ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. BD

    BD เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +419
    ร้านเจ๊ปากมากหมดแล้วครับแต่ร้านอื่นยังพอมี
    ขอบพระคุณครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCN5151.JPG
      DSCN5151.JPG
      ขนาดไฟล์:
      821.6 KB
      เปิดดู:
      251
    • DSCN5136.JPG
      DSCN5136.JPG
      ขนาดไฟล์:
      857 KB
      เปิดดู:
      176
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    น้ำอธิษฐานกันรังสีปรมาณู ของ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม


    คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม ในอิริยาบถยืน


    [​IMG]
    <!-- .jpg [ 18.92 KiB | เปิดดู 345 ครั้ง ] -->


    ใบตั้งน้ำอธิษฐานของ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม
    วัดอาวุธวิกสิตาราม บางพลัด กรุงเทพ


    การเตรียมน้ำ ให้หาน้ำสุกหรือน้ำสะอาดที่ใช้ดื่มได้ ใส่ภาชนะที่มีฝาปิดให้เรียบร้อยมิให้ฝุ่นละอองหรือแมลงลงไปในน้ำได้ การตั้งน้ำแต่ละครั้งให้มีน้ำมากพอที่จะใช้ดื่มได้ตลอดสัปดาห์
    เวลาในการตั้งน้ำ ให้ตั้งวันเสาร์เวลาเช้า ตั้งแต่ ๐๘.๐๐ น. เป็นต้นไป แต่ต้องก่อนบ่ายสองโมงเย็น
    คำอธิษฐาน ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วอธิษฐานดังต่อไปนี้
    “ข้าพเจ้า ตั้งน้ำไว้ นางบุญเรือนเป็นผู้อธิษฐานธรรมของพระพุทธเจ้า ขอธรรมของพระพุทธเจ้าจงดลบันดาลให้น้ำนี้เป็นยาทิพย์...(นอกจากนี้พูดเอาเอง ตามชอบใจ)...”

    เวลาที่ใช้ดื่มได้ ตั้งแต่ ๐๘.๐๐ น. ของวันอาทิตย์เป็นต้นไป นำน้ำนั้นมาดื่มได้เป็นน้ำอธิษฐาน ย่อมมีสรรพคุณดังคำอธิษฐานนั่นแล มีลักษณะเป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์หรือเป็นยาทิพย์

    ของที่ให้อธิษฐานเองนอกจากน้ำ ศิษย์บางท่านได้กล่าวว่าความจริงยังมีไพลอีกอย่างหนึ่งที่ท่านอนุญาตให้ลูก หลานหรือศิษย์อธิษฐานเองได้ มีลักษณะเช่นเดียวกับการอธิษฐานน้ำ

    วิธีใช้ของอธิษฐานบางอย่าง ของอธิษฐานทุกชนิดย่อมใช้ประโยชน์ตามของนั้น ๆ แต่มีระเบียบในใบตั้งน้ำของคุณแม่กล่าวถึงรายการพิเศษอยู่บ้าง ขอนำมาลงไว้ ท่านกล่าวว่า “ปูนต้องนำมาให้อธิษฐานให้ พริกไทยใช้รับประทานวันละเม็ด ไพลใช้รับประทานครั้งหนึ่งเท่าศีรษะมือ โขลกให้ละเอียดแล้วกรองเอาแต่น้ำ เติมน้ำอธิษฐานพอสมควร ถ้าเป็นบิดเติมน้ำปูนใส ถ้าท้องผูกเติมเกลือแล้วไม่ต้องใช้น้ำปูนให้ใช้น้ำอธิษฐานค่อนแก้วดื่มก่อน นอนจะถ่ายได้”

    คำอธิษฐานทั่วไป “ข้าพเจ้า สมมุติว่า คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม เป็นผู้อธิษฐานธรรมของพระพุทธเจ้า ขอธรรมของพระพุทธเจ้าจงดลบันดาลของเหล่านี้ให้ศักดิ์สิทธิ์เป็นยาทิพย์ ใช้รักษาโรคให้หายทุกชนิด ให้มีแนวชีวิตรุ่งโรจน์ ให้อายุยืน” (ปรารถนาสิ่งใดให้อธิษฐานตามไปด้วย)

    ผู้เป็นลูกหลานและศิษย์ของคุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม หรือผู้เคารพเลื่อมใสนั้น แม้คุณแม่บุญเรือนจะวายชนม์ไปแล้ว ก็ยังคงตั้งน้ำอธิษฐานให้มีความศักดิ์สิทธิ์ใช้รับประทานได้เช่นเดิม ขอทุกท่านที่เคยทำไปแล้วก็โปรดทำต่อไป ส่วนผู้ไม่เคยทำก็ได้โปรดลองทำดูติดต่อกันไปหลาย ๆ เสาร์ แล้วท่านจะประหลาดใจในผลของน้ำอธิษฐานอย่างน่าพิศวงทีเดียว เช่น เด็กในบ้านที่เคยเจ็บป่วยก็จะหายเป็นปลิดทิ้งอย่างคาดไม่ถึง

    ขออำนาจของพระรัตนตรัยจงเป็นที่พึ่ง ขออัญเชิญบารมีอันสูงยิ่งของคุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม
    จง สถิตสถาพรอยู่กับท่านทั้งหลาย แม้ประสงค์สิ่งใดจงสมประสงค์ทุกประการ และถึงพร้อมด้วยธรรมสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ทุกท่าน เทอญ ฯ


    <!--แนบไฟล์:
    -->
    <!--คำอธิบาย: ภาพถ่ายไร้กาลเวลาของคุณแม่บุญเรือนซึ่งท่านอธิษฐานจิตไว้ว่า อัดกี่ครั้ง กี่ภาพ ก็คือท่านเสกไว้แล้วทุกครั้ง...ทุกภาพ...
    --> ภาพถ่ายไร้กาลเวลาของคุณแม่บุญเรือนซึ่งท่านอธิษฐานจิตไว้ว่า อัดกี่ครั้ง กี่ภาพ ก็คือท่านเสกไว้แล้วทุกครั้ง...ทุกภาพ...


    [​IMG]
    <!-- .jpg [ 69.89 KiB | เปิดดู 347 ครั้ง ] -->

    อ้อ ผมลืมเรียนทุกท่านไป

    คุณแม่บุญเรือน เคยกล่าวย้ำหนักแน่นว่า ...

    "ให้ทำน้ำอธิษฐานกินทุกวันนะ กินไปเถิดกินให้เนื้อเป็นทิพย์ คราวนี้รังสีปรมาณูก็ทำอันตรายไม่ได้"

    ผม มั่นใจพระอริยบุคคลเช่นท่านว่าเมื่อคิดที่จะพูดสิ่งใด สิ่งนั้นท่านย่อมต้องตรึกตรองกรองกลั่นออกจากจิตใจจริง ๆ แล้วว่าเป็นสัจจะ เป็นความจริงแบบหนึ่งไม่มีสอง ท่านจึงพูดออกมา ผมจึงให้เครดิตกับวิธีการทำน้ำอธิษฐานของท่านมากและทำอยู่เป็นประจำ ก็ได้รับผลสมดังที่ท่านรับรองไว้จริงในเรื่องของความเจ็บไข้ แต่ในเรื่องของรังสีปรมาณูนั้นคงต้องคอยกันอีกพักหนึ่งแหละครับ

    และผมก็ไม่อยากพิสูจน์หรอก ไม่ต้องลองได้แหละดี !

    จากผลงานการเขียนของคุณรณธรรม ธาราพันธุ์
    ขอขอบคุณ นวรัตน์ดอทคอม เป็นที่สุด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2009
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    [​IMG]

    คนซื่อสัตย์ คือ สมบัติของพระราชา

    ที่มา หนังสือพิมพ์สยามรัฐฉบับวันศุกร์ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๑



    เมื่อหลายปีก่อน (ประมาณสัก ๑๓ปี) มีนักธุรกิจคนหนึ่งไปหาอาตมาที่วัดสุทัศน์ฯ

    เป็นนักธุรกิจที่ทำงานอยู่กับคุณเจริญคุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี

    เมื่อพบกัน ท่านผู้นี้ก็แจ้งความประสงค์ของการมาพบ และเล่าเรื่องที่เป็นจุดประสงค์ ดังนี้...

    "ท่านคงพอจะจำผมได้นะครับ เราเคยพบกันที่บ้านของคุณเจริญคุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี

    ผมมีเรื่องอยากจะเล่าให้ท่านฟังดังนี้ว่า

    เมื่อก่อนผมเป็นครูสอนวิชาภูมิศาสตร์และวิชาประวัติศาสตร์

    ปกติผมต้องไปค้นคว้าข้อมูลในหอสมุดแห่งชาติ

    ต่อมา ก็มีนักเรียนหญิงคนหนึ่งผูกเปีย ๒ ข้างเข้าไปค้นข้อมูลอย่างจริงจัง

    ว่างก็สนทนากันถึงเรื่องวิชาการ

    ...อยู่มาวันหนึ่งนักเรียนหญิงคนนั้นก็ชวนผมไปเที่ยวบ้าน

    โดยบอกว่าจะให้พ่อเลี้ยงข้าวหนึ่งมื้อ ในฐานะที่ให้ความรู้ด้านวิชาการ

    โดยมีการนัดแนะกันที่พระราชวังดุสิต สวนจิตรลดา

    โดยเธอบอกว่าเมื่อเข้าประตูที่ ๑

    แล้วขอให้บอกแก่คนที่เฝ้าประตูด้วยคำพูดนี้ (เป็นคำเฉพาะ)

    ...ครั้นถึงวันนัดหมายผมก็เดินทางไปโดยรถแท็กซี่

    เมื่อเข้าประตูผมก็มิได้สงสัย คงบอกเจ้าหน้าที่ตามนั้น

    ครั้นถึงขั้นที่ ๒ ผมก็บอกตามนั้นอีก เจ้าหน้าที่ก็อัธยาศัยดี ให้ความเคารพผมอย่างยิ่ง

    แต่พอถึงขั้นที่๓ ผมก็เริ่มเห็นภาพชัดเจนว่า...แท้ที่จริงเด็กผู้หญิงคนนั้นคือ

    "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี"

    ซึ่งตอนนั้นยังมิได้เฉลิมพระยศนี้...

    ...ท่านครับ พอผมนึกออกก็เริ่มสั่นแล้ว

    แต่เหตุที่ผมนึกไม่ออกนั้น เพราะผมไม่เคยคิดเลยว่า

    เจ้าฟ้าจะสนพระทัยในวิชาการอย่างจริงจัง

    เวลาค้นคว้าก็ทรงสืบค้นด้วยพระองค์เองทุกอย่าง

    ทรงค้นคว้าและจดจำอย่างขมีขมัน

    โดยมิได้มีข้าราชบริพารเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับพระองค์

    และเวลาที่ทรงสนทนาก็ให้ความนับถือคู่สนทนา

    ยิ่งรู้ว่าผมเป็นครูสอนวิชาดังกล่าว

    ...เมื่อผมรู้ว่านักเรียนหญิงคนนั้นคือสมเด็จพระเทพฯ ผมก็ประหม่า

    และแล้วรถแท็กซี่ก็ถึงที่นัดพบ

    สักครู่พระองค์ก็เสด็จออกมาแล้วตรัสปฏิสันถาร

    ถึงตอนนี้ผมก็ก้มลงกราบกับพื้น

    และที่ทำให้ผมสั่นยิ่งขึ้นก็คือ

    ตอนนี้ผมรู้แล้วว่าคุณพ่อของเด็กผู้หญิงคนนี้คือ

    "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว"

    ...ท่านครับ

    สักครู่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็เสด็จออกมา

    ทรงมีพระพักตร์ที่ยิ้มแย้มแล้วตรัสว่า

    "เ ห็นลูกสาวบอกว่าเป็นเพื่อนกัน"

    เมื่อพระองค์ตรัสดังนี้

    ผมก็ก้มลงกราบด้วยความประหม่าเป็นที่สุด แล้วกราบบังคมทูลว่า

    "มิเป็นการบังอาจ พระพุทธเจ้าข้า"

    ...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณตรัสว่า

    ขอให้ทำตัวตามปกติไม่ต้องประหม่าหรือกลัวแต่อย่างใด

    พระองค์ตรัสขอบใจที่ได้เป็นเพื่อนสนทนาในวิชาการดังกล่าว

    จากนั้นพระองค์ก็ตรัสว่า

    "อันที่จริงก็มีผู้อยากขอเข้าเฝ้าฯ เป็นจำนวนมาก

    บางรายก็ขอนำเงินขึ้นทูลเกล้าถวาย แต่เราก็ไม่สามารถจะรับเงินของบางคนได้

    เราจะรับเงินของเขาได้อย่างไร ในเมื่อเงินที่เขานำมาถวายเรานั้น

    เป็นเงินที่เกิดจากการขายแผ่นดินของเรา

    เราจึงรับเงินนั้นไม่ได้

    ...ถ้าจะถามพระราชาอย่างเราว่าพระราชาอย่างเราต้องการอะไร

    เราก็ขอตอบว่า...พระราชาอย่างเราต้องการคนที่ซื่อสัตย์

    เพราะคนที่ซื่อสัตย์ คือ สมบัติของพระราชาอย่างเรา"

    ...ท่านครับ

    ผมก้มลงกราบถวายบังคมพระองค์อีกครั้ง ด้วยความซาบซึ้งน้ำตาไหล

    ในพระมหากรุณาธิคุณ ที่พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้แก่ครูสอนหนังสือเล็กๆ คนหนึ่ง

    พระราชดำรัสของพระองค์มีคุณค่ายิ่งต่อชีวิตของผม

    จากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็พระราชทานเลี้ยงก๋วยเตี๋ยว

    เป็นอาหารที่ผมรับประทานแล้วอิ่มตลอดชีวิต.......

