศกาล เอ่อ..แล้วในวันอื่นล่ะ ลองดูตามนี้ดีกว่ามั๊ย น่าสนใจนา....


    พันวฤทธิ์
    3/10/51


    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center>หตุผลของการทานมังสวิรัติของ DAD
    « เมื่อ: วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม 2008 เวลา 14:57:59 น. »


    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" vAlign=bottom align=right height=20></TD></TR></TBODY></TABLE>






    <HR class=hrcolor width="100%" SIZE=1>

    ลูกๆหลายคนรวมถึงอาจารย์หลายท่านมักถามผมเสมอว่า<O:p</O:p
    ทำไม DAD ต้องทานมังสวิรัติในวันพระด้วย<O:p</O:p
    จริงๆแล้วมีอยู่หลายเหตุผลนะ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพเรื่องการไม่เบียดเบียน เรื่องบุญที่ได้รับ ฯลฯ<O:p</O:p
    แต่เหตุผลที่ทำให้ตัดสินใจได้อย่างเด็ดเดี่ยวก็เพราะ...<O:p</O:p
    การที่ DAD ได้รู้สึกถึงคุณค่าของชีวิตและที่สำคัญเป็นชีวิตที่ต่ำกว่ามนุษย์ นั่นคือ เดรัจฉาน<O:p</O:p
    ลองอ่านบทความข่างล่างนี้ดูนะ เผื่อ Dad จะมีเพื่อนร่วมเดินทางในเส้นทางสายบุญเพิ่มขึ้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    " เสียงกรีดร้อง ของชีวิต จิตหวาดหวั่น
    เสียงห้ำหั่น เข่นฆ่าน่าสยอง<O:p</O:p
    เสียงซวบซาบ คมดาบเชือด เลือดไหลนอง
    เสียงกรีดร้อ งสะท้านจิตสะกิดใจ<O:p</O:p
    เสียงสัพเพ สัตตา พาให้คิด
    ว่าชีวิต นั้นมีค่ากว่าสิ่งไหน<O:p</O:p
    อเวรา อย่ามีเวร อย่ามีภัย
    ชีวิตใคร ใครก็หวงอย่าล่วงเกิน<O:p</O:p
    สวดสัพเพ สัตตา มาแต่ไหน
    ยังเข้าใจ เนื้อแท้แค่ผิวเผิน<O:p</O:p
    ยังกินบ้าง ฆ่าบ้าง อย่างเพลิดเพลิน
    ยังใช้เงิน ซื้อชีวิตอนิจจา<O:p</O:p
    สัตว์เกิดมา ใช้กรรม ที่ทำไว้
    เป็นเป็ดไก่ กุ้งปูเป็นหมูหมา<O:p</O:p
    ตามต้นเหตุ ผลกรรม ที่ทำมา
    มิใช่ฟ้า ประทานไว้ให้คนกิน<O:p</O:p
    มีปัญญา แต่ไฉน จึงไม่คิด
    มองชีวิต กลับเห็นเป็นทรัพย์สิน<O:p</O:p
    เสียงกรีดร้อง ก่อนตาย ใครได้ยิน
    น้ำตาริน เมื่อถูกเชือดเลือดกระเซ็น<O:p</O:p
    พูดว่าสัตว์ เกิดมา เป็นอาหาร
    สัตว์ลนลาน หนีตายมีใครเห็น<O:p</O:p
    สัตว์จนใจ เถียงไม่ได้ พูดไม่เป็น
    ช่างเลือดเย็น เข่นฆ่าไม่ปราณี<O:p</O:p
    มีพืชผัก มากมาย นับไม่ถ้วน
    ทุกอย่างล้วน สดใสหลากหลายสี<O:p</O:p
    ธรรมชาติ จัดวางไว้ เป็นอย่างดี
    สัตว์วิ่งหนี พืชเต็มใจให้กินมัน<O:p</O:p
    เพราะเรากิน เขาจึงฆ่า เอามาขาย
    เราสบาย แต่สัตว์ต้องโศกศัลย์<O:p</O:p
    ท่องสัพเพ สัตตา มาทุกวัน
    เมตตากัน โปรดอย่าฆ่าและอย่ากิน<O:p</O:p
    เมื่อได้ฟัง เหตุผล ของDADแล้ว
    ขอลูกแก้ว จงอย่าได้ติฉิน<O:p</O:p
    หากว่าลูก มีโอกาส ที่ได้กิน
    ลูกจะสิ้น ข้อกังขาอย่างถาวร<O:p</O:p
    แม้ว่าลูก มีบุญมา แต่หนหลัง
    ลูกจงฟัง ในสิ่งที่DADสอน<O:p</O:p
    หากว่ากรรม ในอดีต มาตัดรอน
    ยามม้วยมรณ์ จิตก็ใสไม่เบียดเบียน"
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พ่อเคยบอกใช่มั้ยครับว่าพืชยิ่งตัดยิ่งแตกยอดออกมา<O:p</O:p
    ดังนั้นใน 1 สัปดาห์ลองใช้เวลา 1 วัน...สละการเบียดเบียนชีวิตด้วยการทานมังสวิรัติ<O:p</O:p
    อาจเป็นวันพระ วันเกิดตัวเอง หรือวันสำคัญอะไรก็ได้อย่างน้อยสุขภาพเราก็ดีขึ้นแน่นอน<O:p</O:p
    อย่าลืมดูแลตัวเองด้วยนะและที่สำคัญอย่าลืมเป็นเด็กดีนะครับ