    ...ท่านครับ จากวันนั้นมา

    ชีวิตผมก็เปลี่ยนแปลงไป โดยที่ผมเองก็มิได้รู้ว่าทำไม

    ชีวิตของผมซึ่งเป็นครูต้องเปลี่ยนแปลงงานที่ทำโดยมิได้ตั้งใจ

    ชีวิตเจริญก้าวหน้าขึ้นตามลำดับ

    แต่พระราชดำรัสที่พระองค์ตรัสไว้นั้นจารึกอยู่ในใจผมเสมอ

    ...ผมอยากจะเรียนท่านให้ทราบเพียงเท่านี้แหละครับ

    ถ้าท่านจะกรุณานำไปเล่าให้คนทั้งหลายได้รับทราบ

    ก็จะเป็นลาภของคนที่ฟัง

    เขาจะได้รู้ว่าพวกเขาควรทำอย่าง ไรจึงจะได้ชื่อว่าเป็นคนของพระราชา

    อาจารย์ท่านนี้เมื่อเล่าจบก็ลากลับด้วยสีหน้าที่อิ่มสุขและน้ำตาที่คลอเบ้าตา

    มิใช่เพียงอาจารย์ท่านนี้ที่อิ่มสุขเท่านั้น

    อาตมาเองซึ่งเป็นผู้ฟังก็อิ่มสุขน้ำตาคลอเบ้าเช่นเดียวกัน

    บทความของ พระราชวิจิตรปฏิภาณ วัดสุทัศน์

    บทความจากเวบบอร์ดของ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพพราชด่านซ้าย

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2009
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    [​IMG]
    .
    .
    กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    .โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
    .
    .
    ประวัติความเป็นมา
    .
    <table style="width: 725px; height: 19px;" summary="" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="725"><tbody><tr><td>.....</td> <td> ในวโรกาส ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินติดตามการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ และทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารห่างไกลการคมนาคมได้โปรดเกล้าฯ ได้จัดหน่วยแพทย์พระราชทานออกบริการตรวจรักษาราษฎรที่มารอเฝ้ารับเสด็จฯ โดยมีคณะแพทย์จากโรงพยาบาลต่างๆ ซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงได้ร่วมออกหน่วยแพทย์พระราชทานด้วย อย่างไรก็ตามพระองค์ทรงตระหนักดีว่า ยังมีราษฎรส่วนหนึ่งที่ไม่มีโอกาสมารับบริการจากหน่วยแพทย์พระราชทานนี้ อาจจะไปรักษาตามโรงพยาบาลในพื้นที่ พระองค์จึงได้พระราชทานเงินให้แก่โรงพยาบาลที่ได้ร่วมออกหน่วยฯเพื่อจัดตั้ง เป็น ”กอง ทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2537 เป็นต้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้โรงพยาบาลมีเงินทุนพอเพียงที่จะสงเคราะห์คนไข้ยากจนได้

    หลักเกณฑ์ในการอนุเคราะห์จ่ายเงิน
    การ จ่ายเงิน กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นั้น มีการบริหารงานโดยศูนย์ประกันสุขภาพโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุเคราะห์จ่ายเงินประเภทต่างๆ ดังนี้

    1. ผู้ ป่วยหรือญาติที่มีฐานะยากจน ที่เจ็บป่วยไม่มีค่ายา ค่ารักษา ตลอดจนค่ายานพาหนะ ในการเดินทางมารักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
    2. กรณีต้องส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลเลย หรือโรงพยาบาลอื่นๆ พิจารณาช่วย ค่ารถ ค่าอาหาร และค่าที่พัก
    3. กรณีศพไร้ญาติ หรือยากจนไม่มีเงินค่าจัดงานศพ ตลอดจนค่าใช้จ่ายในพิธีการต่างๆ
    4. ผู้ป่วย หรือญาติที่ยากจนขาดแคลนเครื่องนุ่งห่ม เครื่องอุปโภค บริโภค
    5. กรณีอื่นๆ ซึ่งจะมีการประชุม เพื่ออนุมัติจากคณะกรรมการบริหารฯ ในการพิจารณาแต่ละครั้ง
    ศูนย์ประกันสุขภาพ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้ายเป็นหน่วยงานที่มี หน้าที่ในการบริหารจัดการและดูแลการดำเนินงานของกองทุนฯ ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการซึ่งมีรายนามดังต่อไปนี้
    <table style="width: 631px; height: 87px;" summary="" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="631"> <tbody> <tr> <td>.....</td> <td>
    1.
    </td> <td>ว่าที่ ร.ต.เดชา สายบุญตั้ง</td> <td>ตำแหน่ง </td> <td>ประธานคณะกรรมการ</td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    2.
    </td> <td>นายสมัคร ศรีบุตตา</td> <td>ตำแหน่ง</td> <td>กรรมการ</td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    3.
    </td> <td>นางสาวเกศแก้ว ไชยศรี</td> <td>ตำแหน่ง</td> <td>กรรมการ</td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    4.
    </td> <td>ว่าที่ ร.ต.อภิชาติ ดีด่านค้อ</td> <td>ตำแหน่ง</td> <td>กรรมการ</td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    5.
    </td> <td>นางสาวพิชญา นนทะโคตร</td> <td>ตำแหน่ง</td> <td>กรรมการและเลขานุการ</td> </tr> </tbody> </table>


    .
    .
    สถานที่ตั้ง
    ศูนย์ประกันสุขภาพโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
    อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 42120 โทร.0-4289-1276 ต่อ 555.
    .
    .
    ติดต่อบริจาคเงินได้ที่
    กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 433-1-1-20727-7 ธนาคารกรุงไทย สาขาด่านซ้าย
    หรือติดต่อได้โดยตรงที่
    .
    .
    นายแพทย์ภักดี สืบนุการณ์
    ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย
    อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 42120
    โทร.0-4289-1314 ,0-4289-1276
    email : dansaihospital@yahoo.comwww.dansaihospital.com
    .
    .

    ผลการดำเนินงานกองทุน

    • รายนามผู้บริจาค พ.ศ.2547,2548,2549,2550,2551
    • สรุปบัญชีรายรับรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2547,2548,2549,2551


    เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ผมได้โทร.สนทนากับ คุณเดชาฯ ซึ่งเป็นประธานของกองทุนฯ โดยได้หารือกันถึงเรื่องที่ทุนนิธิฯ จะได้ขยายความช่วยเหลือไปยังโรงพยาบาลในแถบนี้ เพราะมีชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือลาว ท่านประธานฯ ได้เล่าให้ฟังว่าเดือนหนึ่งมีพระสงฆ์ที่มารักษาตัวราวๆ ยี่สิบกว่ารูป บางทีก็ข้ามมาจากฝั่งลาว ที่ข้ามมาแล้วพักรักษาตัวแล้วไม่มีเงินกลัีบก็มี หรือที่มรณะภาพแล้วทางโรงพยาบาลต้องจัดหาโลงศพให้ก็มี โดยที่ทางโรงพยาบาลก็ใช้เงินบริจาคจากมูลกองทุนฯ ข้างต้นนี้ช่วยเหลือด้วยเช่นกัน เมื่อได้สอบถามว่า หากทุนนิธิฯ จะเจาะจงสำหรับการรักษาเฉพาะพระสงฆ์ดังปณิธานของทุนนิธิฯ พอจะแยกค่าใช้จ่ายออกมาได้หรือไม่ ทางท่านประธานฯ รีบตอบรับโดยทันที พร้อมทั้งแจ้งด้วยว่า ทุกสิ้นเดือนจะจัดทำรายงานการใช้เงินบริจาคแนบมาพร้อมกับใบอนุโมทนาบัตรให้ด้วย ดังนั้น ผมจึงจะขอนำเรื่องนี้เข้าหารือกันในที่ประชุมอีกครั้งว่าสมควรที่จะรับมูลนิธิฯ ของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพพราชด่านซ้ายนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ทุนนิธิฯ จะบริจาคให้ทุกๆ เดือนหรือไม่ ถ้าได้จะบริจาคให้เดือนละเท่าไร ซึ่งหากมีความคืบหน้าเป็นอย่างไรแล้ว ผมจะได้แจ้งให้ผู้ที่บริจาคในกระทู้นี้ได้ทราบอีกครั้ง สำหรับที่โรงพยาบาลด่านซ้ายนี้ ปัจจุบันมีพระที่เป็นเจ้าคณะอำเภอที่มีวัตรปฏิบัติเป็นที่นับถือของคนในอำเภอนี้ มารักษาตัวด้ัวยโรคเกี่ยวกับผู้สูงอายุทุกเดือนอยู่แล้วพร้อมกับพระทั้งสายปริยัตรและปฏิบัติแวะเวียนกันมามิได้ขาด อีกอย่างหากเรามีโอกาสเข้าร่วมกับกองทุนฯ นี้ ก็เท่ากับว่า เราได้ร่วมสืบทอดปณิธานของ กองทุนพระราชทานใน "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ " ด้วยเช่นกัน นับว่าเป็นมหาบุญของทุนนิธิฯ โดยแท้...

    พันวฤทธิ์
    13/9/52






    </td></tr></tbody></table>​
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101


    ยังมิทันนี่เสียงหวีดร้องของแม่ค้าในตลาดบริเวรท่ารถ สองแถวบ้านโป่ง-รางวาลจะสิ้นลง ชายหนุ่มที่ลงนอนฟุบกับพื้นบริเวณก็ลุกขึ้นมา หลังจากที่ล้มลงไปที่พิ้นจากการตีด้วยไม้ ของนักเลงเจ้าถิ่น7คน ก่อนหน้านั้น ชายหนุ่มต่างพื้นที่ โดนมีดปลายแหลมจ้วงแทงไม่นับครั้ง จากกลุ่มชายทั้ง5 แต่หาได้ระคายผิวไม่ พอชายหนุ่มลุกขึ้นมาได้ ก็พอดีเจ้าหน้าที่ สภอ.บ้านโป่งก็มาระงับเหตุ เจ้าหน้าที่จับกุมตัวทั้งสองฝ่ายไปที่ดรงพัก ส่วนนึงก็หนีไป ชาวบ้านร้านตลาดที่มุงดูเหตุการณ์ ต่างก็เดินตามไปที่สภอ.บ้านโป่งกันมากมาย ไม่มีใครอยากรู้ว่า ใครผิดหรือถูกหรือใครคือใคร แต่อบากรู้เพียงว่า ชายที่โดนมีดจ้วงแทงและโดนตีด้วยไม้นั้น เขามีอะไรดี
    หลังการสอบสวนผ่าน ไปโดยพยานในเหตุการร์ได้ให้การร์ว่ า ชายหนุ่มารอรถสองแถว แล้วจู่ๆก็มีชายฉกรรน์ทั้ง5คน ขี่รถเครื่องพ่วงสาลี่เข้ามาจอด แล้วก็ลงมาทำร้ายชายดังกล่าว สืบเนื่องจากเรื่องเหตุแย่งกันจียสาวคนเดียว ถึงกับเอาชีวิตกัน หลังจากกฏหมายได้ทำหน้าที่อย่างตรงไปตรงมาที่สุดในช่ วงพศ.2514 ฝ่ายชายทั้ง5คนก็กลายเป็ยผู้บริสุทธิ์ เพราะทันทีที่หนึ่งในบิดาของฝ่ายชายทั้ง5มาที่สภอ.บ้ านโป่ง เจ้าหน้าที่ก็ได้ให้การต้อนรับและอำนวยความสะดวกเป็น อย่างดี และพาชายทั้ง5กลับไป ทิ้งความมึนงงสงสัยให้กับชาวบ้านที่เห็นเหตุการณ์ ในครั้งกระนู้ เป็นอย่างมาก แต่ทุกคนก็ทำได้แค่สงสัย เพราะทราบดีว่าชายที่มาพาคนทั้ง5ไปนั้น มีบารมีมากเพียงใด จากเหตุการณ์ในครั้งนั้น ทำให้ชายที่ถูกรุมทำร้าย เป็นที่สนใจของชาวบ้าน และรุมขอดูของดีที่ชายคนนั้นมี ถึงแม้จะพยายามปกปิด แต่ก็เหลือกำลังที่จะทานทนต่อความอยากรู้ของ ชาวบ้าน ในที่สุด ชาวบ้านก็ร้องอ๋อ ชายหนุ่มคนดังกล่าว เปิดชายเสื้อด้านข้างให้คนที่มุงดูและเจ้าหน้าที่ตำร วจผู้รักความยุติธรรม ดู ภาพที่ปรากกฏคือ รอยสักยันต์รูปหมูที่สีข้าง และเหรียญทองแดงที่คอเพียงเหรียญเดียว ชาวบ้านเลิกความสงสัยและแยกย้ายกลับไปทำมาหากินของตน เอง พร้อมกับเสียงบ่นพึมพัม
    "กูว่าแล้วทำไมมันถึงโดนแทงไม่เข้า ไอ้นั่นก็ตีอีกตั้งหลายที........"
    "มันสักกับอาจารย์ สุรินทร์ วัดลาดบัวนี่เอง........"
    "เขาว่ามันกลับจากทหาร.....ไอ้นั่นมันรู้เลยมาดักรอ. ."
    "เรื่องผู้หญิงนะแหละ...จะมีเริ่องอะไร......... .."
    แต่ หลังจากวันนั้น คนที่ลาดบัวก็เห็นคนเข้าออกวัดมากขึ้น เพราะมีคนพยายามเดินทางไปสักยันต์กับหลวงพ่อ สุรินทร์ แห่งวัดลาดบัวขาว แต่ทุกคนก็ต้องผิดหวัง เพราะหลวงพ่อท่าน ไม่ยอมสักให้กับใครยกเว้นคนที่จะไปเป็นทหารเท่านั้น
    เรื่องนี้ได้รับการถ่ายทอดจากนาย ติ่ง บ้านอยู่ต.ลาดบัวขาว อ.บ้านโป่ง .ราชบุรี
    ในรูปเป็นเหรียญที่เรียกันว่า "เหรียญหมูขวาง" หรืออีกชื่อนึงคือ "หมูไฟ"

    เรื่องที่สอง
    นาง ยม กี่เงิน บ้านอยู่ที่แถววัดลาดบัว เล่าให้ฟังว่า แม่ของเขานั่งรถไฟจากการไปทำธุระ พอใกล้ถึงบ้านโป่ง รถไฟเกิดตกราง มีคนตาย28คน หลังจากที่รถไฟตกรางและผู้คนเข้าไปช่วย และมุงดู มีคนเห็นว่า นางแกละ หญิงชราวัย60กว่าปี ลุกเดินออกมาจากที่เกิดเหตุ และเดินมาบอกให้ไปช่วยคนอื่นๆ คนที่อยู่ในเหตุการณ์ ก็อยากรู้ตามประสาว่ายายแกละคนนี้มีอะไรดี ยายก็ทนการรบเร้าไม่ไหว ก็เอาสร้อยนาคในคอให้คนดู ปรากฏว่า เป็นเหรียญหลวงพ่อสุรินทร์ แจกกรรมการ กะไหล่เงินเหรียญเดียว ด้านหลังเป็นยันต์รูปหมู แต่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า "หมูตาม"
    ที่มาของเหรียญหมูตาม เกิดจากที่หลวงพ่อสุรินท์ได้รับการขอร้องให้สร้างเหร ียญเพื่อแจกญาติโยม เพราะว่ามีคนที่อยากได้วัตถุมงคลมากมาย แต่ทางวัดไม่มีให้บูชา หลวงพ่อจึงอณุญาติให้ทำ มัคนายกจึงเดินเรื่องและไปจัดสร้างเหรียญ จึงเป็นเหรียญ "หมูตาม" ออกมา ที่เรียก"หมูตาม"เพราะตอนหลังมีการเสร้างเหรียญ"หมูข วาง" ออกมา พอสร้างเหรียญออกมา เอามาถวายหลวงพ่อ ท่านดูแล้วก็กล่าวกับ มัคนายกว่า
    "เหรียญ ด้านหลังยันต์แบบนี้ แล้วคนใส่จะไปรบกับใครได้ล่ะ ไปทำมาใหม่ เอายันต์นี้ไป หมูมันต้องมีเขี้ยว มันต้องเป็นหมูไฟ......ที่ทำมาเดี๋ยวจะเสกให้เป็นเมต ตาแล้วก็แคล้วคลาดไปก็แล้วกัน"
    จากนั้นทางมัคนายก ก็ไปสร้างเหรียญอีกครั้ง แต่ด้านหลังเป็นยันต์แบบที่หลวงพ่อกำหนด คือหมูตั้งขึ้น แบบที่หลวงพ่อสักยันต์ ต้งแต่นั้นมาจึงเรียกกันว่า "หมูตาม" "หมูขวาง" เหรียญหมูตามจะเล็กกว่า ผิวรมดำ ที่ตัดหูและกะไหล่ ทอง, เงิน,นาค สำหรับแจกแม่ครัวและผู้หญิงที่มาช่วยงาน(ปัจจุบันนี้หายาก และมีคนที่ไม่หวังดี เอาเหรียญเนื้อทองแดงไปตัดหูและกะไหล่ออกมาขายให้กับ ชาวบ้าน แต่ยังไงก็ไม่เหมือน และชาวบ้านที่มีใจรักความเป็นธรรมชอบความสงบ ก็ได้ช่วยกันประเคนทั้งหมัดเท้าเข้าศอก กับคนที่ทำออกมาจนเลิกไป)
    ในรูปหลังสมเด็จรุ่นแรก เป็นเหรียญหมูตามแจกแม่ครัวและกรรมการ

    เรืองที่สาม
    นาย เทิด คุณเทิด หรือไอ้เทิด บ้านอยู่ลาดบัวเหมือนกัน ขี่จักรยานกลับบ้านพร้อมกับน้ำยอดข้าว ที่เพิ่งไปซื้อมา พอถึงโค้ง อารามที่อยากจะกลับไปดวดให้สมอยาก ก็ขี่รถเลยลงไปข้างทาง ข้างทางที่ว่าไม่ใช่ข้างทางที่เราเห็นๆกันทั่วไป หากข้างทางที่ว่า เมื่อลงไปก็เป็นแม่น้ำ ระยะทางหลายเมตรและอันตราย ขนาดเด็กหนุ่มหน้าตาน่ารักโตขึ้นมาหล่อหยั่งกะ เคน ธีรเดช วิ่งลงไปธรรมดา ยังกลิ้งเป็นลูกขนุนพันธ์ดีเลย และบาดเจ็บตามอัตภาพ นี่นายเทิดหรือไอ้เทิด ลงไปพร้อมกับมอเตอร์ไซ คนที่เห็นเหตุการณ์คิดว่า ไอ้เทิด คงกลายเป็นผีเทิด กันก็คราวนี้ ปรากกฏว่า รถไปทาง คนไปทาง รถนั้นลงไปถึงริมตลิ่ง ส่วนไอ้เทิด กระเด็นไปติดต้นไม้ แล้วก็ค่อยๆคลานสี่ขาขึ้นมา แม่ไอ้เทิดรู้ข่าวก็รีบขับรถเครื่องมาดูลูกชายในที่เ กิดเหตุ ซึ่งไม่ห่างไปสักมากน้อย
    "ไอ้ฉิบหายเทิด มึง น่าจะตายโหงตายห่าไปซะก็ดี ไอ้ฉิบหาย...."
    "แม่........."
    "หลวงพ่อบอกมึงแล้วใช่ไม๊ว่าอย่ากินเหล้า.....มึงจะเ จ็บตัวเพราะเหล้า.....ไอ้ฉิบหาย แกพึ่งบอกมึงหยกๆนี่เอง....."
    "แม่....."
    "ไปเลยไอ้ฉิบหายเทิด รถเริ๊ดกูพังหมด...."
    ไม่ มีใครแปลกใจเท่าไหร่ เมื่อเห็นในคอคุณเทิด แขวนเหรียญอาจารย์สุรินทร์ และหลังจากวันนั้น ไอ้เทิดก็กลายเป็นคุณเทิด เพราะเลิกเหล้าได้ และหันมาประกอบอาชีพ สุจริตต่อไป ตอนนี้เป็นช่างเชื่อมท่อในอัตราชั่วโมงละ6,000บาทอยู ่ที่ตะวันอกกลาง ในวัย45ปีของแก

    จากรูปนะครับ
    สมเด็จรุ่นแรก
    เหรียญหมูขวางหรือหมูไฟ
    "โปรด ใช้วิจรณญาณในการรับฟังข้อมูลเรื่องที่เขียนขึ้นมีเค้าโครงมาจากเรื่องจริง หากเผอิญไปทำให้ใครได้รับความเสียหาย ขอได้รับการขอโทษจากผู้เขียนเป็นอย่างยิ่ง
    เอก ลาดบัว
    ต่อไปจะเอาเรื่อง
    "ทุ่งเหยียบดอก" มาให้อ่านและชมรูปพระ " ทุ่งเหยียบดอก" มีที่มาที่ไปและมีรูปร่างลักษณะเป็นอย่างไร เขาถึงเรียกว่า "ทุ่งเหยียบดอก"


    <table class="tablebg" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr> <td class="row3">
    </td> </tr> <tr> <td class="row2">
    [​IMG]

    <!-- DSC09580.JPG [ 54.13 KiB | เปิดดู 297 ครั้ง ] --></td> </tr> <tr> <td class="row1">
    [​IMG]
    <!-- DSC09582.JPG [ 57.01 KiB | เปิดดู 296 ครั้ง ] --></td></tr></tbody></table>
    ขอขอบคุณ
    กระดานสนทนา NAVARAHT "นวรัตน์ดอทคอม" &bull; แสดงกระทู้ - "หมูไฟ"








     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    สวดแล้วรู้คำแปลด้วยก็จะดี เวบลิงค์ตามข้างล่างนี้ทำไว้ได้ดีเช่นกัน ลองเข้าไปดูก็ได้นา...

    <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="150"><tbody><tr><td colspan="2" align="center">[​IMG]</td> <td background="images2/frame_webboard/right_bg.gif" valign="bottom" width="19">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td height="19">[​IMG]</td> <td background="images2/frame_webboard/center_bg.gif" width="107">[​IMG]</td> <td align="right" background="images2/frame_webboard/center_bg.gif">
    [​IMG]
    </td> <td align="right" width="19">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>


    ฝอยพาหุง

    ไหว้คุณพระสัตถาพระมหาอนัตตะคุณ
    <v:shapetype id="_x0000_t75" stroked="f" filled="f" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" o=""><o:lock aspectratio="t" v:ext="edit"></o:lock></v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1039" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>มีฤทธิ์อันสมบูรณ์สืบบุราณมานานเมือง
    <v:shape id="_x0000_i1040" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>พาหุงแปดบทต้นนั้น คุณอนันต์เอนกเมือง
    <v:shape id="_x0000_i1030" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ช่วยสัตว์ไม่ขัดเคืองล้ำเลิศยิ่งทุกสรรพ์
    <v:shape id="_x0000_i1031" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ถ้าแม้นจะแก้คุณให้ดับสูญสิ้นเสียพลัน
    <v:shape id="_x0000_i1032" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ผีภูตปีศาจอันที่สมมุติมนุษย์ทำ
    <v:shape id="_x0000_i1033" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>บทสองคือมาราให้เสกยากินประจำ
    <v:shape id="_x0000_i1034" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>มีคุณ<st1>นั้นเลิศล้ำ สะเดาะโรคไม่ราคิน</st1>
    <v:shape id="_x0000_i1035" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>อนึ่งจะเข้าสู่ไพรสณฑ์จะผจญด้วยไพริน
    <v:shape id="_x0000_i1036" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>สารพัดสัตว์กลัวสิ้น ด้วยนาฬาประเสริฐสม
    <v:shape id="_x0000_i1037" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>อนึ่งจะจรไปต่างเมืองให้รุ่งเรืองทั่วนิคม
    <v:shape id="_x0000_i1038" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ฝูงชนย่อมนิยมนะโมน้อมเป็นไมตรี
    <v:shape id="_x0000_i1025" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>อุกขิตตะขัคให้ภาวนาเกิดลาภาเหมือนวารี
    บูชาทุกดิถี มาสู่ที่สำนักตน
    <v:shape id="_x0000_i1026" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>อนึ่งมีศัตรูหมายมาทำร้ายจลาจล
    <v:shape id="_x0000_i1027" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>จะให้จิตต์ผู้นั้นวนสามิภักดิ์มารักเรา
    ให้รำลึกพระคาถากัตวาแล้วนึกเอา
    <v:shape id="_x0000_i1028" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ผู้นั้นจะบรรเทากลับใจจิตเป็นมิตรพลัน
    อนึ่งจะพูดให้เขาเชื่อสัจจังเจือเป็นนิรันดร์
    <v:shape id="_x0000_i1029" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>เป็นจริงทุกสิ่งสรรพ์ไม่คลางแคลงระแวงใจ
    อนึ่งถูกอสรพิษ ไม่ว่าฤทธิ์สิ่งอันใด
    <v:shape id="_x0000_i1041" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>ดับพิษได้เร็วทันใจ วิเศษในบทนันโท
    อนึ่งผจญปัจจามิตร์ทุคคาคิดในมะโน
    <v:shape id="_x0000_i1042" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>มิจฉาทิฏฐิโกมนุสโสระอาใจ
    เอตาปิพุทธะอย่าได้ละรำพึงไป
    <v:shape id="_x0000_i1043" style="width: 14.25pt; height: 14.25pt;" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" src="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPOCH%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_image001.gif"></v:imagedata></v:shape>พระคุณอนันต์ในอุดมเลิศในชาตรี
    พาหุงทั้งแปดบทท่านกำหนดพระคุณมี
    ยิ่งพื้นพระธรณีจะกำหนดให้ชดชม
    อนึ่งแก้วความเขาปองหาตักน้ำมาโดยนิยม
    สิบนิ้วนั่งประนม ทำน้ำมนต์ด้วยบาลี
    พาหุงทั้งแปดบทเขียนชื่อจดลงทันที
    เสกแล้วเอาวารีชุบขยี้ละลายไป
    สูญสิ้นไม่มีแก่นสารอธิษฐานตามชอบใจ
    โจทก์จนไม่ทนได้ดังทิ้งไข่เหนือศิลา
    จงจำกำหนดแน่เท่านี้แลพระคาถา
    แปดบทดังพรรณนา ยุติกาเท่านี้เอยฯ…

    http://www.trangzone.com/webboard_show.php?page=1&ID=21745&ID=21745]


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2009
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    สำหรับผู้ที่มาดูใหม่ๆ ครับ ทุนนิธิฯ มีบทคัดย่อไว้ให้ศึกษาดูข้อมูลและโพสท์สำคัญๆ ตามนี้เลย...


    <table cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" valign="top" width="80"> [​IMG]
    </td> <td valign="top"> ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ
    ด้วย ในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์ ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ผู้เขียน: pratomfoundation ชมแล้ว: 184,090 ครั้ง
    post ครั้งแรก: Thu 7 February 2008, 3:43 am ปรับปรุงล่าสุด: Tue 8 September 2009, 11:17 am
    อยู่ในส่วน: พักผ่อนหย่อนใจ, วิชาการ.คอม, สุขภาพ, สุขภาพทั่วไป, โรคภัยไข้เจ็บ, อาหารการกิน, กิจกรรมพิเศษ, ศาสนา
    <input value="article" type="hidden"> <input value="34941" type="hidden"> <input value="vblog" type="hidden">

    </td> </tr> </tbody></table>สารบัญ
    1-20 | 21-40 | 41-60 | 61-80 | 81-100 | 101-120 | 121-140 | 141-160 | 161-167

    หน้า : 1 บทนำ
    หน้า : 2 จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำเนินงาน
    หน้า : 3 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน ธันวาคม 2550
    หน้า : 4 พี่ใหญ่ฝากมา...
    หน้า : 5 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน ธันวาคม 2550 #1
    หน้า : 6 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จกรุบางน้ำชน (ปีระกาป่วงใหญ่)
    หน้า : 7 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จปูนสอ "สมเด็จอัศนี"
    หน้า : 8 พระท่าดอกแก้วที่ อ.ประถม อาจสาครสร้าง
    หน้า : 9 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน มกราคม 2551
    หน้า : 10 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2551 #2
    หน้า : 11 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2551
    หน้า : 12 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 #3
    หน้า : 13 การไหว้ 5 ครั้ง (ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร ) วัดเทพศิรินทราวาส
    หน้า : 14 แจ้งกำหนดการร่วมทำบุญเดือน มีนาคม
    หน้า : 15 ภาพพระโลกอุดรที่เรียกว่า "กรุเก่า"
    หน้า : 16 ใบเสร็จรับเงินที่ไปทำบุญมาเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 17 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4
    หน้า : 18 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4 หน้า 2
    หน้า : 20 "กระดูก 300 ท่อน" สุดยอดธรรมจากหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร
    หน้า : 21 ย้อนหลังกลับมาคุยถึงเรื่อง พระกำลังใจ 2