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    รักลูกนะครับ<O:p</O:p
    พ่อเอง ( DADDY )<O:p</O:p


    นำมาจาก
    http://itsonline.myftp.org/boardirpc/index.php?topic=718.0


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 ตุลาคม 2008
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    เผื่อใครสนใจครับ และหากในกระทู้นี้คนสนใจบอกด้วย จะช่วยทำบุญครับ


    แจ้งขาดเจ้าภาพจองกฐิน212วัด <!--InformVote=0--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[0], 0);</SCRIPT>[​IMG] [​IMG]

    <!--MsgIDBody=0-->แจ้งขาดเจ้าภาพจองกฐิน212วัด

    นายเกษมสิทธิ์ มาพบ ผอ.สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครพนม เปิดเผยว่า กฐินเป็นการทำบุญเฉพาะกาลที่มีเวลาจำกัด คือ ในช่วงหลังออกพรรษาไปจนถึงลอยกระทง ซึ่งอานิสงส์จะมีมากกว่าการทอดผ้าป่าที่ถวายพระองค์เดียวได้ในเวลาไม่จำกัด การทอดกฐินในปัจจุบันอุบาสกอุบาสิกาเริ่มเข้าวัดทำนุบำรุงศาสนาน้อยลงตามลำดับในบางครั้งอาจหลงลืมเพราะมัวแต่ทำมาหากินหรืออาจเป็นเพราะอาจารย์ของพระภิกษุสงฆ์บางกลุ่ม ประพฤติตัวไม่เหมาะสม อาจมีส่วนทำให้ญาติโยมเสื่อมศรัทธาเข้าวัดทำบุญ ส่วนปัญหาหลักหนึ่งที่สำคัญ เป็นเพราะกฎของวัดและคณะกรรมการวัด มุ่งเป้าการทอดกฐินเน้นตัวเงินเป็นเงื่อนไขในการทำบุญมากจนเกินไป แทนที่จะเน้นที่รูปแบบ จนผู้คนไม่กล้าจะรับเป็นเจ้าภาพและเพื่ออนุรักษ์บุญกฐินไม่ให้ล้มหาย ขอให้ผู้รับทางสงฆ์อย่าตั้งกฎและคุยข่มกันถึงยอดเงิน อย่าให้ปัจจัยมาเป็นส่วนสำคัญนัก ส่วนผู้ให้ถ้ามีองค์ประกอบขององค์กฐิน 5,000-10,000 บาท และเครื่องอัฐบริขารที่จำเป็น เช่น เสื่อ หมอน มุ้ง กระติกน้ำ อีกทั้งไม่จำเป็นต้องทำคนเดียว สามารถทำเป็นหมู่คณะก็ได้ซึ่งเรียกว่ากฐินสามัคคี

    ในปี 2551 จากการสำรวจในพื้นที่ของ จ.นครพนม พบว่ามีวัดที่ยังไม่มีเจ้าภาพจองกฐินเลยจำนวน 212 วัด คือ อ.เมือง 13 วัด อ.เรณูนคร 4 วัด อ.ปลาปาก 38 วัด อ.วังยาง 5 วัด อ.ท่าอุเทน 15 วัด อ.โพนสวรรค์ 52 วัด อ.นาทม 8 วัด อ.ศรีสงคราม 27 วัด อ.บ้านแพง 27 วัด และ อ.นาแก 23 วัด ญาติโยมและผู้มีจิตศรัทธาที่มีความประสงค์จะขอเป็นเจ้าภาพจองกฐินตามวัดดังกล่าว ติดต่อสอบถามข้อมูลเบื้องต้นได้ที่สำนักงานพระพุทธศาสนา จ.นครพนม โทร.0-4251-6315, 0-4251-6316 <!--MsgFile=0-->

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#204080 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#204080 border=0><TBODY><TR><TD width=10>[SIZE=-3] [/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>จากคุณ : <!--MsgFrom=0-->เป็นประธานกฐินปีละวัด [​IMG] - [ <!--MsgTime=0-->3 ต.ค. 51 21:13:46 <!--MsgIP=0-->] [​IMG]


    http://www.pantip.com/cafe/religious/topic/Y7060655/Y7060655.html


     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    9 วิธีทำดี ได้บุญโดยไม่ต้องใช้เงิน

    <!-- Main -->[SIZE=-1]<EMBED pluginspage=http://www.macromedia.com/go/getflashplayer src=http://203.150.224.157/musicart//newmusicstation/rianchern/smallthing.swf width=0 height=0 type=application/x-shockwave-flash quality="high"></EMBED>
    <STYLE>body{background: #FFFF99}></STYLE>
    <CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>พระปิดตาบรมครูเทพโลกอุดร พิมพ์ "นะ" เอกลักษณ์</CENTER></CENTER>
    9 วิธีทำดี ได้บุญโดยไม่ต้องใช้เงิน
    (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม)

    คนไทยเรานั้น ได้ชื่อว่าเป็นพวกที่ชอบทำบุญสุนทานอยู่เสมอ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะความเชื่อที่ว่า

    'ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว'

    ซึ่งแม้ปัจจุบัน หลายคนจะรู้สึกกังขาว่า ทำไม คนที่เรารู้สึกว่าชั่ว ยังคงได้ดิบได้ดี เช่น ยังมีเงินทองและใช้ชีวิตที่สุขสบายกว่าเรา
    แต่นั่นก็ยังอธิบายได้ว่า เขาทำกรรมเก่าดี หรือยังกินบุญเก่าอยู่ ซึ่งที่เราเห็นด้วยตาว่า เขาสุขสบายก็อาจไม่จริง
    บางทีเขาอาจกำลังทุกข์ใจ เพราะต้องคอยระแวง ปกปิดความผิดของตน กลัวคนไปล่วงรู้อยู่ก็ได้ อย่างไรก็ดี
    โดยพื้นฐานแล้ว คนส่วนใหญ่ก็มักจะชอบทำบุญ เพราะเชื่อว่าเป็นการทำความดี และเป็นการสะสมผลบุญ
    ที่จะสนองให้เราได้รับสิ่งที่ดีในอนาคต หรือในชาติหน้า ซึ่งโดยแท้จริงการทำบุญนั้น ทันทีที่ทำก็เป็นความสุขแล้ว

    เพราะ บุญ คือ การทำความดีด้วยวิธีการต่างๆ ที่ทำให้อิ่มเอิบเบิกบานใจ
    โดยทั่วไป คนมักทำบุญกุศลด้วยการบริจาคทรัพย์ สิ่งของ หรือให้ทานเป็นโอกาสๆ เช่นบริจาคช่วยผู้ประสบภัยธรรมชาติ
    ร่วมสร้างศาสนสถาน ทอดกฐินผ้าป่า ช่วยเด็กกำพร้า หรือช่วยซื้อโลงศพ เป็นต้น ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่ดี
    แต่เชื่อไหมว่า ในชีวิตประจำวันของคนเรานั้น เรามีโอกาสทำความดี หรือทำบุญได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องใช้เงินทองหรือสิ่งของ
    ถึงแม้เราจะไม่ได้มีอาชีพเป็นแพทย์ พยาบาลที่ต้องช่วยเหลือคนเป็นประจำอยู่แล้วก็ตาม
    จะทำได้อย่างไรนั้น
    กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ขอเสนอแนะ

    9 วิธีทำดี ได้บุญแบบไม่ต้องใช้เงิน เพื่อเป็นแนวทางให้ท่านได้
    สะสมกุศลให้เพิ่มพูนขึ้น ดังต่อไปนี้