    หน้า : 22 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 1
    หน้า : 23 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 2
    หน้า : 24 สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อวันนี้ 10 เมษายน 2551
    หน้า : 25 ใบโมทนาบัตรเมื่อคราวไปทำบุญเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 26 สรุปรายการพระที่นำมามอบให้เป็นสำหรับผู้ร่วมทำบุญกับทุนนิธิ ฯ
    หน้า : 27 บรรยากาศแบบไทย ๆ ณ บ้านอาจารย์ประถม อาจสาคร ร่วมกับ คณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 28 พระอีกรุ่นหนึ่งที่เป็นพระที่ อ.ประถมฯ สร้างไว้...
    หน้า : 29 คำบอกเล่าเกี่ยวกับกิจกรรมทำบุญครั้งที่ 5 ของทุนนิธิฯ...จากประธานทุนนิธิฯ
    หน้า : 30 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5
    หน้า : 31 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5-2
    หน้า : 32 รูปขณะที่ทางประธานทุนนิธิฯและคณะกรรมการได้นำกระเช้า ไปกราบเยี่ยมอาการผ่าตัดต้อที่ตาของ อาจารย์ประถม ที่บ้าน
    หน้า : 34 ประชาสัมพันธ์ งานบุญที่ รพ.สงฆ์ ครั้งที่ 6/51
    หน้า : 35 รายละเอียด ก่อนเริ่มการทำบุญ ในวันอาทิตย์ที่ 25/5/2551
    หน้า : 36 รายงานการถอนเงินออกมาเพื่อทำบุญ และ สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อ 27/05/08
    หน้า : 37 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 1
    หน้า : 38 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 2
    หน้า : 39 แจ้งข่าว หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำเขาประทุน ชลบุรี ได้มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ
    หน้า : 40 แจ้งข่าวเรื่องการทำบุญ รพ.สงฆ์ ในวันที่ ๒๒/๐๖/๒๕๕๑
    หน้า : 41 ขอประชาสัมพันธ์กิจกรรมของทุนนิธิฯ วันที่ 22 มิ.ย (ครั้งที่ 7)
    หน้า : 42 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 1

    หน้า : 43 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 2
    หน้า : 44 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 3
    หน้า : 45 ประธานทุนนิธิฯ แจ้งยอดการทำบุญในครังที่ 7 นี้ และใบเสร็จแจ้งการทำบุญ ร่วมโมทนาบุญด้วยกันครับ
    หน้า : 46 พระนาคปรกมหาลาภ
    หน้า : 47 ประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำหรับงานบุญประจำเดือนกรกฎาคม 2551
    หน้า : 48 หลักฐานการโอนเงินเข้ากองทุนของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี และ กองทุนสงฆ์อาพาธ รพ. 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ จ.อุบลฯ
    หน้า : 49 ใบโมทนาบัตรที่ทางโรงพยาบาลสงฆ์ และของทาง รพ.50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ จ.อุบลส่งมาให้ทางทุนนิธิฯทั้งของเดือน พฤษภาคมและเดือนมิถุนายน
    หน้า : 50 การเบิก-จ่ายในงานบุญ ๒๗/๐๗/๒๕๕๑
    หน้า : 51 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 1
    หน้า : 52 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 2
    หน้า : 53 พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า พิมพ์ปรกโพธิ์
    หน้า : 54 ซื้อผ้ามัสสลิน ถวายเพื่อใช้เป็นเครื่องบริขารให้แก่พระสงฆ์อาพาธ ณ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
    หน้า : 55 ปุจฉา - วิสัชนา
    หน้า : 56 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #1
    หน้า : 57 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #2
    หน้า : 58 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #3
    หน้า : 59 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #4
    หน้า : 60 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #5
    หน้า : 61 ใบโมทนาบัตรของเดือน กรกฎาคม+ยอดเงินที่เบิกออกมาใช้ในการทำบุญกับทาง รพ.สงฆ์ ในวันที่ 24 สิงหาคม 2551
    หน้า : 62 ภาพของผ้ามัสลินที่ได้จากการบริจาคของทุนนิธิ ฯ ไปใช้หอสงฆ์ที่ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น

    หน้า : 65 พระกรุวังหน้าบางส่วน
    หน้า : 66 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน สิงหาคม 2551 #1
    หน้า : 67 แจงรายละเอียดการทำบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 68 ปิดท้ายงานบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 69 พระพิมพ์เจ้าสัว....
    หน้า : 70 พระกรุโลกอุดร
    หน้า : 71 พระกรุโลกอุดร พิมพ์ปิดตา อรหัง
    หน้า : 72 พระสารีริกธาตุของพระพุทธปัจเจกพุทธเจ้า
    หน้า : 73 พระสกุลวังหน้า
    หน้า : 74 พระพิมพ์สกุลวังหน้า
    หน้า : 75 พระพิมพ์สกุลวังหน้า.. ต่อ
    หน้า : 76 พระพิมพ์ของบรมครูพระเทพโลกอุดร
    หน้า : 77 แจ้งข่าวเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานขั้นต่อไปของทุนนิธิ
    หน้า : 78 ทางทุนนิธิฯตั้งใจจะแจกพระให้ในเดือนนี้นั้นก็ขอเรียนชี้แจงดังนี้นะครับ
    หน้า : 79 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา
    หน้า : 80 ภาพของการรักษาผู้ป่วยของ รพ.สงขลานครินทร์ ที่เราเตรียมส่งเงินไปช่วยเหลือ
    หน้า : 81 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา (๒)
    หน้า : 82 ใบโมทนาบัตรของโรงพยาบาล 5 พรรษา มหาวชิราลงกรณ และโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ มาให้ได้ร่วมกันโมทนาในบุญ
    หน้า : 83 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 1
    หน้า : 84 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 2

    หน้า : 85 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 3
    หน้า : 86 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 4
    หน้า : 87 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 5
    หน้า : 88 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 6
    หน้า : 89 รายนามท่านที่บริจาคเงินสมทบเข้าทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551
    หน้า : 90 ร่วมทำบุญให้กับ รพ.แม่สอด จ.ตาก (รพ.ชายแดน)
    หน้า : 91 นำใบโอนเงินมาร่วมโมทนาบุญกับทาง ทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    หน้า : 92 ใบอนุโมทนาบัตรที่ได้รับจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ครับ โมทนาสาธุ
    หน้า : 93 การประชุมคณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 94 ภาพการทำบุญ รพ.สงฆ์ วันที่ 19 ตุลาคม 2551
    หน้า : 95 ภาพพระสมเด็จที่ระลึกในงานศพของคุณพ่อพี่พันวฤทธิ์
    หน้า : 96 รายงานยอดเงินที่ถอนไปทำบุญในเดือนนี้และใบขอบคุณและโมทนาบัตรของโรงพยาบาลต่างๆครับ
    หน้า : 97 สรุปผลการประชุม ๒๖-๑๐-๒๕๕๑ และแจ้งวันร่วมทำบุญในเดือน พฤษจิกายน ๒๕๕๑
    หน้า : 98 รายงานยอดเงินเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 2551 ที่ผ่านมา
    หน้า : 99 สรุปยอดบริจาคผ้าห่มให้กับโรงพยาบาลสงฆ์ที่อำเภอปัว โรงพยาบาลที่สกลนคร ของหลวงปู่แฟ๊บ และ โรงพยาบาลที่อำเภอแม่สอด
    หน้า : 100 ภาพหลวงปู่แฟ๊บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย
    หน้า : 101 รูปบรรยากาศการพบปะของลูกศิษย์และอาจารย์ ณ บ้านอาจารย์ประถม
    หน้า : 102 รูปบรรยากาศการพบปะของลูกศิษย์และอาจารย์ ณ บ้านอาจารย์ประถม ต่อ....
    หน้า : 103 ประชาสัมพันธ์เรื่องด่วนควรค่าแก่การโมทนาและสาธุบุญให้ผู้ที่บริจาคเข้าบัญชีทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธฯ
    หน้า : 104 หลักฐานการโอนเงิน และใบตอบรับ โมทนาบัตรของโรงพยาบาลต่าง ๆ ที่ทางทุนนิธิฯได้ส่งเงินไปช่วย

    หน้า : 105 มีรูปมาฝากจากแม่สอด ที่เราบริจาคเพื่อซื้อผ้าห่มให้กับ สงฆ์อาพาธและไว้ใช้ที่ รพ.แม่สอด ครับ
    หน้า : 106 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๑
    หน้า : 107 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๒
    หน้า : 108 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๓
    หน้า : 109 รายงานสรุปผลารดำเนินการของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    หน้า : 110 พระดีที่น่ากราบไหว้
    หน้า : 111 แจ้งวันทำบุญ ในเดือนมกราคม ๒๕๕๒
    หน้า : 112 สรุปยอดเงินสำหรับเตรียมการบริจาคในวันอาทิตย์ที่ 18 มกราคมนี้
    หน้า : 113 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2552 #13 หน้าที่ 1
    หน้า : 114 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2552 #13 หน้าที่ 2
    หน้า : 115 กำหนดการทำบุญที่โรงพยาบาลสงฆ์ วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2552
    หน้า : 116 "พระปิยบารมีพิมพฐานบัวใหญ่" ที่ได้นำบรรจุกรุเพื่อสืบพระพุทธศาสนา
    หน้า : 117 "พระปิยบารมีพิมพ์ฐานบัวเล็ก" สำหรับแจกผู้ร่วมบริจาคทำบุญอย่างต่อเนื่องครับ
    หน้า : 118 ความเคลื่อนไหวของยอดเงินในบัญชีของทุนนิธิฯ กุมภาพันธ์ 2552
    หน้า : 119 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์
    หน้า : 120 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์ หน้าที่ 2
    หน้า : 121 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์ หน้าที่ 3
    หน้า : 122 รายละเอียดการจัดกิจกรรมทำบุญประจำเดือนในวันอาทิตย์หน้า คือวันที่ 22 มีนาคม 2552
    หน้า : 123 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 1
    หน้า : 124 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 2

    หน้า : 125 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 3
    หน้า : 126 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 4
    หน้า : 127 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 5
    หน้า : 128 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 6
    หน้า : 129 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 7
    หน้า : 130 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 8
    หน้า : 131 สรุปผลการดำเนินงานเดือน มีนาคม ๒๕๕๒
    หน้า : 132 รายชื่อผู้บริจาค 22 มีนาคม 2552 และ ยอดเงินคงเหลือในบัญชี
    หน้า : 133 หลักฐานการทำบุญกับร.พ.ศิริราชครับ
    หน้า : 134 รายละเอียดในการทำบุญ วันที่ 26 เมษายน 2552
    หน้า : 135 หลักฐานการส่งเงินของทุนนิธิฯไปช่วยตามโรงพยาบาลต่างๆ และอนุโมทนาบัตร
    หน้า : 136 รายละเอียดการจัดกิจกรรมทำบุญประจำเดือนในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม 2552
    หน้า : 137 หลักฐานการโอนเงินผ่านธนาคารและทางธนาณัติส่งไปให้โรงพยาบาลทางภูมิภาคต่างๆ รวม 6 แห่งสำหรับการช่วยสงฆ์อาพาธในเดือนมิถุนายน 2552
    หน้า : 138 แจ้งข่าวงานบุญของเดือนมิถุนายน
    หน้า : 139 รายละเอียดคร่าว ๆ กิจกรรมทำบุญเดือนมิถุนายน ๒๕๕๒
    หน้า : 140 ภาพที่ทางทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ได้เดินทางไปเป็นเจ้าภาพและร่วมงาน
    หน้า : 141 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 1
    หน้า : 142 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 2
    หน้า : 143 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 3
    หน้า : 144 นำบุญมาฝากจาก รพ.สมเด็จพระยุพราชปัว อ.ปัว จ.น่าน

    หน้า : 145 ใครอยากมีตังค์ใช้ไม่ขาด....โปรดอ่านด่วนครับ
    หน้า : 146 รายละเอียดการจัดกิจกรรมทำบุญประจำเดือนในวันอาทิตย์ที่ 26 กรกฏาคม 2552
    หน้า : 147 รายนามผู้บริจาคเพิ่มเติม เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๒ ที่ผ่านมา
    หน้า : 148 ภาพการทำบุญในเดือนกรกฎาคม 2552 หน้าที่ 1
    หน้า : 149 ภาพการทำบุญในเดือนกรกฎาคม 2552 หน้าที่ 2
    หน้า : 150 ภาพการทำบุญในเดือนกรกฎาคม 2552 หน้าที่ 3
    หน้า : 151 ภาพการทำบุญในเดือนกรกฎาคม 2552 หน้าที่ 4
    หน้า : 152 ภาพการทำบุญในเดือนกรกฎาคม 2552 หน้าที่ 5
    หน้า : 153 กิจกรรมคณะทุนนิธิสงเคราะห์สงอาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ตอน..ทัวร์เขาใหญ่ ไหว้หลวงพ่ออุทัย หน้าที่ 1
    หน้า : 154 กิจกรรมคณะทุนนิธิสงเคราะห์สงอาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ตอน..ทัวร์เขาใหญ่ ไหว้หลวงพ่ออุทัย หน้าที่ 2
    หน้า : 155 แจ้งการทำบุญประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๒
    หน้า : 156 หลวงปู่สอ วัดป่าบ้านหนองแสง ยโสธร
    หน้า : 157 รายละเอียดกิจกรรมประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๕๒
    หน้า : 158 คาถาบูชาพระสิวลี หลวงพ่อกวย
    หน้า : 159 คาถา "ยอดเสน่ห์" หลวงพ่อกวย
    หน้า : 160 พระคาถาพระฉิมภาลี หลวงพ่อกวย
    หน้า : 161 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๑
    หน้า : 162 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๒
    หน้า : 163 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๓
    หน้า : 164 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๔

    หน้า : 165 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๕
    หน้า : 166 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๖
    หน้า : 167 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๗
    หน้า : 168 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๘
    หน้า : 169 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๙
    หน้า : 170 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๑๐
    หน้า : 171 ภาพกิจกรรมการทำบุญ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๒ หน้าที่ ๑๑
    <input name="cur_content" id="cur_content" value="161" type="hidden">



    หน้าที่ 1 - บทนำ


    [​IMG]