    1. ตื่นเช้าขึ้นมาก็คิดแต่สิ่งดีๆ ทันทีที่ตื่นนอน หากเราคิดถึงแต่สิ่งที่ดีที่งาม
    ก็จะทำให้จิตใจเราสดชื่น กระตือรือร้น พร้อมที่จะรับมือ กับชีวิตประจำวันด้วยความรื่นเริง
    ไม่หงุดหงิดโมโห แค่นี้ นอกจากเราจะมีความสุขแล้ว คนรอบข้างเราก็มีความสุขไปด้วย
    ถือว่าเป็นการทำบุญอย่างหนึ่ง

    2. ยิ้มแย้มแจ่มใส ในแต่ละวัน หากเราจะรู้จักยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่ว่าจะยิ้มกับคนรู้จักหรือไม่รู้จักก็ตาม
    หน้าตาของเราก็จะดูเป็นมิตร ทำให้คนอยากเข้าใกล้ ถ้าเราเป็นพ่อแม่ ยิ้มกับลูกก่อนไปทำงาน ลูกก็ดีใจ
    ลูกยิ้มกับพ่อแม่ๆ ก็สบายใจว่าต่างคนต่างไม่มีเรื่องเดือนร้อนใจแน่ หรือหากมีก็กล้าจะมาปรึกษาหารือ
    หรือหากเป็นเจ้านาย ยิ้มกับลูกน้องๆ ก็รู้ว่าวันนี้นายอารมณ์ดี ทำให้ทำงานด้วยความมั่นใจ
    ไม่ต้องระแวงว่าจะถูกเรียกไปต่อว่าและถ้าเรียกก็ดูน่าจะมีเมตตา กว่าเวลาที่นายทำหน้ายักษ์

    3. ทักทาย โอปราศรัย คนบางคน นอกจากจะไม่ยิ้มกับใครแล้ว ยังชอบทำหน้าบึ้งตึง
    ไม่คิดจะพูดจาทักทายใครด้วย ซึ่งถ้าเกิดทำงานด้านบริการ คนมาติดต่อคงรู้สึกเกร็ง
    และกังวลตลอดว่าจะถูกเอ็ดตะโรเมื่อไรก็ไม่รู้ ดังนั้น นอกจากยิ้มแย้มแจ่มใสแล้ว
    เราก็ควรจะเอื้อนเอ่ยวาจาทักทายผู้มารับบริการก่อน การทักทายปราศรัยกับผู้อื่น
    ไม่ว่าจะเป็นผู้มาขอรับบริการ เพื่อนฝูงคนรู้จัก ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
    หรือแม้แต่คนที่มาทำงานให้เรา เช่น แม่บ้าน ยาม ฯลฯ จะทำให้เขารู้สึกเป็นมิตร และ
    อบอุ่นใจ ทำให้บรรยากาศในที่นั้นๆ ดีขึ้น

    4. แบ่งปันน้ำใจไมตรี สามารถทำได้ทุกที่และทุกเวลา เช่น ช่วยพ่อแม่จัดโต๊ะอาหาร
    ล้างถ้วยชาม ลุกให้เด็ก ผู้หญิงท้อง หรือคนแก่นั่ง ช่วยถือของหนักให้คนในรถเมล์
    หยุดรถให้คนข้ามถนน หรือรถอื่นไปก่อน ช่วยแบ่งเบาภาระงาน ให้เพื่อนในที่ทำงาน เป็นต้น
    การให้ความช่วยเหลือเช่นนี้ เป็นการทำบุญด้วยการลดความเห็นแก่ตัวของเราลง
    และทำให้เราได้รับมิตรไมตรีสนองตอบกลับมาด้วย

    5. ปลุกปลอบให้กำลังใจ ช่วยแก้ไขปัญหา หลายๆครั้งที่เพื่อนฝูงญาติมิตรอาจประสบปัญหาชีวิต
    และเกิดความทุกข์ใจแสนสาหัส สิ่งที่ดีที่สุดคือ ความเป็นมิตรและถ้อยคำที่ปลุกปลอบให้กำลังใจ
    คำพูดดีๆ ที่มาจากใจ จะทำให้ผู้ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์ รู้สึกดีขึ้นและมีพลังที่ต่อสู้ชีวิตต่อไปได้

    6. ให้คำชมด้วยความนิยมยินดี การกล่าวคำชื่นชมต่อผู้อื่นไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดๆ ย่อมจะทำให้ผู้รับคำชมรู้สึกปลาบปลื้มยินดี
    และมีความสุขได้ โดยเฉพาะในเรื่องที่เขาทำสำเร็จ แต่ทั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง และจริงใจด้วย
    ดูอย่างตัวเราเองแค่วันไหน แต่งตัวสวย แล้วมีคนชม เราก็หน้าบานไปทั้งวันแล้ว เช่นเดียวกัน คนทุกคนล้วนอยากได้การยอมรับและคำชมทั้งนั้น เพราะคำชมจะเป็นการเสริมเพิ่มกำลังใจให้อยากทำดียิ่งๆ ขึ้นไป

    7. แนะนำให้คำสอนที่ดี มีคุณค่า ไม่ว่าจะเราจะอยู่ในสถานภาพใด เช่น เป็นลูก เป็นพ่อแม่
    ลูกน้อง เจ้านาย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมอาชีพ ฯลฯ หากเราจะมีเมตตา
    แนะนำในสิ่งที่ดี มีประโยชน์และคุณค่าต่อผู้อื่น หรือสอนในสิ่งที่เราชำนาญให้แก่ผู้อื่น
    ก็จะเป็นการช่วยเกื้อกูลสังคมให้ดียิ่งขึ้น และผลก็จะย้อนมาสู่ตัวเราผู้ทำด้วย
    เช่น สอนงานให้ลูกน้องต่อไป เมื่อเขาทำงานเป็น เราก็ไม่ต้องเหนื่อยมาก
    และเขาก็จะรู้สึกขอบคุณเรา แนะวิธีออกกำลังกายให้พ่อแม่ ท่านก็แข็งแรง ไ
    ม่เจ็บไข้ได้ป่วยง่าย เราก็สบายใจ หรือแม้แต่การแนะนำให้ความรู้ที่เรามี
    หรือทราบมาแก่คนไม่รู้จัก อย่างแนะนำหมอ ยาดีๆ หรือธรรมะที่ดีแก่คนอื่น
    ทำให้เขาหายป่วยหรือรู้สึกดีขึ้น เขาก็จะอธิษฐานหรือให้พรเรา ทำให้เราพบแต่สิ่งดีๆ ในชีวิต

    8. การให้อภัยในความผิดพลาดของผู้อื่น โดยทั่วไปคนเรามักจะให้อภัยตัวเองง่าย
    และมีข้อแก้ตัวให้ตนต่างๆ นานา แต่ถ้าผู้อื่นผิดพลาดแล้ว เรามักเห็นเป็นเรื่องใหญ่
    และตำหนิติเตียนไม่รู้จักแล้วจบ ดังนั้น เราจะต้องหัดมีเมตตา
    รู้จักให้อภัยต่อผู้อื่นให้ง่าย เหมือนให้อภัยแก่ตัวเราเองเพราะการให้อภัย
    จะทำให้เราไม่ผูกใจเจ็บ ไม่อาฆาตมาดร้าย ไม่ก่อศัตรู แต่ทำให้จิตใจเราสงบเย็น
    เป็นฝึกจิตพื้นฐานอย่างหนึ่งที่จะนำไปสู่กุศลขั้นสูงอื่นๆ ต่อไป

    9. ฝึกจิตให้สงบและสบาย ด้วยการทำสมาธิหรือสวดมนต์ การทำสมาธิ
    ฟังดูเหมือนยาก แต่จริงๆ เราทำได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน หรือทำอะไรอยู่
    เช่น กินข้าว อาบน้ำ ทำการบ้าน ทำงานบ้าน อ่านหนังสือ อยู่ที่ทำงาน
    หัวใจหลักคือให้เอาใจไปจดจ่อ ในสิ่งที่ทำเพียงอย่างเดียว จะทำให้เราทำทุกอย่างได้ดีขึ้น
    เพราะไม่พะวักพะวน คิดหรือทำหลายอย่างในเวลาเดียวกันอันทำให้ขาดสติ และทุกๆ คืนก่อนนอน
    ก็ควรสวดมนต์ไหว้พระที่เรานับถือ โดยอาจเลือกบทสวดสั้นๆ ที่เราชอบ เสร็จแล้ว
    ก็อย่าลืมแผ่เมตตาให้กับตัวเราเอง และผู้อื่นตามสมควร

    ที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าเป็นการทำความดีที่ไม่ต้องใช้เงินเลย แต่สามารถปฏิบัติใน
    ชีวิตประจำวันของเราได้ โดยไม่ยากเย็นเข็ญใจจนเกินไป

    อีกทั้งปฏิบัติแล้วก็เป็นบุญกุศลที่จะเกื้อหนุนให้เรา และคนรอบตัวมีความสุข
    เพราะ'บุญ' ในอีกความหมายหนึ่งก็คือ เครื่องชำระกาย ใจให้บริสุทธิ์ เป็นการทำประโยชน์ให้แก่ตัวเราเอง
    และผู้อื่น และยังช่วยลดกิเลส ความเศร้าหมองต่างๆ ได้