    ด้วยในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์
    ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา
    ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ด้วยเหตุและปัจจัยแห่งเนื้อนาบุญอันมีอานิสงส์ที่ประมาณมิได้นี้ ประกอบกับเป็นการเชิดชู
    ครูอาจารย็ที่ได้อบรมความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ในเรื่องอภิญญาจิต และความรู้เรื่องพระพิมพ์
    สกุล วัดพระแก้ววังหน้า พระพิมพ์สกุลบรมครูเทพโลกอุดรของ ท่าน อ.ประถม อาจสาคร
    กระผมและคณะจึงได้ก่อตั้งกองทุนขึ้นมาในรูปแบบของทุนนิธิ เพื่อรวบรวมเงินบริจาค
    ที่จะได้มานำไปบริจาคให้หรือรักษาไข้แก่พระภิกษุสงฆ์อาพาธที่ยากไร้ ตามโรงพยาบาลต่างๆ
    หรือบำรุงศาสนกิจที่จำเป็นตามที่คณะกรรมการของกองทุนจะได้พิจารณาขึ้น ดังนั้น กระผมและคณะ
    จึงใคร่ขอเชิญชวนทุกท่านที่ได้อ่าน ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือพุทธศาสนา ด้านการรักษาสงฆ์
    หรือศาสนกิจอื่นๆ




    บัญชี
    "ศ. ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร" (pratom foundation)
    บัญชีธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาถนนวิภาวดีรังสิต (ซันทาวเวอร์ส)
    บัญชีออมทรัพย์ หมายเลข 348-1-23245-9
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101

    ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้ภาพบางส่วนใน วิชาการดอทคอมที่กระทู้นี้ทำบทคัดย่อไว้ ภาพจึงหายไปทั้งหมดตามที่ผู้บริหารเวบ ohozaa.com ได้ชี้แจงมาข้างต้นครับ จึงทำให้ขาดองค์ประกอบและอรรถรสของเนื้อเรื่องไปมากเหมือนกัน
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ตัวอย่างภาพเก่าที่ยังมีอยู่ "พระในตำนาน" ของ "หลวงปู่บรมครูพระธรรมฑูต เทพโลกอุดร" ยังคงเหลือที่ทุนนิธิฯ ราว ร้อยกว่าองค์ รอนำมาทำบุญหรือแจกให้ฟรีๆ สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้รับ และมีวาสนาบุญในกระทู้นี้ต่อกันมานานครับ

    ภาพพระโลกอุดรที่เรียกว่า "กรุเก่า" มาให้ชมกันนะครับ ซึ่งพระกรุนี้แทบจะไม่มีให้เห็นอีกแล้วครับ

    1. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์รูปเหมือนปรมาจารย์

    [​IMG]



    2. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์พนมมืออธิษฐานฤทธิ์

    [​IMG]



    3. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์อรหันต์ใหญ่

    [​IMG]




    4. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์อรหันต์กลาง

    [​IMG]



    5. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์อรหันต์น้อย

    [​IMG]



    6. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตานะเอกลักษณ์

    [​IMG]



    7. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาเศียรบาตร

    [​IMG]


    8. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาสมาธิราบ


    [​IMG]



    9. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาสองหน้า(โสณะอุตร)


    [​IMG]




    10. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาสังฆาฏิ

    [​IMG]




    11. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาสี่กร

    [​IMG]



    12. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์ปิดตาอะระหัง

    [​IMG]



    13. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์มหากัจจายน์ใหญ่

    [​IMG]




    14. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์มหากัจจายน์กลาง


    [​IMG]




    15. พระกรุหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร พิมพ์มหากัจจายน์เล็ก


    [​IMG]
     
  10. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]

    “ การทำบุญนั้นไม่ใช่แต่ว่าเอาวัตถุสิ่งของให้ทานเท่านั้น
    จิตคิดเมตตา ละสิ่งที่ชั่ว…….มันก็เกิดบุญขึ้นมา
    การงานการอาชีพก็แตกต่างกันออกไปไม่เหมือนกัน
    ทำนาก็ได้ ทำสวนก็ได้ เป็นข้าราชการก็ได้ ค้าขายก็ได้
    มีอาชีพไม่เหมือนกัน
    แต่สิ่งทั้งหลายเหล่ามาเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง เลี้ยงชีวิตของเราไป
    การกระทำบุญก็เหมือนกัน
    ไม่ใช่ว่าแต่วัตถุทานอย่างเดียว
    การเสียสละสิ่งที่ชั่ว กล้าละมันออกจากจิตใจของเราเป็นต้น
    ก็เป็นการให้ทานเป็นการทำบุญ
    ทำจิตใจให้มีเมตตา…กรุณา…มุทิตาขึ้น มันก็เป็นบุญ “
    พระอาจารย์ชา สุภัทโท
     
  11. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]
    “ เมื่อมีเหตุก็ต้องมีผล
    ไม่ได้ทำเสียเปล่าหรอก
    ทำเหตุลงไปแล้ว
    ไม่ได้รับผล
    ไม่มีหรอกในโลกนี้
    เหตุดีก็ต้องได้รับผลดี
    เหตุชั่วก็ต้องได้รับผลชั่ว
    มันจะสูญหายไปไม่มี “


    “ กุศลธรรมเกิดก็ที่ใจนั่นแหละ
    ใจนั่นแหละเป็นผู้ปรุงแต่งขึ้น
    อกุศลธรรมก็ที่ใจนั่นแหละ “

    “ จะทำก็ดี จะพูดก็ดี จะคิดอะไรก็ดี
    ขอให้มีสติระวัง
    ไม่ผิดไม่พลาด
    ครั้นมีสติแล้วพูดก็ไม่พลาด ทำก็ไม่พลาด คิดก็ไม่พลาด
    ให้พากันหัดทำสติ ให้สำเหนียกให้แม่นยำ “

    จาก พระอาจารย์ขาว อนาลโย
     
  12. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]

    “ สิ่งที่เป็นทุกข์จะน่ารักหรือน่าชังก็ตาม
    เมื่อเกิดขึ้นมันเป็นทุกข์
    เมื่อความรักเกิด มันก็เป็นทุกข์
    เมื่อความชังเกิด มันก็เป็นทุกข์
    ทุกข์เหล่านี้แหละพระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ให้พากันพิจารณา “

    “ กรรมทั้งหลายไม่ได้มาจากอื่นไกล
    มาจากกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมของเราเท่านี้ “

    พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2009
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">
    การไหว้พระสวดมนต์เป็นประจำทุกวัน


    </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=createdate vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    [​IMG]



    พุทธศาสนิกชนผู้มีคามเลื่อมใสมั่นคงในพระพุทธศาสนา ก่อนจะออกจากบ้านและก่อนเข้านอนนิยมสวดมนต์เพื่อทำให้จิตใจสงบ เพราะการสวดมนต์เป็นการสรรเสริญคุณพระศรีรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ บทสวดมนต์ นำมาจากพระสูตรต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกบ้าง นักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาแต่งขึ้นบ้าง เพื่อใช้สวดในโอกาสต่าง ๆ เป็นอุบายฝึกจิต และฝึกสมาธิได้เป็นอย่างดี เพราะขณะสวดมนต์จิตของผู้สวดจะต้องจดจ่ออยู่ที่บทสวด จึงจะสวดได้ถูกต้อง ถ้าจิตฟุ้งซ่านแล้ว ก็จะสวดผิดบ่อย ๆ ผู้ที่สวดมนต์เป็นประจำ จะได้รับอานิสงส์ต่าง ๆ เช่น ตัดความกังวลได้ เพราะขณะสวดจิตระลึกถึงแต่บทสวด ปล่อยวางความคิดอย่างอื่นเสียได้ ได้เจริญพุทธานุสสติ เพราะขณะสวดจิตระลึกถึงพระพุทธคุณ และคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ และจิตเป็นสมาธิมั่นคง จิตจะแน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว เมื่อสวดเป็นประจำจะทำให้เป็นคนมีจิตมั่งคง เป็นต้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE class=contentpaneopen align=center><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">


    </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=createdate vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    [​IMG]


    ศรัทธา



    การที่อินทรีย์แก่กล้าหรือศรัทธาพละแก่กล้าก็จะต้องอาศัยเรานี่แหละทำไม่ใช่แก่กล้ามาแต่ก่อนล้าเราจะไม่ทำเลยอย่างนั้นเป็นไปไม่ได้ แก่กล้าแล้วมันต้องรีบเร่งขยันหมั่นเพียรประกอบ พยายามจนสำเร็จมรรคผลนิพพาน อย่างพระพุทธเจ้าของเราเป็นต้น ท่านบำเพ็ญบารมีมามากมาย ถึงขนาดนั้นแล้วพระองค์ยังบำเพ็ญทุกกิริยาอยู่ตั้ง ๖ พรรษากว่าจะสำเร็จมรรคผลนิพพาน นับประสาอะไรกับพวกเรา ไม่รู้ว่าบำเพ็ญมากี่มากน้อยหรือไม่ได้บำเพ็ญมาเลยก็ไม่ทราบแต่เข้าใจว่าคงจะบำเพ็ญกันมาบ้างแล้วทุก ๆ คน จึงค่อยมีศรัทธาเลื่อมใสและตั้งใจปฏิบัติจงรีบเร่งทำเข้าชีวิตไม่คอยท่า กาลเวลาไม่ค่อยใคร หมดไป ๆ วันหนึ่ง ๆ ชีวิตมันกัดกร่อนกินไปทุกวัน หมดไป ๆ ทุกวัน ศรัทธาที่จะกล่าวถึงนี้ ท่านเรียกว่า สทฺธีธ วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฐํ ศรัทธาเป็นทรัพย์อันประเสริฐของมนุษย์ท่านจึงได้เรียกว่าพลัง หรืออินทรีย์ ก็อันเดียวกันศรัทธาอันหนึ่ง ปสาทะอันหนึ่ง เราเรียกควบคู่กันไปว่า “ ศรัทธาปสาทะ ” ความเชื่อความเลื่อมใส มีแต่ศรัทธาแต่ปสาทะไม่มี หรือมีปสาทะ แต่ไม่มีศรัทธาก็มี ศรัทธา คือความเชื่อมั่นในใจของตนว่าทำสิ่งนี้ถูกต้องแล้ว ทำสิ่งนี้เป็นไปเพื่อประโยชน์อันยิ่งใหญ่ เป็นไปเพื่อความหลุดพ้น เป็นความเชื่อมั่นในใจของตนเรียก ศรัทธา ส่วนปสาทะนั้นกล่าวถึงวัตถุสิ่งของ อย่างเห็นพระพุทธรูป เห็นเจดีย์ เกิดเลื่อมใส หรือเห็นพระภิกษุที่มีศีลธรรม มีสัมมาอาจารวัตรเกิดเลื่อมใส นั้นเรียกปสาทะ แต่ว่าไม่เกิดศรัทธา มีหลายเรื่องหลายอย่างที่กล่าวถึงศรัทธา เช่น กล่าวว่า สทฺธาย ตรติ โอฆํ จะข้ามพ้นมหารรณพภพสาสารได้ก็เพราะศรัทธา ศรัทธาเป็นของภายใน มีเฉพาะจิตใจของทุก ๆ คน ศรัทธามีแล้ว วิริยะมันก็ไปด้วยกัน อย่างเชื่อมั่นว่าขุดน้ำที่ตรงนี้มันจะต้องมีน้ำแน่นอนก็ขุดลงไป การขุดนี้เรียกว่าวิริยะ ความเพียร ขุดจนไปถึงน้ำ ศรัทธาเชื่อมั่นว่าหาเงินอย่างนี้มันจะรวยก็ตั้งใจพยายามหา เช่น ซื้อบัตรเบอร์ ซื้อจนหมด เชื่อว่าจะได้อยู่ร่ำไป อันความเชื่อย่างนั้นแหละพยายามหาเงินหาทองมาซื้อ นั่นก็เป็นวิริยะ นี่แหละความเชื่อภายใน แต่ก็ความเชื่อนี่อีกแหละที่ทำให้เหลวไหลผิดลู่ผิดทางนอกลู่นอกทางไป ก็ศรัทธานี่แลหะทำให้เชื่องมงายในสิ่งที่ไร้เหตุไร้ผล



    อย่างเขาพูดว่าเวลานี้เรามีกรรมมีเคราะห์ ทำไงจึงจะหายไปหาหมอสะเดาะเคราะห์ให้เขาสะเดาะเคราะห์ สะเดาะเคราะห์มันจะหายยังไง มันก็ของมีเคราะห์อยู่แล้ว นี่ก็เชื่องมงาย พระพุทธเจ้าท่านว่า กรรมที่คนทำมาแล้ว ความเชื่อที่ตนทำมาแล้ว ทำอย่างไรมันก็ไม่หาย ต้องติดตัวอยู่ร่ำไปกว่าจะหมดเวรหมดกรรม แต่ว่าทำดีนั้นคนละอย่างกับทำชั่ว อย่างเราเห็นว่าทุกข์อยากลำบากตรากตรำอย่างนี้แหละ เราอุตส่าห์พยายามรักษาศีล ทำบุญ ทำทาน ทำสมาธิ ภาวนา เราสร้างความดีต่อไป ความชั่วเราจะไม่ทำอีกต่อไปอันนั้นเป็นการตัดกรรมตัดเวรโดยเฉพาะ แต่กรรมที่ทำแล้วมันก็ยังอยู่ ท่านจึงว่า กมฺมสฺสกา กมฺมทายาทา คนทำกรรมใดแล้วต้องได้รับกรรมนั้นแน่นอน คนอื่นรับให้ไม่ได้


    นี่แหละ ไม่มีสติไม่มีปัญญาจึงเป็นเหตุให้นับถือเหลวไหลไปต่าง ๆ ถ้ามีสติ มันต้องมีปัญญารอบคอบสิ่งที่พูดและสิ่งที่เขาพูดนั้นมีเหตุมีผลอะไรจริงหรือไม่ มันต้องมีปัญญาในพละ ๕ หรืออินทรีย์ ๕ ที่ว่านั้น มี ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา พร้อมกันในตัว จึงสามารถบรรลุมรรคผลนิพพานได้ในตอนนั้น


    ความเชื่อนั้นเป็นของมีจริงและเป็นของมีประจำตัวอยู่แล้ว เป็นทรัพย์อันประเสริฐประจำตัวอยู่แล้ว จะมีสติมีสมาธิแน่วแน่ในใจ และมีปัญญาหรือมเท่านั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เรื่องมันจะสำเร็จสมความปรารถนาของตนหรือไม่สำเร็จนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่งต่างหาก แต่ศรัทธาตัวนี้เป็นของมีประจำอยู่ในใจของทุกคน จะไปไหน ๆ ก็มีศรัทธาฝังไว้ในใจ อย่างเราจะเดินไปมาไหน เราเชื่อมั่นว่าไปนี่ต้องถูกจุดประสงค์แน่นอน จึงตั้งหน้ามุ่งปรารถนาที่จะถึงนั้น มันจึงค่อยไป ถ้าไม่เชื่อในความสามารถของตนแล้วก็ไปไม่ถึงเหมือนกัน