    เริ่มทำแต่วันนี้เลยนะครับเพราะมีคนบอกว่า 'ความดีไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง'



    คัดลอกเฉพาะบทความจาก
    http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=oasiiswithyou&month=30-09-2008&group=11&gblog=19



    [/SIZE]
     
  15. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    916
    ค่าพลัง:
    +4,291
    95 พรรษาสังฆราช

    วันที่ ๓ ตุลาคม เป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งของปวงพุทธศาสนิกชนชาวไทย เป็นวันคล้ายวันประสูติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องค์พระประมุขแห่งสังฆมณฑลและปวงพุทธศาสนิกบริษัทของไทย เมื่อวาระดิถีเช่นนี้เวียนมาถึง จึงเป็นที่ปลื้มปีติและเป็นโอกาสที่ปวงพุทธศาสนิกชนจะได้ถวายมุทิตาสักการะ และถวายพระกุศล ถวายพระพร เพื่อความเป็นสิริมงคลตามประเพณีนิยม

    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร) มีพระนามเดิมว่า เจริญ นามสกุล คชวัตร ทรงมีพระชาติภูมิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี แล้วเข้ามาอยู่ศึกษาพระปริยัติธรรม ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนพระชนมายุครบอุปสมบท และทรงอุปสมบท ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๗๖ โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ประทับอยู่ศึกษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดมาจนกระทั่งสอบได้เป็นเปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๘๔

    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงดำรงสมณศักดิ์มาโดยลำดับดังนี้ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ พระราชาคณะชั้นราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระโศภณคณาภรณ์ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมวราภรณ์ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรองที่ พระสาสนโสภณ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระญาณสังวร และทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็น สมเด็จพระสังฆราช ในราชทินนามที่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๓๒ นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นผู้ใคร่ในการศึกษา ทรงมีพระอัธยาสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนมาตั้งแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในด้านภาษา ทรงศึกษาภาษาต่าง ๆ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน จีน และ สันสกฤต จนสามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี กระทั่งเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ พระอุปัชฌาย์ของพระองค์ทรงเห็นว่า จะเพลินในการศึกษามากไป วันหนึ่งทรงเตือนว่า ควรทำกรรมฐานเสียบ้าง เป็นเหตุให้พระองค์ทรงเริ่มทำกรรมฐานมาแต่บัดนั้น และทำตลอดมาอย่างต่อเนื่อง จึงทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรงภูมิธรรมทั้งด้านปริยัติและด้านปฏิบัติ

    เนื่องจากทรงรอบรู้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี จึงทรงศึกษาหาความรู้สมัยใหม่ด้วยการอ่านหนังสือภาษาอังกฤษ ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม เป็นเหตุให้ทรงมีทัศนะกว้างขวาง ทันต่อเหตุการณ์บ้านเมือง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการสั่งสอนและเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก เป็นเหตุให้ทรงนิพนธ์หนังสือทางพระพุทธศาสนาได้อย่างสมสมัย เหมาะแก่บุคคลและสถานการณ์ในยุคปัจจุบัน และทรงสั่งสอนพระพุทธศาสนาทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ

    ในด้านการศึกษา ได้ทรงมีพระดำริทางการศึกษาที่กว้างไกล ได้ทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งแรกของไทย คือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมาแต่ต้น ทรงริเริ่มให้มีสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อฝึกอบรมพระธรรมทูตไทยที่จะไปปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ

    ทรงเป็นพระมหาเถระไทยรูปแรกที่ได้ดำเนินงานพระธรรมทูตในต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยเริ่มจากทรงเป็นประธานกรรมการอำนวยการสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศเป็นรูปแรก เสด็จไปเป็นประธานสงฆ์ในพิธีเปิดวัดไทยแห่งแรกในทวีปยุโรป คือวัดพุทธปทีป ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ทรงนำพระพุทธศาสนาเถรวาทไปสู่ทวีปออสเตรเลียเป็นครั้งแรก โดยการสร้างวัดพุทธรังษีขึ้น ณ นครซิดนีย์ ทรงให้กำเนิดคณะสงฆ์เถรวาทขึ้นในประเทศอินโดนิเซีย ทรงช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศเนปาล โดยเสด็จไปให้การบรรพชาแก่ศากยะกุลบุตรในประเทศเนปาลเป็นครั้งแรก ทำให้ประเพณีการบวชฟื้นตัวขึ้นอีกครั้งหนึ่งในเนปาลยุคปัจจุบัน ทรงเจริญศาสนไมตรีกับองค์ดาไล ลามะ กระทั่งเป็นที่ทรงคุ้นเคยและได้วิสาสะกันหลายครั้ง และทรงเป็นพระประมุขแห่งศาสนจักรพระองค์แรกที่ได้รับทูลเชิญให้เสด็จเยือนประเทศจีนอย่างเป็นทางการในประวัติศาสตร์จีน

    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศเป็นเอนกประการ ทรงเป็นนักวิชาการและนักวิเคราะห์ธรรมตามหลักการของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า ธัมมวิจยะ หรือธัมมวิจัย เพื่อแสดงให้เห็นว่า พุทธธรรมนั้นสามารถประยุกต์ใช้กับกิจกรรมของชีวิตได้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับพื้นฐานไปจนถึงระดับสูงสุด ทรงมีผลงานด้านพระนิพนธ์ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษจำนวนกว่า ๑๐๐ เรื่อง ประกอบด้วยพระนิพนธ์แสดงคำสอนทางพระพุทธศาสนาทั้งระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง รวมถึงความเรียงเชิงศาสนคดีอีกจำนวนมาก ซึ่งล้วนมีคุณค่าควรแก่การศึกษา สถาบันการศึกษาของชาติหลายแห่งตระหนักถึงพระปรีชาสามารถและคุณค่าแห่งงานพระนิพนธ์ ตลอดถึงพระกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ จึงได้ทูลถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์เป็นการเทิดพระเกียรติหลายสาขา

    นอกจากพระกรณียกิจตามหน้าที่ตำแหน่งแล้ว เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ยังได้ทรงปฏิบัติหน้าที่พิเศษ อันมีความสำคัญยิ่งอีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรงเป็นพระอภิบาลในพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน เมื่อครั้งเสด็จออกทรงผนวช เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๙ พร้อมทั้งทรงถวายความรู้ในพระธรรมวินัยตลอดระยะเวลาแห่งการทรงผนวช ทรงเป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อครั้งเสด็จออกทรงผนวชเป็นพระภิกษุ เมื่อพุทธศักราช๒๕๒๑

    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงดำรงตำแหน่งหน้าที่สำคัญทางการคณะสงฆ์ในด้านต่าง ๆ มาเป็นลำดับ เป็นเหตุให้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ประเทศชาติ และประชาชน เป็นเอนกประการ นับได้ว่าทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรงเพียบพร้อมด้วยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ และทรงเป็นครุฐานียบุคคลของชาติ ทั้งในด้านพุทธจักรและอาณาจักร

    เนื่องในวโรกาสคล้ายวันประสูติ ปีที่ ๙๕ ในวันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย น้อมเกล้า ฯ ถวายพระกุศลถวายพระพร ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและพระกุศลบารมีที่ได้ทรงบำเพ็ญมาแล้ว จงอำนวยให้ทรงมีพระสุขพลานามัยสมบูรณ์ ทรงเจริญพระชนมายุยิ่งยืนนาน เสด็จสถิตเป็นสิริมิ่งมงคลแก่ปวงพุทธบริษัทและปวงชนทั่วไป ตลอดกาลนานเทอญ ฯ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff><!-- [​IMG] -->[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซท์พุทธวงศ์
    http://phuttawong.net
     
  16. หนึ่ง1

    หนึ่ง1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,639
    ขอร่วมทำบุญเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันเกิด ลพ.คูณ 199.99บาท ขอบุญนี้จงสำเร็จแด่ หลวงพ่อคูณด้วยเทอญจาก ลูกศิษย์คนหนึ่งของหลวงพ่อ
     