    ส่วนปัญญานั้นอีกอย่างหนึ่งต่างหาก จะบริสุทธิ์ได้ก็เพราะปัญญา ต้องอาศัยศรัทธาจึงค่อยเกิดปัญญาขึ้น เกิดปัญญาขึ้นแล้วจึงค่อยพิจารณาเหตุผลเรื่องราว อันนั้นจึงจะบริสุทธิ์ได้ พวกเรามีศรัทธาอยู่แล้ว จงใช้ศรัทธาให้เป็น ใช้ศรัทธาให้ถูกต้อง ถ้าไม่อย่างนั้นก็หลงเหลวไหลหมด อย่างบางคนมีศรัทธาเต็มที่ทำการทำงานสักแต่ว่าทำ ไม่รู้จักที่ได้ที่เสีย ทำมันอยู่อย่างงั้น คงจะเห็นกันทั่วไปที่อยู่ในบ้านเมืองของเราอันนั้นแหละศรัทธา ศรัทธามากเกินไป ผู้ที่ทำน้อย ๆ แต่ว่ามีความรู้รอบคอยรอยตัว มีสติ มีสมาธิ มีปัญญาในตัว รู้จักพิจารณาเหตุผลของเรื่องอันนั้นพอสมพอควร ย่อมได้รับผลสำเร็จตามความประสงค์ สมความปรารถนา




    จากหนังสือ ธรรมลีลา ปีที่ 4 ฉบับที่ 48 พฤศจิกายน 2547


    โดย หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย











    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2009
  15. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840

    ซีดี ธรรมทาน
    <TABLE class=blue12 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=750 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=92 bgColor=#cde4eb>ลำดับที่ </TD><TD class=blue13b vAlign=center align=middle width=140 bgColor=#cde4eb>รหัส </TD><TD vAlign=center align=middle width=352 bgColor=#cde4eb>ชื่อซีดี </TD><TD class=blue13b vAlign=center align=middle width=140 bgColor=#cde4eb>ปกซีดี </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>1 </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>รหัส 01/2550 </TD><TD vAlign=center align=left bgColor=#eef7f9>กอดแม่...ดีแท้กว่ากอดหมอน </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>[​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>2 </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>รหัส 02/2550 </TD><TD vAlign=center align=left bgColor=#e8f4f7>พ่อแม่รังแกฉัน (สอนลูกอย่างไรให้เป็นยอดคน) </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>[​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>3 </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>รหัส 03/2550 </TD><TD vAlign=center align=left bgColor=#eef7f9>ศิลปะของการเป็นแม่ </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#eef7f9>[​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>4 </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>รหัส 04/2550 </TD><TD vAlign=center align=left bgColor=#e8f4f7>มารดามหาบุรุษ </TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#e8f4f7>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ลองไปหามาฟังดูได้นะครับ
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE class=blog cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">พุทธประวัติฉบับย่อ สำหรับผู้ใหญ่ยุคใหม่จำไว้สอนลูกลานครับ</TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=createdate vAlign=top colSpan=2></TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    [​IMG]


    สกุลกำเนิดและปฐมวัย
    ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี พระนางสิริมายา ราชธิดาของกษัตริย์โกลิยวงค์ผู้ครองกรุงเทวทหะ พระมเหสีของ พระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงประสูตรพระโอรส เมื่อวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีจอ ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ (ปัจจุบัน คือ ตำบลรุมมินเด ประเทศเนปาล)

    หลังจากประสูติ
    อสีตดาบส เป็นมหาฤษีอยู่ ณ เชิงเขาหิมพานต์เป็นที่เคารพของราชสกุลได้รับ ทราบข่าวการประสูตรของพระกุมารจึงเดินทางมาเยี่ยม และได้ทำนายว่า ถ้าพระกุมารอยู่ครองฆราวาสจะได้เป็นจักรพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ๕ วันหลังประสูติพระเจ้าสุทโธทนะพร้อมทั้งพระนางสิริมหามายา พระประยูรญาติได้จัดพิธีขนานพระนามพระราชกุมารว่า สิทธัตถะ โดยเชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คนมาเลี้ยง แล้วได้คัดเลือกเอาพราหมณ์ชั้นยอด ๘ คนให้เป็นผู้ทำนายลักษณะพระกุมาร เมื่อประสูติได้ ๗ วัน พระมารดาก็เสด็จทิวงคต พระเจ้าสุทโธทนะ จึงมอบให้พระนางประชาบดีซึ่งเป็นพระขนิษฐาของพระนางสิริมหามายาเป็นผู้เลี้ยงดู เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายุ 8 พรรษาได้ทรงศึกษาในสำนักครูวิศวะมิตร พระองค์ทรงศึกษาได้อย่างรวดเร็ว มีความจำดีเลิศ และทรงพระปรีชาสามารถในการกีฬา ขี่ม้า ฟันดาบ และยิงธนู

    อภิเษกสมรส
    วัยหนุ่ม พระราชบิดาไม่ต้องการให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงออกบวช พระองค์ทรงพอพระทัยที่จะให้เจ้าชายสิทธัตถะเป็นองค์จักรพรรดิ จึงใช้ความพยายามทุกวิถีทางเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาได้โปรดให้สร้างปราสาท ๓ หลัง ให้ประทับใน ๓ ฤดู และทรงสู่ขอพระนางโสธราพิมพา พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะ แห่งกรุงเทวทหะ อยู่ในตระกูลโกลิยวงค์ให้อภิเษกด้วย เจ้าชายสิทธัตถะได้เสวยสุขสมบัติจนพระชนมายุ ๒๙ พรรษา พระนางยโสาธาราก็ประสูติพระโอรส ทรงพระนามว่าราหุล

    ออกบรรพชา
    เสด็จออกบรรพชา เจ้าชายสิทธัตถะทรงเบื่อหน่ายในโลกียวิสัย ถึงแม้ว่าพระองค์จะทรงสมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติอย่างเหลือล้น พระองค์ก็ยังคงตริตรองถึงชีวิตคน ฝักใฝ่พระทัยคิดค้นหาวิธีทางดับทุกข์ที่มนุษย์เรามีมากมาย พระองค์คิดว่า ถ้ายังอยู่ในเพศฆราวาส พระองค์คงหาทางแก้ทุกข์ อันเกิดจากความแก่ ความเจ็บ ความตายไม่ได้แน่ พระองค์จึงตัดสินใจเสด็จออกบวช โดยพระองค์ทรงม้ากัณฐกะ สู่แม่น้ำอโนมา ณ ที่นี้พระองค์ทรงอธิษฐานเพศเป็นบรรพชิตและมอบหมายเครื่องประดับและม้ากัณฐกะให้นายฉันนะนำกลับไปยังกรุงกบิลพัสดุ์

    เข้าศึกษาในสำนักดาบส
    การแสวงหาธรรม ระยะแรกหลังจากทรงออกบวชแล้ว เจ้าชายสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสำนักอาฬารดาบส ที่กรุงราชคฤห์ อาณาจักรมคธเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักนี้แล้วพระองค์ทรงเห็นว่าไม่ใช่หนทางในการหลุดพ้นจากทุกข์ตามที่พระองค์ได้ทรงมุ่งหวังไว้พระองค์จึงลาอาฬารดาบสและอุททกดาบสเดินทางไปแถบแม่น้ำคยา ในตำบลอุรุเวลาเสนานิคมแห่งกรุงราชคฤห์ อาณาจักรมคธ

    <TABLE border=0><TBODY><TR><TD> [​IMG]</TD><TD>[​IMG] </TD><TD>[​IMG] </TD><TD> [​IMG]</TD><TD> [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    บำเพ็ญทุกรกิริยา
    การบำเพ็ญทุกรกิริยา เมื่อพระองค์ทรงเปลี่ยนพระทัยที่จะคิดค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์เองแทนที่จะทรงเล่าเรียนในสำนักอาจารย์แล้วพระองค์เริ่มด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธีการของโยคี เรียกว่า การบำเพ็ญทุกรกิริยา บริเวณแม่น้ำ เนรัญชรานั้น พระมหาบุรุษได้ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นเวลา ๖ ปี พระองค์ก็ยังคงมิได้ค้นหาทางหลุดพ้นจากทุกข์ได้ พระองค์ทรงเลิกการบำเพ็ญทุกรกิริยา แล้วกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบำรุงพระวรกายให้แข็งแรง จะได้มีกำลังในการคิดค้นพบวิธีใหม่ ในขณะที่พระมหาบุรุษได้ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยานั้น ได้มีปัญจวัคคีย์มาคอยปรนนิบัติรับใช้ด้วยความหวังว่า พระมหาบุรุษได้ตรัสรู้แล้วพวกตนจะได้รับการถ่ายทอดบ้าง และเมื่อพระมหาบุรุษล้มเลิกการบำเพ็ญทุกรกิริยา ปัญจวัคคีย์ก็ได้ชวนกันละทิ้งมหาบุรุษไปทั้งหมดเป็นผลทำให้พระมหาบุรุษได้อยู่ตามลำพังในที่สงบเงียบ ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง ปัญจวัคคีไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี พระองค์ได้ทรงตั้งพระสติและเดินทางกายกลาง คือ การปฏิบัติในความพอเหมาะพอควร

    ตรัสรู้
    ตรัสรู้ ตอนเช้าวันเพ็ญเดือน ๖ ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ นางสุชาดาได้นำข้าวมธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครั้นเห็นพระมหาบุรุษประทับที่โคนต้นไทรด้วยอาการสงบ นางคิดว่าเป็นเทวดา จึงถวายทอดข้าวมธุปายาสแล้วเสด็จไปริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตอนเย็นวันนั้นเองพระองค์ได้กลับมายังต้นโพธิ์ที่ประทับ พบคนหาบหญ้าชื่อโสตถิยะ คนหาบหญ้าได้ถวายหญ้าให้พระองค์ปูลาด ณ ใต้ต้นโพธิ์ แล้วขึ้นประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และได้ตั้งจิตอธิษฐานว่า แม้เลือดในกายของเราจะเหือดแห้งไปเหลือแต่หนัง เอ็น กระดูก ก็ตาม ถ้ายังไม่พบธรรมวิเศษแล้วจะไม่ยอมหยุดความเพียรเป็นอันขาด เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานแล้ว พระองค์ก็ทรงสำรวมจิตให้สงบแน่วแน่ พระองค์เริ่มบำเพ็ญเพียรทางจิต และในที่สุดทรงชนะความลังเลพระทัย ทรงบรรลุความสำเร็จ เมื่อพระองค์ทรงรู้เห็นอย่างนี้ จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง พระองค์ก็ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ในวันเพ็ญ เดือน ๖ ปีระกาธรรมสูงส่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้นั้น คือ อริยสัจ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค

    ประกาศพระศาสนาครั้งแรก
    การแสดงปฐมเทศนา วันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือนอาสาฬหะ (เดือน ๘) ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธเจ้าเสด็จไปหาปัญจวัคคีย์ พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ธรรมจักกัปวัตนสูตร ในขณะที่ทรงแสดงธรรมนั้น ท่านโกณฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือ พระโสดาบัน ได้ทูลขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของสัมมสัมพุทธเจ้า เรียกการบวชครั้งนี้ว่า "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระอัญญาโกณฑัญญะ จึงเป็นพระภิกษุรูปแรกในพุทธศาสนา

    <TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG] </TD><TD>[​IMG] </TD><TD> [​IMG]</TD><TD>[​IMG] </TD><TD> [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    การประกาศพระพุทธศาสนา
    เมื่อพระองค์ มีสาวกเป็นพระอรหันต์ ๖๐ องค์ และก็ได้ออกพรรษาแล้ว ทรงพิจารณาเห็นสมควรว่าจะออกไปประกาศศาสนา ให้เป็นที่แพร่หลายได้แล้ว พระองค์จึงเรียกประชุมสาวกทั้งหมดแล้วตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย เราได้พ้อนจากบ่วงทั้งปวงทั้งชนิดที่เป็นทิพย์ และชนิดที่เป็นของมนุษย์แล้ว แม้ท่านทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน เราทั้งหลายจงพากันจาริกไปยังชนบททั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุขแก่มหาชนเถิด อย่าไปรวมกันทางเดียวถึงสองรูปเลย จงแสดงธรรมให้งามทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ เถิด จงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง สัตว์ทั้งหลายที่มีกิเลสเบาบางนั้นมีอยู่ เพราะโทษที่ไม่ได้ฟังธรรม ย่อมจะเสื่อมจากคุณที่จะพึงได้ถึง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมคงจักมีอยู่ แม้ตัวเราก็จะไปยังอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรมเช่นกัน " พระองค์ทรงส่งสาวกออกประกาศศาสนาพร้อมกันทีเดียว ๖๐ องค์ ไป ๖๐ สาย คือ ไปกันทุกสารทิศทีเดียว แม้พระองค์เองก็ไปเหมือนกัน ไม่ใช่แต่สาวกอย่างเดียวเท่านั้น นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของบุคคลที่จะเป็นผู้นำทีเดียว
    สาวกทั้ง ๖๐ องค์เมื่อได้รับพุทธบัญชาเช่นนั้นก็แยกย้ายกันไปประกาศศาสนาตามจังหวัด อำเภอ และตำบลต่างๆ ทำให้กุลบุตรในดินแดนถิ่นฐานต่าง ๆ เหล่านั้น หันมาสนใจมากเลื่อมใสมากขึ้น บางคนขอบวช แต่สาวกเหล่านั้นยังให้บวชเองไม่ได้ จึงต้องพากุลบุตรเหล่านั้นมาเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อให้พระองค์บวชให้ทำให้ได้รับความลำบากในการเดินทางมาก ฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาตให้สาวกเหล่านั้นอุปสมบทกุลบุตรได้โดยโกนผมและหนวดเคราเสียก่อน แล้วจึงให้นุ่งห่มผ้าย้อมด้วยน้ำฝาด นั่งคุกเข่าพนมมือกราบภิกษุแล้วเปล่งว่าจาว่า "ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นสรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ" รวม ๓ ครั้ง การอุปสมบทนี้เรียกว่า "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ อุปสมบทโดยวิธีให้ปฏิญญาณตนเป็นผู้ถึงสรณคมน์
    ตั้งแต่พรรษาที่ ๑ ที่พระองค์ได้สาวกเป็นพระอรหันต์จำนวน ๖๐ องค์แล้วพระองค์ก็ได้อาศัยพระมหากรุณาคุณทำการประกาศเผยแผ่คำสอน จนได้สาวกเป็นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เป็นพุทธบริษัท ๔ ขึ้น อย่างแพร่หลายและมั่นคง การประกาศศาสนาของพระองค์ได้ดำเนินการไปอย่างเข้มแข็ง โดยการจาริกไปยังหมู่บ้านชนบทน้อยใหญ่ในแคว้นต่างๆ ทั่วชมพูทวีปตลอดเวลาอีก ๔๔ พรรษาคือ พรรษาที่ ๒ - ๔๕ ดังนี้
    พรรษาที่ ๒ เสด็จไปยังเสนานิคมในตำบลอุรุเวลา ในระหว่างทางได้สาวกกลุ่ม ภัททวคคีย์ ๓๐ คน และที่ตำบลอุรุเวลาได้ ชฎิล ๓ พี่น้อง คือ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ และ คยากัสสปะ กับศิษย์ ๑,๐๐๐ คน เทศนาอาทิตตปริยายสูตร ที่คยาสีสะเสด็จไปยังราชคฤห์แห่งแควว้นมคธ กษัตริย์เสนิยะพิมพิสาร ทรงถวายสวนเวฬุวัน แด่คณะสงฆ์ ได้สารีบุตร และโมคคัลลานะเป็นสาวก อีก ๒ เดือนต่อมาเสด็จไปยังกบิลพัสดุ์ ทรงพำนักที่ นิโครธาราม ได้สาวกมากมาย เช่น นันทะ ราหุล อานนท์ เทวทัต และพระญาติอื่นๆ อนาถปิณฑิกะเศรษฐี อาราธนาไปยังกรุงสาวัตถีแห่งแคว้นโกศล ถวายสวนเชตวันแต่คณะสงฆ์ ทรงจำรรษาที่นี่
    พรรษาที่ ๓ นางวิสาขาถวายบุพพาราม ณ กรุงสาวัตถี ทรงจำพรรษาที่นี่
    พรรษาที่ ๔ ทรงจำพรรษาที่เวฬุวัน ณ กรุงราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ
    พรรษาที่ ๕ โปรดพระราชบิดาจนได้บรรลุอรหัตตผล ทรงไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างพระญาติฝ่ายสักกะกับพระญาติฝ่ายโกลิยะเกี่ยวกับการใช้น้ำในแม่น้ำ โรหิณี ทรงบรรพชาอุปสมบทพระนางปชาบดีโคตมี และคณะเป็นภิกษุณี
    พรรษาที่ ๖ ทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ในกรุงสาวัตถีย์ ทรงจำพรรษาบนภูเขามังกลุบรรพต
    พรรษาที่ ๗ ทรงเทศนาและจำพรรษาที่กรุงสาวัตถี ระหว่างจำพรรษาเสด็จขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์โปรดพุทธมารดาด้วยพระอภิธรรม
    พรรษาที่ ๘ ทรงเทศนาในแคว้นภัคคะ ทรงจำพรรษาในสวนเภสกลาวัน
    พรรษาที่ ๙ ทรงเทศนาในแคว้นโกสัมพี
    พรรษาที่ ๑๐ คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีแตกแยกกันอย่างรุนแรง ทรงตกเตือนไม่เชื่อฟัง จึงเสด็จไปประทับและจำพรรษาในป่า ปาลิเลยยกะ มีช้างเชือกหนึ่งมาเฝ้าพิทักษ์และรับใช้ตลอดเวลา
    พรรษาที่ ๑๑ เสด็จไปยังกรุงสาวัตถี คณะสงฆ์แห่งโกสัมพีปรองดองกันได้ ทรงจำพรรษาในหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อ เอกนาลา
    พรรษาที่ ๑๒ ทรงเทศนาและจำพรรษาที่เวรัญชา เกิดความอดอยากรุนแรง
    พรรษาที่ ๑๓ ทรงเทศนาและจำพรรษาบน ภูเขาจาลิกบรรพต
    พรรษาที่ ๑๔ ทรงเทศนาและจำพรรษาที่กรุงสาวัตถี ราหุลขอบรรพชาอุปสมบท
    พรรษาที่ ๑๕ เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์ สุปปพุทธะถูกแผ่นินสูบเพราะขัดขวางทางโคจร
    พรรษาที่ ๑๖ ทรงเทศนาและจำพรรษาที่ อาลวี
    พรรษาที่ ๑๗ เสด็จไปยังกรุงสวัตถี กลับมายังอาลวีและทรงจำพรรษาที่กรุงราชคฤห์
    พรรษาที่ ๑๘ เสด็จไปยัง อาลวี ทรงจำพรรษาบน ภูเขาจาลิกบรรพต
    พรรษาที่ ๑๙ ทรงเทศนาและจำพรรษาที่บน ภูเขาจาลิกบรรพต
    พรรษาที่ ๒๐ โจร องคุลีมาลย์ กลับใจเป็นสาวก ทรงแต่งตั้งให้พระอานนท์ รับใช้ใกล้ชิดตลอดกาล ทรงจำพรรษาที่กรุงราชคฤห์ ทรงเริ่มบัญญัติวินัย
    พรรษาที่ ๒๑ - ๔๔ ทรงยึดเอาเชตวันและบุพพารามในกรุงราชคฤห์เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่และเป็นที่ประทับจำพรรษา เสด็จพร้อมสาวกออกเทศนาโปรเวไนยสัตว์ตามแว่นแคว้นต่าง ๆ โดยรอบ
    พรรษาที่ ๔๕ และสุดท้าย พระเทวทัต คิดปลงพระชนม์ กลิ้งก้อนหินจนเป็นเหตุให้พระบาทห้อโลหิต ทรงได้รับการบำบัดจากหมอชีวก

    ทรงปรินิพาน
    การเสด็จปรินิพพาน หลังจากพระพุทธเจ้าแสดงปัจฉิมโอวาท ซึ่งวันนั้นตรงกับวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน ๖) ในยามสุดท้ายของวันนั้น ณ ป่าไม้สาละ(สาลวันอุทยาน) ของกษัตริย์มัลละ กรุงกุสินารา พระองค์ได้ประทับใต้ต้นสาละคู่ หลังจากตรัสโอวาทให้แก่พระอริยสงฆ์แล้ว พระองค์มิได้ตรัสอะไรอีกแล้วเสด็จปรินิพพาน ด้วยพระอาการสงบ ซึ่งเป็นที่น่าอัศจรรย์นักที่วันประสูติ วันตรัสรู้ และวันปรินิพพานของพระพุทธเจ้าตรงกัน คือ วันเพ็ญเดือน ๖

    <TABLE border=0><TBODY><TR><TD> [​IMG]</TD><TD>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">คำขอขมาและอธิษฐานจิต </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=createdate vAlign=top></TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    [​IMG]คำขอขมาและอธิษฐานจิต
    “ เพราะคนเราเกิดมาหลายภพหลายชาติ แต่ละคนมีเจ้ากรรมนายเวรที่แตกต่างกัน ควรสวดขอขมาเพื่อลด และปลดหนี้กรรมให้น้อยลง ”(สำหรับอธิษฐานหน้าพระพุทธรูป หรือสวดก่อนนอน) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ๓ จบสัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตหากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย
    วาจา ใจ ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หาก ข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี)หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม


    จากหนังสือ อริยธรรม ๑๐
    กลุ่มศรัทธาธรรม (เชียงใหม่)
    พิมพ์ สุวิภา กลิ่นสุวรรณ์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ทั้งนี้ทุกโพสท์ในข้างต้นขอขอบคุณ

    http://nwt.onab.go.th/index.php?opt...48-59&catid=60:2009-07-06-09-53-22&Itemid=117
     
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    วันนี้มีผู้สะกิดให้คิดถึงท่าน เลยขอนำมาลงให้เป็นมงคลแก่กระทู้นี้อีกครั้ง อย่าลืมนึกถึงท่าน ช่วยนั่งสมาธิขออ้อนวอนพระบารมีแห่งพระรัตนตรัยขอให้ท่านทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงในเวลานี้ด้วยเทอญ...

    บทความ สาเหตุโรคพระหทัยของในหลวง(อ่านแล้วคุณจะรักในหลวงยิ่งกว่าเดิม)

    ภาพประกอบ

    [​IMG]


    บทความ เนื้อเรื่อง หรือ คำอธิบาย โดยละเอียด

    เพื่อนๆลองอ่านดูนะ
    สาเหตุโรคพระหทัยของในหลวง...จนเกือบพระประชวรหนัก!! ทุกคนคงทราบกันดีว่าในหลวงทรงมีพระอาการประชวรเรื้อรังในส่วนของพระหทัย หากจำกันได้ ในหลวงเคยต้องทรงรับการผ่าตัดใหญ่มาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อปี 2538 ครั้งนั้นพสกนิกรทั้งแผ่นดินแทบไม่เป็นอันทำอะไร ใครๆก็รู้ว่าโรคหัวใจไม่ใช่โรคล้อกันเล่นๆได้ ทั้งสมัยนั้นการผ่าตัดหัวใจก็เสี่ยงพอดู แต่ทุกอย่างก็เป็นไปโดยเรียบร้อย
    แต่ทราบกันหรือไม่ว่าสาเหตุของโรคพระหทัยเต้นผิดปกตินี้ มาจากอะไร?

    ราวปี 2530 ในหลวงเสด็จไปเยี่ยมประชาชนที่อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ทรงพบว่าชาวบ้านจำนวนมากเป็นโรคคอพอก ซึ่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทูลว่า มีการเอาเกลือเสริมไอโอดีนมาแจกประจำ แต่ชาวบ้านไม่ยอมใช้ เพราะไม่รู้จักก็กลัวจะเป็นอันตราย ในหลวงจึงรับสั่งให้นำเกลือเสริมไอโอดีนมาแจกประชาชนด้วยพระหัตถ์ ชาวบ้านได้รับเกลือพระราชทาน จึงยอมเชื่อว่าเกลือชนิดนี้กินได้ จนแพร่หลายต่อๆมา ปัจจุบันไม่มีคนป่วยโรคคอพอกที่สะเมิงแล้ว นอกจากนี้ยังทรงเสด็จขึ้น-ลงสะเมิงอีกหลายครั้ง เพื่อติดตามแก้ปัญหาเรื่องน้ำและถนน จนชาวบ้านทำกินกันได้เป็นปกติสุข มีรายได้เลี้ยงชีพได้พอเพียง หากกลับเป็นพระองค์เองที่ทรงพระประชวร! ในหลวงทรงได้รับเชื้อไมโครพลาสม่าจากการเสด็จไปที่สะเมิงนี้เอง อันเป็นสาเหตุของโรคพระหทัยเต้นผิดปกติเรื้อรังมาถึงปัจจุบัน แม้คณะแพทย์จะพยายามเท่าใด ก็ไม่อาจถวายการรักษาให้หายขาดได้ ทำได้เพียงถวายพระโอสถประคองพระอาการมาตลอด จนกระทั่งต้องทรงรับการผ่าตัดใหญ่เมื่อปี 2538 ดังเล่ามาแล้ว ในหลวงเคยมีพระราชกระแสเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า...

    "ฉันขึ้น-ลงสะเมิงอยู่หลายปี จนได้รับเชื้อไมโครพลาสม่า ซึ่งในที่สุดทำให้ฉันเป็นโรคหัวใจเต้นไม่ปกติ จนเกือบต้องเสียชีวิต" เป็นถ้อยรับสั่งที่แสนจะเรียบง่าย ราวกับว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยธรรมดาเสียเหลือเกิน!

    อ่านแล้ว...อย่าแค่ผ่านเลยไป ช่วยกันจดกันจำเอาไว้ มีเพื่อนบอกเพื่อน มีครอบครัวขยายต่อให้ทราบทั่วกัน อีกหน่อยมีลูกมีหลาน อย่าลืมเล่าให้พวกเขาฟังด้วยว่า... "การรักผู้อื่นยิ่งกว่าชีวิตของตนเองนั้น...ยิ่งใหญ่อย่างไรและเพียงไหน


    เรื่องแนะนำ:

    [​IMG]
    รูป ทะเบียนสมรสของในหลวงเราหาดูยาก
    [​IMG]
    รูป ส.ค.ส.ของในหลวงของเรา
    [​IMG]
    บทความ เรื่องเล่าขำขัน...ของในหลวง
    [​IMG]
    รูป ใบทะเบียนสมรส ของในหลวงและราชินี(หายากน่ะเนี้ยะ)
    [​IMG]
    คลิป 60 ปีแห่งความสำเร็จของในหลวง
    [​IMG]
    คลิป งานพิธีราชาภิเษกสมรสของในหลวง
    [​IMG]
    บทความ พระราชดำรัสของในหลวง
    [​IMG]
    รูป ภาพหายากของในหลวงครับ ภูมิใจจริงๆที่ได้เกิดเป้นคนไทย
    [​IMG]
    คลิป พระราชกรณียกิจของในหลวง

    บทความ 80 น่ารู้เรื่องของในหลวง

    บทความ เรื่องของในหลวงที่เรา(อาจ)ไม่เคยรู้
    [​IMG]
    บทความ เรื่องของในหลวงที่บางคนยังไม่รู้
    [​IMG]
    คลิป งานพิธีราชาภิเษกสมรส(ของในหลวง,พระราชินี)
    [​IMG]
    บทความ เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของในหลวง
    [​IMG]
    บทความ ของขวัญในกล่องของในหลวง
    [​IMG]
    รูป ภาพวาดฝีพระหัตถ์ ของในหลวง
    [​IMG]
    บทความ เมื่ออยู่ต่อหน้าพระพักตร์ของในหลวง : ความรู้สึกของนายบอน
    [​IMG]
    คลิป ในหลวงตรัสกับพสกนิกร
    [​IMG]
    บทความ เรื่องของในหลวงที่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่รู้(ตอนที่ 2 )
    [​IMG]
    รูป ชุดของในหลวงเมื่อครั้งทรงอาศัยอยู่ที่อเมริกา
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    <TABLE class=r-navi-border cellSpacing=5 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD class=r-navimain>พระสมเด็จนอกพิมพ์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-LEFT: 10px" vAlign=top>[​IMG] เรื่องราวเกี่ยวกับพระพิมพ์สมเด็จ ที่สร้างโดยเจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โตพรหมรังสี แห่งวัดระฆังโฆสิตารามอมตะเถระ ของเมืองไทยนั้นเป็นที่ศรัทธากับมหาชนอย่างมากมายทั้งมีค่านิยมสูงที่แลกเปลี่ยนด้วยค่าเงินตราจำนวนมหาศาล จนเป็นที่แสวงหาของคนทุกวงการ กล่าวได้ว่า พระพิมพ์ของสมเด็จพระพุฒาจารย์โตพรหมรังสีนั้น เป็นสิ่งบอกบุญวาสนาบารมีของผู้ครอบครองประการหนึ่งเลยทีเดียว