  17. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    916
    ค่าพลัง:
    +4,291
    วันนี้ขอนำเอาใบโมทนาบัตรและใบตอบขอบคุณของโรงพยาบาลต่างๆที่ทางทุนนิธิฯได้ส่งเงินไปช่วยเหลือ นำมาให้ทุกๆท่านที่มีส่วนได้ร่วมบริจาคทรัพย์เพื่อให้ทุนนิธิฯได้มีโอกาสไปดำเนินการได้ร่วมโมทนาบุญกันนะครับ
    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Scan0062.jpg
      Scan0062.jpg
      ขนาดไฟล์:
      72.2 KB
      เปิดดู:
      1,101
    • Scan0063.jpg
      Scan0063.jpg
      ขนาดไฟล์:
      73.1 KB
      เปิดดู:
      1,083
    • Scan0064.jpg
      Scan0064.jpg
      ขนาดไฟล์:
      73.3 KB
      เปิดดู:
      1,085
    • Scan0065.jpg
      Scan0065.jpg
      ขนาดไฟล์:
      64.9 KB
      เปิดดู:
      1,062
    • Scan0066.jpg
      Scan0066.jpg
      ขนาดไฟล์:
      90.3 KB
      เปิดดู:
      1,106
    • Scan0067.jpg
      Scan0067.jpg
      ขนาดไฟล์:
      90.1 KB
      เปิดดู:
      1,057
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๖๐ | ทรงแสดงปฐมเทศนา
    <!-- Main -->[SIZE=-1]พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๖๐ : ทรงแสดงปฐมเทศนา

    ทรงสำแดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
    โปรดเบญจวัคคีย์

    ครั้นถึงวันอาสาฬปุณณมี วันที่พระพุทธเจ้าจะทรงแสดงธรรม "ปฐมเทศนา" นั้น เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ซึ่งเป็นวันรุ่งขึ้นหลังจากที่เสด็จมาถึงและพบเบญจวัคคีย์ คือ วันอาสาฬหบูชานั่นเอง

    [​IMG]

    เมื่อได้โอกาสอันควรที่จะแสดงธรรมโปรดพระปัญจวัคคีย์ พระพุทธองค์จึงประกาศพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือการปฐมเทศนาครั้งแรกในโลก ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวันแห่งนั้น พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมในเรื่องถึงที่สุดสองอย่าง คือ การพัวพันหนักในกามสุข และการประกอบกรรม อันเป็นการทรมานตัวเองให้เหนื่อยเปล่า ว่าไม่ใช่ทางแห่งความหลุดพ้น และทรงชี้ทางให้ดำเนินตาม มัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลางที่เรียกว่า
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ธรรมะปราบมาร โพธิปักขิยธรรม 37

    [​IMG]



    ถ้ามนุษย์ ฝึกจิตได้ ในแนวสูง
    เปรียบดั่งยูง หรืออินทรีย์ ที่จิตมั่น
    เคยร่อนฟ้า อยู่กลางป่า ต้องฝ่าฟัน
    กิเลสนั้น มีรอบกาย ทำร้ายเรา

    เมื่อบินสูง จะกลับต่ำ ทำไม่ได้
    จึงต้องกราย ปีกหาง กลางขุนเขา
    เปรียบเช่นจิต ปุถุชน คนเราเรา
    หากเคยเข้า ลิ้มโลกุตตรฯ มิหยุดลอง

    ความสงบ ระงับ ดับกิเลส
    มองเห็นเหตุ แห่งภยา น่าสยอง
    วนวัฏฏา กระเสือกกระสนมา น้ำตานอง
    อยู่ในคลอง กามเกียรติกิน ดิ้นกันไป

    นักกีฬา มีสมัครเล่น มีทีมชาติ
    แต่มิขาด การฝึกซ้อม ด้วยฝันใฝ่
    เพราะต้องการ เหรียญทอง ผ่องอำไพ
    ประดับไว้ ในสกุล หนุนเผ่าพงษ์

    นักปฏิบัติ ก็มี มิได้แปลก
    ยังจำแนก เป็นมือใหม่ จิตไม่หลง
    มีศรัทธา ยึดมั่นธรรม คำพุทธองค์
    เพื่อปลดปลง แอกแบกไว้ ให้คลายจาง

    มือกระบี่ มือดาบ คิดปราบเซียน
    ที่วนเวียน ด้วยเพลงเขลา เงาผีสาง
    ล่อหลอกจิต ติดกามไว้ มิให้จาง
    อย่าอางขนาง คิดปราณี ที่จะฟัน

    แต่ละเพลง ที่บรรเลง ในดวงจิต
    ต้องครวญคิด ถึงเทคนิค ที่สร้างสรรค์
    ศึกษาให้ ปรุโปร่ง โล่งทางตัน
    แล้วจึงฟัน ด้วยเพลง(ธรรม)เดียว อย่างเชี่ยวชาญ



    เจริญในธรรม เจ้าค่ะ
    จากคุณหิ่งห้อย

    http://www.dhammathai.org/kaveedhamma/view.php?No=802
     

แชร์หน้านี้

Loading...