    พระพิมพ์สมเด็จที่กล่าวถึงข้างต้นนับเป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของวงการพุทธศาสนาเมืองสยาม เลยทีเดียว ทั้งด้วยเนื้อมวลสารและนัยแห่งปริศนาธรรมที่ปรากฏอยู่หาภายในองค์พระพิมพ์ และสิ่งเร้นลับนอกเหนือเหตุผลสามัญ ที่เหล่าผู้ศรัทธาบูชาต่างประสบเหตุการอัศจรรย์มากมายแม้เพียงนำรูปถ่ายที่ยังไม่ได้รับการอธิษฐานจิตจากผู้ทรงคุณวิทยาไปบูชาก็ตาม การนำเสนอเรื่องราวของคอลัมน์นี้จึงเกี่ยวกับปริศนาที่ค้างคาใจ วงการพระเครื่องและผู้ศรัทธาในอิทธิบารมีของเจ้าประคุณสมเด็จ(โต) คือ พระพิมพ์สมเด็จ นอกจากที่เล่นหาในวงการ ที่มีการสร้างที่วัดระฆังโฆสิตาราม วัดใหม่อมตรส วัดเกศไชโย มีจำนวนจำกัดเพียงแค่เฉพาะพิมพ์ทรงที่เล่นหากันเท่านั้นหรือ? แล้วท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ(โต) สร้างพระกี่พิมพ์ กี่เนื้อ เราอาศัยอะไรเป็น ตัวชี้วัดหรือข้อสันนิษฐานว่าใช่หรือไม่ใช่

    พระเครื่องที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จสร้าง มีความลับอะไรที่แฝงอยู่ในเนื้อหามวลสารพระพิมพ์สมเด็จคอลัมน์นี้จะเผยกลเม็ดเคล็ดลับที่ยังไม่มีผู้ใดกล้าเปิดเผยมาก่อน แม้ผู้กล้าเช่าหาพระพิมพ์สมเด็จในราคาหลายล้านบาทบางท่านก็ยังไม่เคยทราบ ก็จะทยอยนำมาบอกเล่ากัน โดยข้อมูลจากลูกหลานอดีตคหบดีและหลวงปู่นาค(พระเทพสิทธินายก) วัดระฆังโฆสิตารามเอง ซึ่งบุคคลเหล่านี้ไม่เคยเช่าหาพระเครื่องหรือแลกเปลี่ยนแต่อย่างใดพระเครื่อง(สมเด็จ) ที่ท่านเหล่านี้ครอบครองอยู่ มีที่ไปที่มาที่ยืนยันด้วยเนื้อหาและประวัติการสืบทอด จึงไม่นับว่าอยู่ในแวดวงพุทธพาณิชย์ ที่มีผลประโยชน์เป็นตัวนำ ข้อเท็จจริงเป็นตัวเสริมให้เกิดความเชื่อเพื่อเช่าหาแลกเปลี่ยน แต่การนำเรื่องราวที่จะเผยแพร่ต่อไปนี้ จึงเป็นข้อมูลบริสุทธิ์ ที่ไม่มีผลประโยชน์ใดใดแอบแฝง(เพราะไม่มีพระเครื่องที่ว่าให้เช่าหาบูชาแต่ประการใด) เป็นการบันทึกปูมประวัติเกี่ยวกับพระพิมพ์สมเด็จของเจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี ในส่วนที่ยังไม่เคยมีการบันทึกเป็นหลักฐาน ทั้งนี้เพื่อมิให้ข้อเท็จจริงอันทรงคุณค่าเหล่านี้ ต้องสูญไปกับกาลเวลาและบุคคล

    แต่อย่างไรก็ตามการนำเสนอเรื่องพระพิมพ์สมเด็จนอกพิมพ์(นิยม)ครั้งนี้ก็มิได้มีเจตนา จะหักล้างหรือปฏิเสธการเช่าหาในวงการพระเครื่องปัจจุบัน ซึ่งขอเพียงเป็นการเสริมสาระเรื่องราวบางประการเกี่ยวกับท่านเจ้าพระคุณสมเด็จ พระพุฒาจารย์โตพรหมรังสี อัจฉริยะเถระผู้เป็นที่ศรัทธาของมหาชนอย่างมากมายเป็นประวัติศาสตร์ รูปนี้ เท่านั้น สิ่งที่นำเสนอจึงเป็นเรื่องที่ขอให้ท่านผู้อ่านตัดสินด้วยวิจารณญาณของตัวท่านเองจากข้อมูลที่จะบันทึกต่อไป จึงไม่ควรด่วนตัดสินใจที่จะปฏิเสธ หรือยอมรับไปแต่เบื้องแรก

    [​IMG] <!-- Start Bravenet.com Service Code --><!-- End Bravenet.com Service Code -->​

    ข้อมูลที่จะนำมาบอกเล่านี้ได้อาศัยการวิเคราะห์เทียบเคียงจากเอกสารอันเป็นที่ยอมรับอย่าง หนังสือปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่อง เล่มที่ ๑ เรื่อง พระสมเด็จของท่าน ตรียัมปวาย (พันเอก ประจน กิตติประวัติ) ซึ่งถือว่าเป็นเอกสารทางวิชาการเล่มแรกเกี่ยวกับพระพิมพ์สมเด็จของท่านสมเด็จโตและเป็นที่ยอมรับเป็นมาตรฐานของวงการนักนิยมพระเครื่องที่ถือเป็นแบบแผนในการศึกษาเรื่องพระเครื่องยอดนิยมชนิดนี้ (ปัจจุบันพิมพ์เผยแพร่โดยสำนักพิมพ์ ไทภูมิ ผู้รับลิขสิทธิ์โดยถูกต้อง ท่านที่สนใจสามารถ ติดต่อ เพื่อเป็นเจ้าของเอาไว้เป็นเอกสารอ้างอิงในการศึกษาพระเครื่องชนิดนี้ได้กรุณาติดต่อเอาเองแนะนำให้เท่านั้น)และข้อมูลที่น่าเชื่อถืออื่นอีกดังนั้น จึงไม่ต้องกลัวว่าเนื้อหาของบทความนี้ จะนำท่านผู้อ่านเข้ารกเข้าพงผิดครูผิดหลักการแต่ประการใด ทั้งยังนำข้อมูลจริงจากนายช่างทำพระเครื่องผู้มีประสบการณ์ในการสร้างพระเครื่องอย่างพระเนื้อผงที่มีเนื้อหาวัสดุแบบต่างๆ ซึ่งมีการทดลองทำด้วยวัสดุจากของจริง(ตามตำราที่เขาอ้างกัน) โดย ทำจริง พิสูจน์จริง เพื่อหาข้อเท็จจริงของธรรมชาติที่ปรากฏบนพื้นผิวพระพิมพ์สมเด็จ ในเนื้อหาวัสดุแบบต่างๆนั้น ว่า เกิดขึ้นจากธรรมชาติเนื้อหาวัสดุ หรือเกิดจากอายุพระเครื่องตามที่กล่าวอ้างกันเป็นอีกมิติหนึ่งที่ทีมงานอุณมิลิตกล้านำมาเปิดเผยเป็นบรรณาการทางภูมิปัญญาแก่ท่านผู้อ่านชนิดที่อาจเรียกว่าไม่สามารถหาอ่านได้จากนิตยสารฉบับใดและข้อมูลบางประการก็เพิ่งถูกนำมาเปิดเผยในนิตยสารอุณมิลิตเป็นฉบับแรกชนิดของจริง เลยทีเดียว

    สำหรับประวัติของท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โตพรหมรังสี นั้นคงจะขอข้ามไปในรายละเอียด เพราะมีการเผยแพร่ในสื่อต่างๆมาก่อนหน้านี้อย่างกว้างขวางทั้งในส่วนที่มาจากบันทึกของท่านพระยาทิพโกษาเองหรือบันทึกอื่นๆ แต่ก็มิได้ละเลยซะทีเดียวโดยจะนำเกร็ดประวัติบางประการมาบันทึกไว้ส่วนท้ายคอลัมน์นี้ ที่เรียกว่า “มุมมรดกสมเด็จโต” อย่างเช่นคติธรรมที่ท่านแสดงไว้ซึ่งถือเป็นการอนุรักษ์ มรดกชิ้นสำคัญที่สุด(ธรรมะ)ของท่านเจ้าประคุณสมเด็จไว้ซึ่งทรงคุณค่ามากกว่าเรื่องพระพิมพ์ ที่ถือว่าเป็นเปลือกนอกทางวัตถุธรรมเท่านั้น ก่อนจะวินิจฉัยเรื่องราวเนื้อหาของพระพิมพ์สมเด็จที่ยกมาเป็นหัวข้อคอลัมน์นั้น จะต้องศึกษาถึงมูลเหตุสำคัญ ถึงการกำเนิดพระพิมพ์ที่ว่านี้เพื่อที่จะได้สืบสาวถึงต้นเหตุผลกรรม อันเป็นที่มาของพระเครื่องยอดนิยมนี้ คือ “ปฐมเหตุการสร้างพระพิมพ์ของเจ้าประคุณสมเด็จ(โต)”….

    ในตอนหน้า จะอภิปรายมูลเหตุต่างๆของการสร้างพระพิมพ์ของเจ้าประคุณสมเด็จ ทั้งส่วนที่เล่าลือว่าท่านสร้างพระพิมพ์เอาอานิสงค์ตั้งแต่เป็นสามเณรหรือประเด็นที่ว่าท่านสร้างเมื่อแก่พรรษายุกาล ครั้งกลับจากจาริกไปเมืองพระตะบอง… หรือคติจากการเรียนสำเร็จเจโตวิมุตติ ในห้องกรรมฐานต่างๆแบบมรรคปาลีบุตร

    บทความนี้เป็นสรรสาระทางวิชาการเท่านั้น จึงไม่ควรนำไปเป็นแนวทางการเช่าหาพระเครื่องในแบบวงการที่นิยมเชิงพาณิชย์ในปัจจุบัน อันจะสื่อให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกันได้

    บทความจาก


    ปล. จากผู้โพสท์

    ครั้งหนึ่งราวกว่า 10 ปี มาแล้ว ได้เคยให้ผู้ทรงคุณทางด้านจิต ที่สามารถตรวจดูรังสีจิตของพระพิมพ์ได้ ให้ตรวจดูพระพิมพ์สมเด็จทรงไกเซอร์เล็ก เหมือนรูปข้างต้นดู พอตรวจเสร็จผู้ตรวจบอกว่า เห็นเป็นรังสี สีชมพูระเรื่อ มีความว่องไวและรวดเร็วสุดยอด ออกไปทางบู๊มาก ซึ่งสีรังสีจิตนี้ ตรงกับรังสี ของท่านหลวงปู่ใหญ่องค์ที่ 3 คราวหลังจึงนำไปให้ ท่าน อ.ประถมฯ ตรวจอีกครั้ง ผลสรุปออกมาเหมือนกัน จึงอนุมานได้ว่า พระพิมพ์นอกมาตรฐานนี้ อย่าได้ดูถูกเป็นอันขาด ของจริงก็หาได้ไม่ยาก ของปลอมก็วางเกลื่อน จึงนับว่าต้องใช้ความรู้พอสมควรทีเดียวในการเลือกหา แต่ถ้าจำเนื้อได้ จำพิมพ์ได้ ก็ไม่ไกลเกินเอื้อมเช่นกัน เช่นเดียวกับพระพิมพ์สมเด็จ ที่เป็นพิมพ์พุทธประวัติซึ่งถือเป็นพิมพ์พิเศษของพระพิมพ์สกุลวังหน้า ซึ่งเป็นพิมพ์นอกมาตรฐานและมีขนาดเขื่องประมาณ 3.2*5.5 ซม. ที่ผู้ตรวจรังสีท่านนี้บอกตรวจไม่ไหว แรงมาก เพราะรังสีที่ตรวจพบเป็นสีทอง พอหยิบขึ้นมากำหนดก็เป็นรูปพระพุทธเจ้าท่านขึ้นมาก่อนเลย อ.ประถมฯ ท่านบอกว่า พระพิมพ์นี้เสกโดยหลวงปู่ใหญ่องค์ที่ 1 ก็ใครจะมาเทียมเท่าเล่าในสมัยนี้เลิกพูดถึง เกินเลยกว่านี้ก็ต้องเป็นพระอัครสาวก พระปัจเจกฯ หรือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโน่นล่ะ อยากรู้พิมพ์นี้หน้าตาเป็นไง ก็ดูตามนี้ก็แล้วกันมีหลายสี ทั้งสีแดง ดำ เขียว ฟ้า ตามวันเกิดครับ (ของปลอมเห็นดาษดื่นทั่วท่าพระจันทร์ต้องอาศัยกำลังภายในกันนิดหน่อย แต่เนื้อจะเรียกว่าเนื้อปูนเพชร เพราะมีความวาวของซิลิกามากกว่าพระสมเด็จทั่วไป)

    [​IMG]




    </TD></TR></TBODY>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กันยายน 2009
  20. temmeko

    temmeko เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2009
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +271
    สวัสดีค่ะ...

    ขอร่วมทำบุญด้วยคนนะค่ะ...

    ทำรายการโอนเงินต่างธนาคารแบบออนไลน์ ผ่านบริการ K-Cyber Banking
    ตามรายละเอียด ดังนี้
    วันที่ทำรายการ : 16/09/2009 05:52:19 PM.
    หมายเลขอ้างอิง : KBKR090916206599
    โอนเงินจากบัญชี : xxx-x-xxxxx-x
    ธนาคารของบัญชีผู้รับโอน : BANK OF AYUDHAYA
    เพื่อเข้าบัญชี : 348-1-23245-9 ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    ชื่อเจ้าของบัญชีในฐานข้อมูล : PRATOM F.
    จำนวนเงิน (บาท) : 1000.0
     

แชร์หน้านี้

Loading...